SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
บทที่ 3 
แนวการอ่านการอ่าน 
ภาษาอังกฤษ
วิวัฒนาการการสอนการอ่านภาษาอังกฤษ 
ในปี ค.ศ.1925-1970 แนวทางการสอนในประเทศสหรัฐอมริกาเน้นการสอนตามแนวจุล 
ทักษะ(sub skill Approach) และแนวทางการสอนแบบเน้นทักษะ ซึ่งเน้นแบบจาลองการอ่านในลักษณะ 
เน้นกระบวนการอ่านระดับพื้นฐานไปสู่กระบวนการอ่านระดับสูงผู้เรียนจะได้รับการฝึกทักษะการอ่าน 
ระดับพื้นฐาน เช่น การสะกดคา หรือความสัมพันธ์ระหว่างเสียงและตัวอีกษรก่อนที่จะจา ความหมายของคา 
ทักษะการอ่านจะนามาแบ่งจากง่ายไปหายาก ความหมายของการอ่านตามแนวการสอนนี้คือ การใช้รหัส 
โดยอาศัยกฎเกณฑทางด้านเสียงและไวยากรณ์ 
ช่วงสงครามโลกครั้งที่สองถึงปี ค.ศ.1970 การสอนภาษาอังกฤษได้รับอิทธิพลจากทฤษฎี 
ภาษาศาสตร์ที่เน้นโครงสร้างภาษา เรียกว่า แนวการสอนแบบฟัง พูด (Audio-lingual Approach) ซึ่งมี 
ความเชื่อว่าคาพูดสาคัญที่สุด การสอนอ่านจึงสอนหลังจากผู้เรียนเรียนการฟังและการพูดแล้ว ลาดับการ 
เรียนภาษาจึงเป็นการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการสอนส่วนใหญ่จะเน้นการสอนบทสนทนาและการฝึก 
กระสวนประโยคซ้าๆ (คาว่ากระสวน หมายถึง รูปแบบอันเกิดจากการกระทาซา้ๆ กัน เช่น การทักทายกัน 
การเขียนหนังสือ การเข้าแถว ฯลฯ) เพื่อให้ชินเป็นนิสัย บทอ่านเป็นเพียงเครื่องมือที่ช่วยให้เข้าใจ 
ไวยากรณ์ ศัพท์และวัฒนธรรม แนวการสอนแบบฟังพูดนี้มีลักษณะตามแบบจาลองการอ่านที่เน้น 
กระบวนการอ่านในระดับพื้นฐานไปสู่กระบวนการในระดับสูง ในการสอนจะเรียงลาดับจากทักษะที่ง่ายไป 
หาทักษะที่ยากคือ ระบบเสียง ไวยากรณ์และศัพท์
Kenneth Goodman 
ปี ค.ศ.1970 เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึน้เมื่อกูดแมนเขียนบทความเรื่อง 
“Reading: Psycholinguistic Guessing Game” (Goodman)
ความหมายของการอ่านเปลี่ยนจากการไขรหัสเป็นการเดาตามทฤษฎี 
ภาษาศาสตร์เชิงวิทยา การอ่านคือการที่ผู้อ่านเดาหรือคาดคะเนเรื่องที่อ่าน ตั้งสมมติฐานว่า 
สิ่งที่คาดคะเนไว้ถูกต้องหรือไม่ โดยการหาคา ชีแนะด้านเสียง ไวยากรณ์หรือความหมาย 
มายืนยัน ถ้าสมมติฐานถูกต้องผู้อ่านก็เข้าใจและอ่านต่อไปถ้าไม่ถูกต้องก็มีการ 
ตั้งสมมติฐานใหม่อีกครั้ง แบบจา ลองการสอนตามแนวคิดของกูดแมนคือ แบบจา ลองการ 
สอนที่เน้นกระบวนการอ่านระดับสูงไปสู่กระบวนการอ่านระดับพื้นฐาน “แนวการสอนที่ 
เป็นที่นิยมในประเทศสหรัฐอเมริกาคือ แนวการสอนแบบมหภาษา (Whole-Language 
Approach) ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ตัวชี้แนะต่างๆ เช่น เสียง ไวยากรณ์ บริบทของ 
สถานการณ์หรือความรู้เดิมมาใช้ในการหาความหมายของเรื่องที่อ่าน”
ในปี ค.ศ.1979 โคดดี้(Coady) ได้ประยุกต์แบบจาลองการสอนอ่าน 
ของกูดแมนมาใช้สอนผู้ที่เริ่มเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง โดยเน้น 
องค์ประกอบสามประการ กลวิธี กระบวนการ ความรู้และประสบการณ์เดิม 
และความสามารถทางสติปัญญา ผู้ที่เริ่มต้นอ่านจะใช้กลวิธีที่เน้นรูปธรรม คือ 
การจาคา ส่วนผู้ที่เชี่ยวชาญในการอ่านมากขึน้จะใช้กลวิธีเน้นนามธรรม เช่น 
การเดาคาศัพท์จากบริบทและการใช้ความรู้เดิมหาความหมายของเรื่องที่อ่าน
ประเทศอังกฤษเริ่มมีแนวการสอนใหม่เกิดขึน้ วิลกินส์(Wilkins,1976) ได้ 
เสนอประมวลการสอนที่เน้นการสื่อสารตามหน้าที่ภาษา ต่อมาจึงเกิดแนวการ 
สอนเพื่อการสื่อสาร (Communicative Approach) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี 
ความสามารถด้านการสื่อสาร สามารถใช้ภาษาสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับ 
สถานการณ์ การสอนอ่านตามแนวการสอนเพื่อนการสื่อสารยึดแบบจาลองการ 
อ่านที่เน้นกระบวนการอ่านระดับสูงสู่กระบวนการอ่านระดับพืน้ฐาน การอ่าน 
เปรียบเทียบเหมือนบทสนทนาระหว่างผู้เขียนและผู้อ่าน 
ปี ค.ศ.1980 แนวการสอนอ่านแบบปฎิสัมพันธ์ (Interactive Approach) เริ่ม 
มีบทบาทสาคัญทัง้ในการอ่านภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ ภาษาที่สองและ 
ภาษาต่างประเทศ กระบวนการอ่านแบบปฎิสัมพันธ์ไม่ได้ให้ความสาคัญเฉพาะ 
ระดับพืน้ฐานหรือเฉพาะกระบวนการอ่านในระดับสูง การประมวลความสามารถ 
ทาได้ทัง้จากกระบวนการอ่านระดับสูงสู่กระบวนการอ่านระดับพนื้ฐาน
วิลเลี่ยม (William. n.d) ได้สรุปวิธีการสอนกระอ่านภาต่างประเทศ 2วิธี 
วิ 
วิธีการสอนอ่านในระดับต้นๆ 
(สมัยกรีก โรมัน ถึงศตวรรษวรรษที่ 19)) ได้ 
สรุปวิธีการสอนกระอ่านภาต่างประเทศ 
1.วิธีการสอนที่เน้นส่วนประกอบของ 
คาและเสียงของตัวอักษร 
2.วิธีการสอนที่เน้นการใช้คาหรือ 
หน่วยคา เน้นที่ความหมายของสิ่งที่ 
อ่าน 
1.1. วิธีสอนตัวอักษร (Alphabetic 
Method) 
1.2.วิธีสอนเสียง (Phonic Method) 
1.3.วิธีสอนเป็นพยางค์ (Syllabic 
Method) 
2.1.วิธีการสอนเป็นคา (Word Method) 
2.2 วิธีการสอนเป็นวลี (Phrase Method) 
2.3.วิธีการสอนอ่านเป็นประโยค (Sentence) 
2.3.วิธีการสอนอ่านเป็นประโยค 
(Sentence Method) Method)
ภาพ (Graphic features) 
ตัวอักษร (Letters) 
คา (Words) 
วลี (Phrases) 
ประโยค (Sentences) 
คาสัมพันธ์ความ (Local cohesion) 
โครงสร้างย่อหน้า (Paragraph structuring) 
หัวข้อเรื่อง (Topic of discourse) 
การอนุมานความ (Inferenceing) 
ความรู้ทัว่ไป (World knowladge) 
การอ่าน 
(Readin 
g)
การอ่านภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือ 
ภาษาต่างประเทศ 
การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศได้ 
แนวคิดเกี่ยวกับขบวนการอ่านและแบบจาลองกรอ่านมาจากการสอน 
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ 
1.แบบจา ลองการอ่านที่เน้นกระบวนการอ่านระดับพื้นฐานไปสู่ 
กระบวนการอ่านระดับสูง (Bottom-up model of reading) 
2.แบบจา ลองการอ่านที่เน้นกระบวนการอ่านในระดับสูงไปสู่ 
กระบวนการอ่านระดับพื้นฐาน (Top – down model of reading)
1.แบบจาลองการอ่านที่เน้นกระบวนการอ่านระดับพื้นฐาน 
ไปสู่กระบวนการอ่านระดับสูง (Bottom-up model of reading) 
การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศ 
ในระยะเริ่มแรกระหว่างปี ค.ศ.1960 – 1970 คือการแก้ไขรหัส 
หรือการสะกดคาเพื่อหาความหมาย การเรียนภาษาอังกฤษใน 
ประเทศไทยจะให้ผู้เรียนเรียนตัวอักษร สระ และนาตัวอักษรและสระ 
มาผสมกัน 
แนวการสอนการอ่านภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือ 
ภาษาต่างประเทศที่ใช้แบบจา ลองนี้คือ “แนวการสอนแบบฟัง-พูด”
2.แบบจาลองการอ่านที่เน้นกระบวนการอ่านในระดับสูงไปสู่ 
กระบวนการอ่านระดับพื้นฐาน (Top – down model of reading) 
กูดแมนกล่าวว่ากระบวนการอ่านที่เน้นการเดาหรือตงั้สมมติฐานเกี่ยวกับเรื่อง 
ที่อ่านแลว้ตรวจสอบความหมายจากตัวชี้แนะว่าจะยอมรับหรือเปลี่ยนแปลงสมมติฐาน 
สมมติฐานนั้นๆ มีลักษณะเป็นสากลคือ สามารถประยุคใชกั้บภาษาทุกภาษาแมว้่า 
แมว้่าระบบตัวอักษรและการสะกดคา จะแตกต่างกัน (Goodman) นอกจากนี้กูดแมน 
แมนยังชี้ให้เห็นว่าการอ่านภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศควรจะ 
ควรจะง่ายสา หรับผูเ้รียนซึ่งไดเ้รียนรู้กระบวนการอ่านในภาษาหนึ่งหรือภาษาแม่ 
มาแลว้ แนวการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศที่ใช้ 
แบบจา ลองการอ่านนี้คือ “แนวการสอนอ่านเพื่อการสื่อสาร”
บัค (Buck,1973) เห็นด้วยกับกูดแมนเกี่ยวกับกระบวนการ 
อ่านระดับพื้นฐานของภาษาต่างๆว่ามีความคล้ายคลึงกัน 
“ผู้เรียนที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่มีปัญหาในการอ่าน 
ภาษาอังกฤษ เนื่องจากไม่มีความรู้ด้านไวยากรณ์และโครงสร้างภาษาที่ 
ดีพอ ขาดความรู้ด้านศัพท์และวัฒนธรรม” 
เมื่อเปรียบเทียบความสามารถของผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็น 
ภาษาแม่และภาษาต่างประเทศจะเห็นความแตกต่างดังนี้
1.ข้อมูลป้อนเข้าเกี่ยวกับผู้อ่าน (The reader’s input) 
ตารางแสดงข้อมูลป้อนเข้าเกี่ยวกับผู้อ่าน (The reader’s input) 
ผ้ใูช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ผ้ใูช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือ 
ภาษาต่างประเทศ 
1.มีความสามารถทางภาษาอังกฤษใน 
ระดับภาษาแม่ 
1.ความสามารถด้านโครงสร้างหรือไวยากรณ์และ 
ศัพท์มีระดับศูนย์จนถึงระดับใกล้เคียงกับผู้ที่ใช้ 
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ 
2.มีประสบการส่วนตัวด้านวัฒนธรรม 
ของชนชาติที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็น 
ภาษาแม่ 
2.มีประสบการณ์ส่วนตัวด้านวัฒนธรรมที่แตกต่าง 
ออกไปจากชนชาติที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ 
3.มีพัฒนาการด้านความคิดรวบยอด 
ทางสังคมและวัฒนธรรมของชนชาติที่ 
ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ 
3.มีพัฒนาการด้านความคิดรวบยอดตามสังคมและ 
วัฒนธรรมที่แตกต่างไปจากชนชาติที่ใช้ 
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่
2.ข้อมูลป้อนเข้าเกี่ยวกับผู้เขียน (The author’s input) 
ตารางข้อมูลป้อนเข้าเกี่ยวกับผู้เขียน (The author’s input) 
ผ้ใูช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ผ้ใูช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือ 
ภาษาต่างประเทศ 
1.มีความรู้เกี่ยวกับคาชี้แนะด้านสัญลักษณ์ 
และเสียง 
1.ไม่มีความคุ้นเคยคาชี้แนะเกี่ยวกับสัญลักษณ์และ 
เสียงในภาษาอังกฤษและความรู้เดิมในภาษาอาจ 
แทรกแซงการตีความในภาษาอังกฤษ 
2.มีความรู้เกี่ยวกับคาชี้แนะด้านโครงสร้าง 
ภาษาหรือไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ 
2.ไม่มีความค้นุเคยกับคาชี้แนะด้านโครงสร้างภาษา 
หรือไวยากรณ์ภาษาอังกฤษและความรู้เดิมในภาษาแม่ 
ด้านโครงสร้างภาษาหรือไวยากรณ์อาจแทรกแซงการ 
ตีความในภาษาอังกฤษ 
3.มีความรู้เกี่ยวกับคาชี้แนะด้านความหมายใน 
ภาษาอังกฤษ 
3.ไม่มีความค้นุเคยกับคาชี้แนะด้านความหมายใน 
ภาษาอังกฤษและความรู้เดิมในภาษาแม่ ด้าน 
ความหมายอาจแทรกแซงการตีความในภาษาอังกฤษ
3.ด้านกระบวนการอ่านระหว่างผ้ใูช้ภาษาอังกฤษ 
เป็นภาษาแม่กับผู้ที่ใช้เป็นภาษาต่างประเทศ 
ตารางด้านกระบวนการอ่านระหว่างผู้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่กับผู้ที่ 
ใช้เป็นภาษาต่างประเทศ
ผ้ใูช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ผ้ใูช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศ 
1.การสุ่มอ่าน 1.อาจจะไม่รู้ว่าข้อมูลสาคัญอยู่ตรงไหนหรือไม่ทราบว่า 
ประโยคใดมีข้อมูลที่สาคัญที่สุด 
2.การคาดคะเนหรือเดา 2.อาจไม่สามารถคาดคะเนหรือเดาเกี่ยวกับโครงสร้างหรอ 
ความหมายได้หรืออาจเดาความรู้เดิมในภาษาแม่ของตน 
3.การทดสอบสมมติฐาน 3.อาจไม่สามารถตอบคาถามได้ว่าสิ่งที่อ่านนั้นมี 
ความหมายในภาษาอังกฤษหรือไม่ 
4.การยืนยันสมมติฐาน 4.อาจไม่สามารถยืนยันสมมติฐานที่ตั้งขึ้นหรืออาจยืนยัน 
สมมติฐานผิดๆเนื่องจากไม่คุ้นเคยภาษาอังกฤษหรือ 
เนื่องจากการแทรกแซงจากภาษาแม่ 
5.แก้ไขสมมติฐาน 5.อาจไม่สามารถรู้ว่าอ่านผิดและไม่สามารถแก้ไขได้
ตารางแสดงแบบจาลองและแนวการสอนอ่าน 
แบบจาลองการอ่าน แนวการสอนอ่านภาษาอังกฤษ 
เป็นภาษาแม่ 
แนวการสอนอ่านภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ 
สองหรือภาษาต่างประเทศ 
แบบจาลอง การอ่านที่ผู้อ่านใช้ 
กระบวนการอ่านในระดับพื้นฐานไปสู่ 
กระบวนการอ่านในระดับสูง 
(bottom up model of reading) 
แนวการสอนแบบจุลทักษะ 
(subskill approach) 
แนวการสอนแบบเน้นทักษะ 
(skill approach) 
แนวการสอนอ่านแบบฟัง พูด 
(audiolingualism) 
แบบจาลอง การอ่านที่ผู้อ่านใช้ 
กระบวนการอ่านในระดับสูงไปสู่ 
กระบวนการอ่านในระดับพื้นฐาน 
(top-down model of reading) 
แนวการสอนแบบมหภาษา 
(whole language approach) 
แนวการสอนเพื่อการสื่อสาร 
(communicative approach) 
แบบจาลองการอ่านแบบปฏิสัมพันธ์ 
(model of interactive reading) 
แนวการสอนแบบปฏิสัมพันธ์ 
(interactive approach) 
แนวการสอนแบบปฏิสัมพันธ์ 
(interactive approach)
การสอนคาศัพท์ 
จากผลการวิจัยพบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ด้านคาศัพท์และ 
ความเข้าใจ ในการอ่าน (Thorndike. อ้างถึงในวิสาข์จัติวัตร์, 2543) จาก 
ผลการเก็บข้อมูล จากนักเรียน 100,000 คน ใน 15 ประเทศ พบว่า 
“ความสามารถในการอ่านของนักเรียนหลายระดับ และใน 
หลายๆประเทศสามารถตัดสินใจจากความรู้ด้านคา ศัพท์” 
แอนเดอร์สันและฟลีกอดี้ 
( Anderson & Freebody, 1979)ได้เสนอคาอธิบายความสาพันธ์ระหว่าง 
คาศัพท์และความเข้าใจไว้ 3 ลักษณะ คือ
1.สมมติฐานเกี่ยวกับความถนัดทางภาษา 
(verbal aptitude hypothesis) 
( Anderson & Freebody, 1979) 
คาอธิบายความสาพันธ์ระหว่างคาศัพท์และความเข้าใจ 
3 ลักษณะ 
2.สมมติฐานเกี่ยวกับเครื่องมือในการอ่าน 
(the instrumental hypothesis) 
3.สมมติฐานเกี่ยวกับความรู้ 
(the knowledge hypothesis)
“สมมติฐานทงั้ 3 ประการนี้ ไม่มีข้อมูลใดที่ถูกที่สุด” แต่ครูผู้สอน 
สามารถประยุกต์หลักการในการสอนศัพท์จากสมมติฐานทงั้ 3 ข้อ คือ 
1.สอนความหมายของคาศัพท์พร้อมๆกับการพัฒนาความคิดรวบ 
ยอด 
2.สอนความหมายของคาศัพท์โดยให้นักเรียนใช้คาศัพท์นนั้ๆ 
บ่อยครงั้ในกิจกรรมต่างๆกัน 
3.ให้นักเรียนอ่านมากๆโดยให้อ่านหนังสือหลายๆประเภท เพื่อให้ 
นักเรียนรู้คาศัพท์อย่างกว้างขวาง
ระดับความรู้คาศัพย์ 
ระดับความรู้คาศัพย์การรู้คาศัพท์นนั้สามารถแบ่งแยกได้หลาย 
หลายระดับ จากการผู้อ่านไม่รู้ศัพท์คานนั้เลย จนถึงรู้โดยละเอียดว่า 
คาๆนั้นมีความหมายอย่างไรมีกาเนิดมาจากอะไร
ระดับความรู้คาศัพท์แบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ 
(Glover,Ronning &Bruning, 1990) 
1.ศัพท์ที่ผู้อ่านไม่มีความรู้เกี่ยวกับคานั้นมาก่อน 
(unknown words) 
2.ศัพท์ที่ผู้อ่านคุ้นเคยมาก่อน (acquainted words) 
3.ศัพท์ที่อยู่ในความทรงจา (established words)
วิธีการสอนศัพย์ 
การสอนศัพท์โดยให้นักเรียนสามารถใช้กลวิธีเดาศัพท์จากบริบท 
และจากการกระตุ้นประสบการณ์เดิมสามารถทาให้ผู้อ่านเรียนรู้ศัพท์ได้ 
อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการสอนศัพท์สามารถแบ่งออกได้ดังนี้ 
1.การให้คาจากัดความ วิธีสอนศัพท์ที่ใช้กันมานานเป็นที่ 
แพร่หลาย คือ การที่ครูให้คาแปลหรือคาจากัดความที่ต้องการสอน ครูเริ่ม 
สอนโดย 
2.การเดาคาศัพท์ตามบริบท การเดาความหมายของคาศัพท์ 
จากบริบทเป็นวิธีที่นิยมใช้เพื่อพัฒนาคาศัพท์ เนื่องจากผู้อ่านสามารถนา 
กลวิธีการอ่านเช่นนีไ้ปใช้ในการอ่านอย่างอิสระ โดยไม่ต้องพึ่งพจนานุกรม 
หรือครู ได้มีงานวิจัยสนับสนุนการเดาศัพท์จากบริบทว่าเป็นวิธีการสอนที่ 
ได้ผลทาให้นักเรียนสามารถเพิ่มปริมาณคาศัพท์ได้
สิ่งที่จาเป็นที่สุดในการสอนคาศัพท์ มิใช่การแปลหรือการอธิบายคาศัพท์ 
นัน้ๆ เท่านัน้ แท้จริงแล้วผู้เรียนจะเรียนรู้คาศัพท์นัน้ก็ต่อเมื่อมีการฝึกบ่อยๆ จนเกิน 
ความมนั่ใจในการนาไปใช้จริง ซงึ่รูปแบบการสอนคาศัพท์มีหลักใหญ่ๆคือ การสอน 
แบบ active หรือ passive vocabulary 
การสอนแบบ Active vocabulary คือการสอนคาที่ความถี่ในการใช้สูง 
(high frequency use) มีประโยชน์และเป็นคาสาคัญ (key word)ของบทเรียนที่จะ 
สอนนัน้ๆจึงต้องสอนให้ครบกระบวนการตัง้แต่การออกเสียง การเน้นหนักคา 
(stress)การสะกดคา (spelling) ความหมายในรูปประโยค (word in context)และ 
ในสถานการณ์ที่จะนาไปใช้ ในขณะที่การสอนแบบ passive vocabulary เป็นเพียง 
การสอนเพื่อให้รู้ความหมายของคา (Meaning) เพื่อให้เกิดความเข้าใจในบทเรียน 
นัน้ๆ เพิ่มขึน้เท่านัน้อย่างไรก็ตามศัพท์ passive ก็อาจจะเป็นคาศัพท์ Active ได้เมื่อ 
ถึงวัยหรือระดับการศึกษาที่สูงขึน้
ขั้นตอนการสอนคา ศัพท์ประเภทคา นาม 
1.คาที่มีความหมายเป็นรูปธรรม เมื่อครูแสดงรูปภาพ บัตรภาพหรือวัสดุต่างๆ ให้นักเรียนดูครูควรกระตุ้นให้ 
นักเรียนตัง้คาถามต่างๆเช่น 
What’s that? หรือ What are they/those? 
What’s “…………..” in English? 
1.ครูเขียนคาหรือแสดงบัตรคาเพื่อให้นักเรียนอ่าน ดูตัวสะกด และเขียนคาเพื่อจดบันทึกไว้ใน 
สมุดของนักเรียน 
2.หากมีคาอื่นๆ ที่ครูจะต้องสอนเพื่อใช้ในการฝึกสนทนาต่อไป ครูจะใช้วิธีคล้ายๆกัน 
นีแ้ตอ่าจเปลี่ยนแปลงวิธีการได้บ้าง เช่น ครูแสดงภาพกล้วยหรือแอ๊ปเปิ้ล และพูดนา 
“ Look. Here is an apple,” หรือ “Look. Here are some bananas.” 
อนงึ่ ครูไม่ควรสอนคาศัพท์ใหม่เกินครัง้ละ 5 คา เพราะจะทาให้นักเรียนสับสน ควรจะแบ่งสอน 
ครัง้ละ 2-3 คา แล้วให้นักเรียนฝึกใช้คาที่เรียนใหม่เสียก่อน เพราะการฝึกใช้คาใหม่ในสถานการณ์ที่ 
กาหนดให้ (หรือบทสนทนา) นัน้ครูจะต้องใช้คาศัพท์เข้ามาผสมให้นักเรียนทบทวนด้วย
การสอนการใช้คาหรือใช้ภาษา 
การสอนให้ใช้คาเพื่อสื่อความหมายได้สาหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษา มี 
วิธีการดังนี้ 
1.ครูเตรียมการล่วงหน้าว่าจะต้องสอนอะไรในวันต่อไป 
2.ครูอธิบายสถานการณ์ที่นักเรียนจะต้องแสดงบทบาทสมมติ และ 
ประโยคที่นักเรียนจะต้องพูดจนนักเรียนเข้าใจว่าตนจะแสดงบทบาทอะไร พูด 
อย่างไรและทากิจกรรมอะไรบ้าง 
3.ถ้าบทพูดยาว ครูควรจะแบ่งหน้าที่พูดออกเป็นตอนสัน้ๆ 4. ครูเรียก 
นักเรียนที่เข้าใจวิธีทากิจกรรมเกี่ยวกับการฝึกภาษาในตอนนัน้ควรทาให้เพื่อนดู 
เป็นตัวอย่างประมาณ 2 คู่ ถ้านักเรียนยังไม่เข้าใจนักครูจะต้องช่วยเหลือ 
5. แบ่งกลุ่มย่อยให้ทาการฝึกเช่นเดียวกับที่ได้ฝึกไปแล้วในตอนต้น 
เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการฝึกอย่างทวั่ถึง
6. ให้นักเรียนอ่านบท ฟัง และพูดในหนังสือ และให้เขียนบทฟังและพูดที่เรียนลงสมุดเป็นการบ้าน 
การสอนคาศัพท์ประเภทคากิริยาเป็นสิ่งที่ครูควรคานึงในเรื่องการแสดงอากัปกิริยา เพื่อสื่อ 
ความหมายให้กับนักเรียน ซึ่งสรุปแนวทางการสอนได้ดังนี้ 
1.การสอนคาและความหายของคา คากิริยาที่นามาสอนในระดับประถมศึกษานัน้มักเป็นคา 
ที่มีความหมายเกี่ยวกับกิริยาอาการ ดังนัน้จึงมักสอนคาและใช้ความหมายของคา 2 วธิี 
1.1ใช้การแสดงท่าทางประกอบ ซงึ่มักจะเริ่มด้วยการใช้ในคาสงั่ในการบอกให้นักเรียนทา 
กิจกรรมต่างๆโดยครูทาเป็นตัวอย่างและไม่ต้องแปลเป็นภาษาไทย เช่น 
Sit down 
Stand up 
Open your book. Close your book 
Write in your pen. 
Point to the window. etc. 
1.2.ใช้แสดงภาพอากัปกิริยา ซึ่งเป็นคาที่จะหามาแสดงความหมายได้ไม่ยาก เช่น ภาพ 
เด็กชายเล่นฟุตบอลสาหรับโทรศัพท์ play football ภาพเด็กนอนหลับสาหรับคาว่า sleep ดูโทรทัศน์ 
สาหรับคาว่า watch television 
การแสดงท่าทางหรือใช้ภาพอาการนัน้ บางครัง้นักเรียนก็เข้าใจความหมายจริง 
หรือไม่ จะใช้วิธีสอบถามเป็นภาษาไทยก็ได้
2.การสอนการใช้คาหรือภาษา 
2.1.เตรียมบัตรภาพสาหรับครู หรือให้นักเรียนเตรียมบัตรภาพมา 
2.2.อธิบายสถานการณ์ให้นักเรียนฟังว่า เขาจะแสดงบทบาท 
สมมุติได้ 
2.3.ฝึกบทพูดตามครู 
2.4.ให้นักเรียนทากิจกรรมให้เพื่อนดูอย่างน้อย 2 คู่ 
2.5.ฝึกในกลุ่มย่อย 
2.6.นักเรียนอ่านบท ฟังและพูดในหนังสือเรียน
ตัวอย่างการสอนคา ศัพย์ 
ครูเขียนหมายเลขโทรศัพท์ใส่กระดาษแผ่นเล็กๆ ให้นักเรียน 10 
หมายเลข นักเรียนในแต่ละกลุ่มเปลี่ยนกันเป็นผู้สงั่ให้ต่อโทรศัพท์ เช่น ครูให้ 
เขียนในกระดาษ 250 – 9768, 275 – 8241, 576 – 2908 และอธิบายให้ 
นักเรียนฟังดังนี้ 
1.ผู้ที่หยิบหมายเลข พูดสงั่เพื่อน Please call 250 – 9768 (Please 
call two – five - 0 – nine – seven – six – eight) พูดซา้ 2 หรือ 3 ครัง้ (อ่าน 
“0” ว่า /ow/) 
2.นักเรียนในกลุ่มเขียนหมายเลขที่ตนได้ยิน 
3.เมื่อทุกคนเขียนเสร็จแล้วให้ตรวจหมายเลขที่นักเรียนเขียน กับ 
หมายเลขในกระดาษที่ครูแจกเป็น4. 
4.การตรวจสอบความถูกต้องของผู้สงั่และผู้เขียนได้ทัง้สองฝ่าย 
5.นักเรียนเปลี่ยนกันเป็นผู้สงั่
วิธีทากิจกรรม 
1.ครูทา หมายเลขโทรศัพท์ขึ้นมา 2 ชุดและเขียนลงในกระดาษแผ่นเล็กๆแผ่นล่ะ 1 หมายเลข 
หมายเลขแจกหมายเลขให้นักเรียน 2 กลุ่ม ๆ ล่ะ 1 ชุด อาจจะให้กลุ่มละ 3 คนก็ได้ 
2.นักเรียนในแต่ล่ะกลุ่มหยิบกระดาษที่เขียนหมายเลขโทรศัพท์ขึ้นมาอ่านในใจ 
3.นักเรียนคนหนึ่งในกลุ่มที่หนึ่ง เป็นผูโ้ทรศัพท์ถึงคนในกลุ่มที่ 2 ในขณะเดียวกันให้เพื่อนใน 
ในกลุ่มตรวจดูดว้ยว่าผูพู้ดอ่านหมายเลขถูกตอ้งหรือไม่ 
4.ครูให้ตัวอย่างบทสนทนาและอธิบายให้ทุกคนเขา้ใจก่อน 
ก.ในกรณีที่ผูใ้ชโ้ทรศัพท์ถึงและผูรั้บโทรศัพท์มีหมายเลขตรงกันให้ใชบ้ทสนทนาดังนี้ 
สนทนาดังนี้ 
นารี: ทา ท่าโทรศัพท์ 
โสภา : ทา ท่ารับโทรศัพท์และบอกหมายเลขของตน Hello, 251 – 0763 
นารี : Hello, This is Naree. Is that Sopha? 
โสภา : Yes. How are you? 
นารี : I’m fine. Thank you. And you? 
นารี : I’m fine too. 
6.นักเรียนเปลี่ยนกันทา กิจกรรมจนทุกคนได้ฝึกอย่างทั่วถึง
ข. ในกรณีที่ผู้ใช้โทรศัพท์ถึงและผู้รับมีหมายเลขไม่ตรงกัน ให้ใช้บทสนทนาดังนี้ 
กมล : ทาท่าโทรศัพท์ 
วินัย : ทาท่ารับโทรศัพท์และบอกหมายเลขของตน เช่น Hello, 
391 – 7852 
กมล : Sorry. Wrong number. 
5.ครูอาจใช้วิธีถามหมายเลขแทนก็ได้ เช่น 
ก.หมายเลขตรงกัน 
นารี : ทาท่าโทรศัพท์เมื่อโสภารับโทรศัพท์แล้ว นารีเป็น 
ฝ่ายถาม 
Hello. Is that 378 – 9051? 
โสภา : Yes, it is. 
ข. ครูแจกหมายเลขที่แตกต่างกันให้นักเรียน 
กมล : ทาท่าโทรศัพท์เมื่อวินัยรับโทรศัพท์แล้วกมลเป็น 
ฝ่ายถาม 
Hello, Is that 378 – 9051? 
วินัย : No, It isn’t. That is 391 – 7852.
ข้อควรคานึงในการสอนคาศัพย์ 
1. ผู้เรียนจะเรียนรู้และจดจาคาศัพท์ได้ดีเมื่อความหมายของศัพท์นัน้ๆ ได้รับการ 
นาเสนออย่างแจ่มชัดเป็นรูปธรรม เช่น ใช้รูปแสดง ใช้การกระทาหรือใช้วัสดุของจริงสื่อ 
ความหมาย 
2. คาศัพท์ที่นามาสอน ถ้านาเสนอในบริบทโดยให้เกี่ยวโยงสัมพันธ์กับคาอื่นจะทาให้ 
ผู้เรียนจาคานัน้ได้ดีกว่าสอนเป็นคาโดดๆ โดยที่บริบทที่นาเสนอจะต้องเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้เรียน 
เรียน 
3.การเรียนรู้คาศัพท์ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นในแนวตรงแนวเดียว แต่เป็นกระบวนการที่ 
แตกแยกกิ่งก้านในทุกทิศทาง จึงไม่ควรสอนคาศัพท์ในลักษณะเป็นคาๆ แต่ควรเป็นกลุ่มคาที่ 
มีความสัมพันธ์กัน เช่น การสอนคาศัพท์ต่างๆที่เกี่ยวกับ “บ้าน” จะมีทัง้คานามและคากิริยา และ 
คาศัพท์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับห้องต่างๆ ในบ้าน เช่น ห้องครัวหรือห้องนอน เป็นต้น 
4.การสอนคาศัพท์ใหม่ ควรนาเสนอในบริบทไม่ใช่คาโดดๆ เช่น สอนเป็นประโยค 
วิธีนีผู้้เรียน จะได้เรียนรู้ความหมายของคาไปพร้อมๆกับวิธีคานัน้ๆ 
5. การเรียนรู้คาศัพท์ ไม่ใช่การเรียนและท่องคาศัพท์นัน้ แต่เป็นกระบวนการเรียนรู้ 
การสื่อสารในสังคม ผู้เรียนจะขยายขอบข่ายวงคาศัพท์และการเข้าใจความหมายของคาศัพท์ 
นั้นๆ จากการสื่อสารแลกเปลี่ยนความคิดกับผู้อื่นด้วย
การสอนโครงสร้างเรื่อง 
การสอนโครงสร้างเรื่อง(Teaching text structure) 
ทา ให้ผูอ้่านสามารถเขา้ใจบทอ่านไดดี้ขึ้น 
ความหมายของโครงสร้างเรื่อง 
โครงสร้างเรื่อง หมายถึง โครงสร้างที่ผูแ้ต่งใชเ้รียบเรียงความคิดของตนเพื่อบรรลุ 
เป้าหมายที่ตอ้งการในกาอ่านนั้นนอกจากผูอ้่านจะตอ้งทา ความเขา้ใจความสัมพันธ์ 
ความสัมพันธ์ของประโยคแลว้ ผูอ้่านควรมีความรู้ถึงความสัมพันธ์ของความคิดรวบ 
รวบยอดที่ประกอบกันเป็นโครงสร้างเรื่องอีกดว้ย
ประเภทของโครงสร้างเรื่อง 
โครงสร้างเรื่องสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 
1. โครงสร้างเรื่องเล่า (story gramma) 
2.โครงสร้างเรื่องเชิงความเรียง (expository text structure)
1. โครงสร้างเรื่องเล่า 
(story grammar) 
สารารถแบ่งได้ 6ช่วงคือ 
1. ฉากเริ่มเรื่อง 
(setting) 
2. เหตุการณ์ 
เริ่มแรก 
(initiating event) 
3.การโต้ตอบภายใน 
(internal 
response) 
4. ความพยายาม 
(attempt) 
5. ผล 
(consequence) 
6. ปฏิกิริยาโต้ตอบ 
(reaction)
โครงสร้างเรื่องเชิงความเรียง (expository text structure) 
เป็นเครือข่ายความสัมพันธ์เกี่ยวกับความคิดต่างๆที่ผู้เขียนเชื่อมโยง 
เข้าด้วยกัน ในการวิเคราะห์สร้างเรื่องนั้น ผู้อ่านควรคิดถึงปัจจัยต่างๆ 
ดังต่อไปนี้ 
1.หัวข้อเรื่องและจุดประสงค์ของผู้แต่งว่าเขียนเพื่อใคร และเพื่อ 
วัตถุประสงค์ 
2. หน้าที่ทางภาษาของแต่ละประโยค ซึ่ง อาจสังเกตได้จากคา และวลี 
ที่บอกได้ถึงภาษาหรือ สรุปความหมายและหน้าที่ได้จากบริบท 
3.ใจความสาคัญและรายละเอียด
หน้าที่ทางภาษา คาอธิบาย คาชีแ้นะ ตัวอย่างประโยค 
แสดงการยกตัวอย่าง 
(exemplifying) 
ประโยคเหล่านีจ้ะ 
ยกตัวอย่างสงิ่ที่ผู้เรียน 
กล่าวถึง 
For example, such as, 
illustration 
Body movement have meaning. 
For example, we lift eyebrow for 
disbelief. 
แสดงการเรียงลาดับ 
(sequencing) 
ประโยคเหล่านีก้ล่าวถึง 
ขัน้ตอนของเหตุการณ์ 
บางอย่าง 
Fust, second, third, 
finaliy, next, after, that, 
then 
First, melt, the butter in the pan. 
Next, beat the eggs. 
แสดงการจาแนกประเภท 
(classifying) 
ประโยคเหล่านีแ้ยกการ 
จาแนกประเภทของคาที่ 
มีความหมายกว้างๆ 
Classified, divided. The 
first kind is, the second 
type is 
Telescopes can be classified into 
three types. 
uอธิบายเหตุผล 
(explaining cause 
effect) 
ประโยคเหล่านีจ้ะอธิบาย 
ถึงสาเหตุของสิ่งต่างๆ 
และผลที่จะเกิดขึน้ 
As a result, consequently, 
therefore, because, 
cause, result 
Very bright sunlight can cause your 
eyes to hurt. some people become 
nervous because of drinking coffee. 
ตารางแสดงหน้าที่ทางภาษาของประโยค
แสดงการเปรียบเทียบ 
สิ่งที่เหมือนกัน 
(comparing)และ สิ่งที่ 
แตกต่างกัน 
contrasting) 
ให้คาจากัดความ 
(defining) 
ประโยคเหล่านีจ้ะ 
เปรียบเทียบลักษณะที่ 
เหมือนกันของสองสิ่ง 
ประโยคเหล่านีจ้ะ 
เปรียบเทียบความ 
แตกต่างของสองสิ่ง 
ประโยคนัน้ๆบอก 
ความหมายหรือให้คา 
จากัดความของคาหรือ 
ความคิดรวบยอดที่ 
ต้องการโดยบรรยาย 
ประเภทและลักษณะ 
สาคัญของคานัน้ๆ 
Similarly, likewise, 
same, both 
Contrast with, 
different from, 
dissimilar to 
Is defined as, is, 
may be described 
as, can be 
Thought as, refers 
to 
Lemon and limes are very 
similar kids of fruit. U.S.A. 
and Canada are both in 
North America. 
Thai food different from 
Western food. 
Power seeking is a 
neurotic behavior based 
on childhood deprivations.
3.ใจความสาคัญและรายละเอียด 
ขนั้แรก หาใจความหลักที่สา คัญที่สุด ทงั้นี้ผูอ้่านควรสามารถ 
แยกแยะขอ้มูลกวา้งๆ ออกจากขอ้มูลที่เป็นรายละเอียด เพราะใน 
ในแต่ละย่อหน้าประกอบดว้ยขอ้มูลกวา้งๆ และรายละเอียด 
ขั้นที่สอง ดูความสัมพันธ์ของประโยคต่างๆ 
ขั้นที่สาม เขียนแผนผังและความสัมพันธ์ความคิดในย่อ 
หน้าที่แสดงถึงความคิดที่สา คัญที่สุด สา คัญรองลงมา
ประเภทโครงสร้างเรื่องเชิงความเรียง 
7 ประเภท
1. แบบบรรยาย ผูเ้ขียนอธิบายหรือบรรยายหัวขอ้เรื่องโดยการยกตัวอย่าง หรือบรรยายลักษณะต่างๆของหัวขอ้ดังกล่าว 
2. แบบเรียงลาดับ ผูเ้ขียนกล่าวถึงเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดข้นึโดยการเรียงลา ดับตามปีที่เกิดหรือตามลา ดับของเหตุการณ์ 
3. แบบเปรียบเทียบ ผูเ้ขียนเปรียบเทียบสิ่งของหรือบุคคลว่าเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร 
4. แบบเป็นเหตุเป็นผล ผูเ้ขียนจะอธิบายถึงสาเหตุที่ทา ให้เกิดเหตุการณ์บางอย่างและผลที่เกิดข้นึ 
5. แบบปัญหาและการแก้ปัญหา ผูเ้ขียนกล่าวถึงปัญหาและการแกปั้ญหานั้นๆหรืออาจเป็นคา ถามหรือคา ตอบก็ได6้. แบบแบ่ง 
ประเภท ผูเ้ขียนแบ่งประเภทของหัวขอ้ที่กล่าวถึงว่าประกอบส่วนสา คัญๆอะไรบา้ง 
6. แบบแบ่งประเภท ผูเ้ขียนแบ่งประเภทของหัวขอ้ที่กล่าวถึงว่าประกอบส่วนสา คัญๆอะไรบา้ง 
7. แบบให้คาจากัดความ ผูเ้ขียนอธิบายความหมายของคา คา นั้นๆ คา จา กัดความจะประกอบดว้ยส่วนสา คัญ 3 ส่วน คือ 
ส่วนแรกจะเป็นคา ศัพท์ ส่วนที่สองจะบอกประเภทของคา ศัพท์นั้นๆ ส่วนที่สามจะเป็นลักษณะสา คัญๆ
การอ่านตรงตาม 
ตัวอักษร 
(Literal) 
การอ่านตีความ 
(Interpratat 
ive) 
การอ่านระดับประยุกต์ 
(Applied) 
What did the 
author say? 
What did the author mean? 
How did you applied the idea? 
ภาพแสดงระดับการอ่านเพื่อความเข้าใจ 
(Vacca & Vacca , 1995)
จากแผนภูมิผู้เขียนได้นาเสนอและอภิปรายประกอบแผนภูมิดังต่อไปนี้ 
1. การอ่านตรงตามตัวอักษร (Literal level ) คือการอ่านที่ผู้อ่านค้นหา 
ข้อมูลที่ผู้เขียนต้องการสื่อสาร ครูควรสอนให้นักเรียนรู้จักวิธีการค้นหาข้อมูล 
จากเรื่องที่อ่าน เป็นการอ่าน เพื่อค้นหาว่า ผู้เขียนพูดว่าอย่างไร 
2. การอ่านในระดับตีความ ( Interpretative Level) คือการอ่านที่ผู้อ่าน 
หาความหมายจากข้อมูลที่เขียนบอกไว้ การอ่านในระดับที่ 1 เน้นการระบุ 
ข้อมูล แต่การอ่านในระดับที่ 2 ผู้อ่านนาข้อมูลที่ได้มาหาความสัมพันธ์ซงึ่การ 
และกันเพื่อหาความหมายตีความ อนุมาน และสรุปความคิดรวบยอดโดยสรุป 
เป็นการอ่านเพื่อค้นคว้าหาว่าผู้เขียนหมายความว่าอย่างไร 
3. การอ่านระดับประยุกต์ (applied level) คือการอ่านที่ผู้อ่านนา 
ความคิดที่ได้จากบทอ่านไปประยุกต์ใช้ ผู้เชี่ยวชาญจะเชื่อมโยงความรู้จาก 
ประสบการณ์เดมิที่ได้จากบทอ่าน ผู้อ่านจะทาการสังเคราะห์บทสรุปที่ได้จาก 
การนาเอาประสบการณ์เดมิของตนมาผนวกเข้ากับความรู้จากบทอ่าน โดยสรุป 
เป็นการอ่านเพื่อสรุปว่าจะนาเอาความคิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร
บลูมได้กล่าวถึงระดับของความรู้ความเข้าใจ 6 ระดับคือ 
ตารางแสดงระดับความรู้ความเข้าใจของบลูม(Bloom) 
กระบวนการความรู้ความเข้าใจ พฤติกรรมของนักเรียน 
1.ความรู้ (knowledge) -นักเรียนสามารถจดจา หรือระลึกถึงข้อมูลได้ 
2.ความเข้าใจ (comprehension) -นักเรียนเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นภาษาสัญลักษณ์และค้นพบความสัมพันธ์ 
ระหว่างความจริง ข้อสรุป คาจากัด ความค่านิยม และทักษะ 
3.ประยุกต์ (application) -นักเรียนสามารถแก้ปัญหาที่เหมือนกับปัญหาจริงในชีวิตซึ้งต้องอาศัย 
ความสามารถในการระบุปัญหา และการเลือกทักษะ และข้อสรุปที่ 
เหมาะสม 
4.วิเคราะห์ (analysis) -นักเรียนแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้และรูปแบบของการคิดในลักษณะ 
ต่างๆ 
5.สังเคราะห์ (synthesis) -นักเรียนแก้ปัญหาที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ 
6.ประเมินค่า (evaluation) -นักเรียนสามารถตัดสินระหว่างความดี ความเลว ความถูก ความผิด 
ตามกฎเกณฑ์ต่างๆที่วางไว้
ตารางแสดงการตั้งคา ถามตามระดับความรู้ความเข้าใจของ บลูม 
ระดับความรู้ความเข้าใจ กิจกรรมของนักเรียน 
ความรู้บอกชื่อให้คาจากัดความ ทบทวนความจา วงกลม 
คาตอบ จับคู่ 
ความเข้าใจ ตอบโดยใช้คาพูดของตนเอง พูดซา้ อธิบายบรรยาย 
ทาตามคาสงั่ 
การประยุกต์นาความรู้มาใช้ในสถานการณ์จริง เชื่อมโยงโยง 
ประสบการณ์ของตนเข้ากับเรื่องที่อ่าน 
การวิเคราะห์ บอกชื่อ หรือแสดงส่วนต่างๆ ของสิ่ง ของหน้าทีต่างๆ 
หรือกระบวนการต่างๆ 
การสังเคราะห์ สรุป แนะนา เปรียบเทียบสิ่งที่เหมือนกันหรือต่างกัน 
ทานายเรื่องให้แตกต่างออกไป 
การประเมินผล ตัดสิน อธิบายว่าชอบหรือไม่ชอบ บรรยายว่าอะไร 
ทาให้ตัดสินใจอย่างนัน้หรือสรุปอย่างนัน้
การตั้งคา ถามโดยใช้หลักการของบลูมนั้น 
“ได้มองข้ามความสา คัญของผู้อ่าน และบทอ่านในปัจจุบันครูควรตั้งคา ถามโดย 
เน้นความรู้ของนักเรียนและบทอ่าน” 
เพียร์สัน และจอร์นสัน (Pearson&Johnson,1978) แบ่ง 
ประเภทคา ถามตามข้อมูลที่ผู้อ่านใช้ตอบคา ถามดังต่อไปนี้ 
1.คา ถามที่ผู้อ่านสามารถหาคา ตอบได้โดยตรงจากบทอ่าน 
(textually explicit) 
2.คา ถามที่ผู้อ่านต้องสรุปหรืออนุมานคา ตอบจากบทอ่าน 
(textually implicit) 
3.คา ถามที่ผู้อ่านใช้ความรู้ประสบการณ์เดิม หรือข้อมูลที่มีอยู่แล้ว 
ในใจของผู้อ่านมาใช้ในการตอบคา ถาม (scriptually implicit 
information)
เมื่อนาเอาระดับการอ่านเพื่อความเข้าใจของเฮิบเบอร์ และเนลสัน (Herber 
& Nelson.1975 อ้างในวิสาข์จัติวัตร์, 2543, หน้า 217) กระบวนการควา 
มารู้ความเข้าใจของบลูมและการแบ่งประเภทของคาถาม ซงึ่ดูจาก 
ความสัมพันธ์ระหว่างคาถามและคาตอบของเพียร์สันและจอร์นสัน 
สามารถนามาเปรียบเทียบได้ดังนี้
ระดับการอ่านเพื่อความเข้าใจของ 
เฮิบเบอร์ และเนลสัน 
ความสัมพันธ์ระหว่างคาถามและ 
คาตอบของเพียร์สัน 
กระบวนการความรู้ความเข้าใจ 
ของบลูม 
การอ่านตรงตามตัวอักษร 
(literal level) 
คา ถามที่ผู้อ่านหาคา ตอบได้ 
โดยตรงจากบทอ่าน 
ความรู้ (knowledge) 
การอ่านในระดับตีความ 
(interpretative level) 
คา ถามที่ผู้อ่านต้องสรุปหรือ 
อนุมานคา ตอบจากบทอ่าน 
ความเข้าใจ 
(comprehension) 
การอ่านในระดับประยุกต์ 
(applied level) 
คา ถามที่ผู้อ่านใช้ความรู้และ 
ประสบการณ์เดิม หรือข้อมูลที่มี 
อยู่แล้วในใจของผู้อ่านมาใช้ใน 
การตอบคา ถาม (implicit 
information) 
ประยุกต์ (application) 
วิเคราะห์ (analysis) 
สังเคราะห์ (synthesis) 
ประเมินค่า (evaluation)
การสอนการใช้พจนานุกรม 
เทคนิคที่ดีอันหนึ่งของการเดาคา ศัพท์ คือใชบ้ริบทร่วมกับลักษณะของ 
ของเสียง คา และโครงสร้างแต่เมื่อวิธีการดังกล่าวไม่ไดผ้ลก็ควรตอ้งใช้ 
dictionary 
การเตรียมตัวสา หรบัการใชค้วรทา แต่เนิ่นๆแมว้่าเด็กๆในระดับตน้ๆ จะ 
ตน้ๆ จะยังไม่ไดใ้ชพ้จนานุกรมจริงๆก็ตาม เด็กๆในระดับอนุบาลเรียนรู้ศัพท์ 
ศัพท์ และลา ดับตัวอักษรจากพจนานุกรมภาพ สา หรับเด็กระดับประถมศึกษา 
ประถมศึกษานั้นควรให้เริ่มใช้dictionary เพื่อฝึกทักษะให้คล่องขึ้นในระดับสูง 
ระดับสูงต่อไป
ปฐมพจนานุกรม 
เด็กส่วนใหญ่จะยังไม่สามารถใช้พจนานุกรมได้จนกระทัง่อย่ชูนั้ 
ชนั้ประถมศึกษาตอนต้น พจนานุกรมฉบับปฐม (first-dictionary) ซึ่ง 
มีจา นวนที่จา กัดและอธิบายด้วยภาพหรือสัญลักษณ์ปฐมพจนานุกรม 
จะอธิบายด้วยประโยคแต่ยังไม่มีวิธีการออกเสียงคา ปฐมพจนานุกรม 
นับเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์แต่ต้องใช้อย่างรอบคอบเพราะ 
พจนานุกรมนี้มีจา นวนคาจา กัดผู้เรียนอาจหาบางคาที่เขาต้องการไม่ 
พบในพจนานุกรมแบบนี้
พจนานุกรม 
นักเรียนระดับประถมศึกษา ซึ่งมีผลการอ่านอยู่ในเกณฑ์จะมีความพร้อมสา หรับ 
สา หรับการใชก้ารในการพจนานุกรมจริงๆ ควรเริ่มตน้จากฉบับพื้นฐานก่อน 
การระบุตาแหน่งของคาที่ต้องการค้นหา 
สิ่งแรกที่ผูเ้รียนตอ้งตระหนักคือคา ในพจนานุกรมเรื่องตามลา ดับอักษรจาก A-Z 
A-Z หากอักษรตัวแรกของคา เหมือนกันก็จะใชตั้วที่สองหรือสามหรือสี่ไกลกว่านั้น แมว้่า 
แมว้่าเด็กจะเขา้ใจเรียงลา ดับอักษรและลา ดับคา ในพจนานุกรมแลว้ก็ตามพวกเขาก็ยังอาจ 
อาจพบความสับสนในการหาคา ที่เป็นผลมาจาก prefix และ suffix ความสับสนอื่นๆ ก็ยัง 
ก็ยังพบไดจ้ากการใชพ้จนานุกรมคือ 
1.คา เรียงตามรูปที่ปรากฏ เช่นคา ย่อ CIA เรียงตามรูป CIA ไม่ไดเ้รียง 
เรียงตามคา เต็ม 
2.ตัวเลขจะเขียนเป็นคา เช่น 7-seven 
3.คา ผสมไม่ว่าจะติดกันหรือแยกกันให้ดูที่คา แรก
การระบุตาแหน่งและการเข้าใจความหมาย 
พจนานุกรมส่วนใหญ่ไม่เพียงให้คา จา กัดความของคา เท่านั้น แต่ยังอธิบายการใชค้า 
เหมือน คา ตรงขา้มและอื่นๆ เช่น ประวัติความเป็นมาของคา ความแตกต่างขอคา 
เหมือนในบางกรณี เป็นตน้ 
ดังนั้นผูเ้รียนควรไดรั้บการเรียนรู้ให้ถูกวธิีการที่พจนานุกรมอธิบายคา ศัพท์ 
หลังจากที่เด็กเขา้ใจวธิีการระบุตา แหน่งและรู้จักใชค้วามหมายของคา แลว้ 
ผูส้อนฝึกให้ผูเ้รียนที่กา ลังอ่านในเบื้องตน้โดยการกา หนดเป้าหมายให้คน้คา ที่มีคา 
จา กัดความเพียง 1-2 ความหมายเท่านั้น จากนั้นจึงให้เด็กพบกับคา ที่มีหลายๆ 
ความหมายและให้รู้จักเลือกความหมายที่เหมาะกับบริบทของเรื่องที่กา ลังอ่าน 
คาพ้องรูป 
คา พอ้งรูปคือคา ที่สะกดเหมือนกัน บางครงั้ออกเสียงต่างกันและความหมายก็ต่างกัน 
ดว้ย เช่น troll (อสูรในเทพนิยาย) และ troll (วิธีการจับปลาวิธีหนึ่ง) ฝึกให้เด็กสังเกต 
วิธีการที่พจนานุกรมใชอ้ธิบายคา พอ้งรูป ซึ่งโดยปกติแลว้คา พวกนี้มักจะถูกแยกไวเ้ป็น 
พวกตอ้งหาก
การระบุชนิดของคา 
หลังจากที่นักเรียนคุน้เคยจากชนิดของคา แลว้ควรสอนให้พวกเขารู้ว่า 
รู้ว่าคา บางคา เป็นไดม้ากกว่าหนึ่งชนิดคา เช่นเป็นทงั้คา นามและคา กริยา เป็นตน้ 
เป็นตน้ ควรฝึกให้นักเรียนระบุชนิดของคา พบในประโยคว่าคา นั้นทา หน้าที่นาม 
นามหรือกริยา 
การอ่านออกเสียงถูกต้อง 
แมว้่าการอ่านออกเสียงผดิอาจไม่ส่งผลต่อการเขา้ใจความหมายของ 
ของคา ศัพท์ผิดไปก็ตามและการอ่านออกเสียงที่ถูกตอ้งก็เป็นตัวช่วยในการ 
เชื่อมโยงกันระหว่างคา ที่เราอ่านกับคา ที่เราพูดและไดยิ้นในชีวิตประจา วัน การ 
การอ่านผิดยังทา ให้เราไม่สามารถใชค้า ดังกล่าวไดเ้มื่อเราตอ้งการที่จะพูดใน 
ในชีวิตประจา วัน การออกเสียงที่ถูกตอ้ง ยังช่วยให้เราจดจา คา ๆนั้นไดด้ว้ย
สาเนียง (Accent) 
เมื่อผูเ้รียนเขา้ใจการอ่านออกเสียงตามระบบสัญลักษณ์ดีแลว้ขึ้นต่อไป 
ต่อไปของการสอน คือการให้พวกเขารู้จักสา เนียงการออกเสียง (accent) 
วิธีการหนึ่งที่จะฝึกไดคื้อ การให้ออกเสียงคา ซึ่งความหมายจะเปลี่ยนไปเมื่อเน้น 
เมื่อเน้นเสียงที่พยางค์ต่างๆกัน ขณะครูออกเสียงให้นักเรียนระบุว่าครูเน้นเสียง 
เสียงหนักที่พยางค์ใด (พยางค์ที่ 1 หรือ 2 เป็นตน้) ขนั้ต่อไปคือ การแนะนาให้ 
ให้เด็กรู้จักเสียงเน้นรอง (secondary stress)
พจนานุกรมเครื่องมือแห่งการเรียนภาษา 
อย่างไรก็ตามตอ้งฝึกใชจ้ากสถานการณ์จริงนั่นคือพยายามให้ใช้ 
พจนานุกรมเป็นเครื่องมือเรียนรู้ภาษาให้ได้เช่น เมื่อสงสัยเรื่องความหมายของ 
ของการออกเสียง การสะกด หรือการใชค้า ๆหนึ่ง ให้คน้หาจากพจนานุกรม 
สา หรับเรื่องการฝึกจา คา ศัพท์แลว้ การใชพ้จนานุกรมควรให้เป็นที่พึ่ง 
พึ่งสุดทา้ยของเด็ก พวกเขาควรใชวิ้ธีอื่นก่อนเช่นเดาจากบริบทการออกเสียง 
เสียง การสร้างคา และการวเิคราะห์โครงสร้าง ถา้คา นั้นไม่สา คัญต่อเรื่อง 
จนเกินไปควรอ่านเรื่องให้จบเสียก่อน เหนือสิ่งอื่นใดอย่าทา ให้เด็กรู้สึกเบื่อหน่าย 
หน่ายการใชพ้จนานุกรมเป็นอันขาด การใชง้านที่เด็กมองไม่เห็นความสา เร็จ 
ความสา เร็จและตอ้งใชพ้จนานุกรมแทบทุกคา หรือพบคา ที่มีความหมายมากมาย 
มากมายหรือการให้เด็กนาคา ใหม่นั้นมาใชใ้นประโยคลว้นแลว้แต่เป็นสิ่งที่ 
ยากเย็นและตอ้งใชป้ระสบการณ์อย่างยิ่ง
กิจกรรมฝึกการใช้พจนานุกรม 
นักเรียนฝึกออกเสียงคาต่อไปนี้ 
Psalm Ptomaine 
Crepes depot 
Czar 
ให้นักเรียนหาคาศัพท์จาก dictionary ตามชนิดของกีฬาและออกเสียง 
Quoits cricket 
Boccie curling 
Biathlon rugby 
Billiards
การสอนทักษะภาษาอังกฤษโดยเฉพาะการอ่านครูผู้สอนจาเป็น 
อย่างยิ่งที่ต้องศึกษาวิวัฒนาการการสอนทักษะการอา่นจากอดีตสู้ปัจจุบัน 
เพื่อเป็นแนวทางการจักการเรียนรู้สาหรับนักเรียนโดยองค์ประกอบที่ 
เกี่ยวข้องกับการอ่านอาจประกอบด้วยทักษะเฉพาะตัวผู้อ่าน จุดประสงค์ 
ของผู้เขียน หรือกระบวนการอ่านภาษาอันเป็นภาษาแม่หรือ 
ภาษาต่างประเทศหรือภาษาที่สอง ซึ่งแนวทางการจัดการสอนทักษะการ 
อ่านนัน้ประกอบด้วยการสอนคาศัพท์ การสอนโครงสร้างเรื่องหรือแม้แต่ 
การสอนการใช้พจนานุกรม (dictionary) ซึ่งเป็นเครื่องมือสาหรับ 
ประกอบการอ่านของนักเรียน ทัง้ในระดับต้นและระดับที่สูงขึน้ตลอดไป

More Related Content

What's hot

คม Smile ป.1_57_unit1
คม Smile ป.1_57_unit1คม Smile ป.1_57_unit1
คม Smile ป.1_57_unit1
Prawly Jantakam
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Thanit Lawyer
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
pantiluck
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
Nattarika Wonkumdang
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
0872191189
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4
Chutima Muangmueng
 
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ZeeZa Blackslott
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
pantiluck
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
Ketsarin Prommajun
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
Sutat Inpa
 

What's hot (20)

คม Smile ป.1_57_unit1
คม Smile ป.1_57_unit1คม Smile ป.1_57_unit1
คม Smile ป.1_57_unit1
 
1370228618
13702286181370228618
1370228618
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4
 
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
การพูดอภิปราย
การพูดอภิปรายการพูดอภิปราย
การพูดอภิปราย
 

Similar to Presentation

The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
Buabuanana
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
Buabuanana
 
The effects of reading method on the comprehension performance of Saudi EFL s...
The effects of reading method on the comprehension performance of Saudi EFL s...The effects of reading method on the comprehension performance of Saudi EFL s...
The effects of reading method on the comprehension performance of Saudi EFL s...
Buabuanana
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สปายด์ 'ดื้อ
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
Namfon Wannapa
 

Similar to Presentation (20)

Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
 
งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
 
The effects of reading method on the comprehension performance of Saudi EFL s...
The effects of reading method on the comprehension performance of Saudi EFL s...The effects of reading method on the comprehension performance of Saudi EFL s...
The effects of reading method on the comprehension performance of Saudi EFL s...
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 

Presentation

  • 2. วิวัฒนาการการสอนการอ่านภาษาอังกฤษ ในปี ค.ศ.1925-1970 แนวทางการสอนในประเทศสหรัฐอมริกาเน้นการสอนตามแนวจุล ทักษะ(sub skill Approach) และแนวทางการสอนแบบเน้นทักษะ ซึ่งเน้นแบบจาลองการอ่านในลักษณะ เน้นกระบวนการอ่านระดับพื้นฐานไปสู่กระบวนการอ่านระดับสูงผู้เรียนจะได้รับการฝึกทักษะการอ่าน ระดับพื้นฐาน เช่น การสะกดคา หรือความสัมพันธ์ระหว่างเสียงและตัวอีกษรก่อนที่จะจา ความหมายของคา ทักษะการอ่านจะนามาแบ่งจากง่ายไปหายาก ความหมายของการอ่านตามแนวการสอนนี้คือ การใช้รหัส โดยอาศัยกฎเกณฑทางด้านเสียงและไวยากรณ์ ช่วงสงครามโลกครั้งที่สองถึงปี ค.ศ.1970 การสอนภาษาอังกฤษได้รับอิทธิพลจากทฤษฎี ภาษาศาสตร์ที่เน้นโครงสร้างภาษา เรียกว่า แนวการสอนแบบฟัง พูด (Audio-lingual Approach) ซึ่งมี ความเชื่อว่าคาพูดสาคัญที่สุด การสอนอ่านจึงสอนหลังจากผู้เรียนเรียนการฟังและการพูดแล้ว ลาดับการ เรียนภาษาจึงเป็นการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการสอนส่วนใหญ่จะเน้นการสอนบทสนทนาและการฝึก กระสวนประโยคซ้าๆ (คาว่ากระสวน หมายถึง รูปแบบอันเกิดจากการกระทาซา้ๆ กัน เช่น การทักทายกัน การเขียนหนังสือ การเข้าแถว ฯลฯ) เพื่อให้ชินเป็นนิสัย บทอ่านเป็นเพียงเครื่องมือที่ช่วยให้เข้าใจ ไวยากรณ์ ศัพท์และวัฒนธรรม แนวการสอนแบบฟังพูดนี้มีลักษณะตามแบบจาลองการอ่านที่เน้น กระบวนการอ่านในระดับพื้นฐานไปสู่กระบวนการในระดับสูง ในการสอนจะเรียงลาดับจากทักษะที่ง่ายไป หาทักษะที่ยากคือ ระบบเสียง ไวยากรณ์และศัพท์
  • 3. Kenneth Goodman ปี ค.ศ.1970 เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึน้เมื่อกูดแมนเขียนบทความเรื่อง “Reading: Psycholinguistic Guessing Game” (Goodman)
  • 4. ความหมายของการอ่านเปลี่ยนจากการไขรหัสเป็นการเดาตามทฤษฎี ภาษาศาสตร์เชิงวิทยา การอ่านคือการที่ผู้อ่านเดาหรือคาดคะเนเรื่องที่อ่าน ตั้งสมมติฐานว่า สิ่งที่คาดคะเนไว้ถูกต้องหรือไม่ โดยการหาคา ชีแนะด้านเสียง ไวยากรณ์หรือความหมาย มายืนยัน ถ้าสมมติฐานถูกต้องผู้อ่านก็เข้าใจและอ่านต่อไปถ้าไม่ถูกต้องก็มีการ ตั้งสมมติฐานใหม่อีกครั้ง แบบจา ลองการสอนตามแนวคิดของกูดแมนคือ แบบจา ลองการ สอนที่เน้นกระบวนการอ่านระดับสูงไปสู่กระบวนการอ่านระดับพื้นฐาน “แนวการสอนที่ เป็นที่นิยมในประเทศสหรัฐอเมริกาคือ แนวการสอนแบบมหภาษา (Whole-Language Approach) ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ตัวชี้แนะต่างๆ เช่น เสียง ไวยากรณ์ บริบทของ สถานการณ์หรือความรู้เดิมมาใช้ในการหาความหมายของเรื่องที่อ่าน”
  • 5. ในปี ค.ศ.1979 โคดดี้(Coady) ได้ประยุกต์แบบจาลองการสอนอ่าน ของกูดแมนมาใช้สอนผู้ที่เริ่มเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง โดยเน้น องค์ประกอบสามประการ กลวิธี กระบวนการ ความรู้และประสบการณ์เดิม และความสามารถทางสติปัญญา ผู้ที่เริ่มต้นอ่านจะใช้กลวิธีที่เน้นรูปธรรม คือ การจาคา ส่วนผู้ที่เชี่ยวชาญในการอ่านมากขึน้จะใช้กลวิธีเน้นนามธรรม เช่น การเดาคาศัพท์จากบริบทและการใช้ความรู้เดิมหาความหมายของเรื่องที่อ่าน
  • 6. ประเทศอังกฤษเริ่มมีแนวการสอนใหม่เกิดขึน้ วิลกินส์(Wilkins,1976) ได้ เสนอประมวลการสอนที่เน้นการสื่อสารตามหน้าที่ภาษา ต่อมาจึงเกิดแนวการ สอนเพื่อการสื่อสาร (Communicative Approach) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี ความสามารถด้านการสื่อสาร สามารถใช้ภาษาสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์ การสอนอ่านตามแนวการสอนเพื่อนการสื่อสารยึดแบบจาลองการ อ่านที่เน้นกระบวนการอ่านระดับสูงสู่กระบวนการอ่านระดับพืน้ฐาน การอ่าน เปรียบเทียบเหมือนบทสนทนาระหว่างผู้เขียนและผู้อ่าน ปี ค.ศ.1980 แนวการสอนอ่านแบบปฎิสัมพันธ์ (Interactive Approach) เริ่ม มีบทบาทสาคัญทัง้ในการอ่านภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ ภาษาที่สองและ ภาษาต่างประเทศ กระบวนการอ่านแบบปฎิสัมพันธ์ไม่ได้ให้ความสาคัญเฉพาะ ระดับพืน้ฐานหรือเฉพาะกระบวนการอ่านในระดับสูง การประมวลความสามารถ ทาได้ทัง้จากกระบวนการอ่านระดับสูงสู่กระบวนการอ่านระดับพนื้ฐาน
  • 7. วิลเลี่ยม (William. n.d) ได้สรุปวิธีการสอนกระอ่านภาต่างประเทศ 2วิธี วิ วิธีการสอนอ่านในระดับต้นๆ (สมัยกรีก โรมัน ถึงศตวรรษวรรษที่ 19)) ได้ สรุปวิธีการสอนกระอ่านภาต่างประเทศ 1.วิธีการสอนที่เน้นส่วนประกอบของ คาและเสียงของตัวอักษร 2.วิธีการสอนที่เน้นการใช้คาหรือ หน่วยคา เน้นที่ความหมายของสิ่งที่ อ่าน 1.1. วิธีสอนตัวอักษร (Alphabetic Method) 1.2.วิธีสอนเสียง (Phonic Method) 1.3.วิธีสอนเป็นพยางค์ (Syllabic Method) 2.1.วิธีการสอนเป็นคา (Word Method) 2.2 วิธีการสอนเป็นวลี (Phrase Method) 2.3.วิธีการสอนอ่านเป็นประโยค (Sentence) 2.3.วิธีการสอนอ่านเป็นประโยค (Sentence Method) Method)
  • 8. ภาพ (Graphic features) ตัวอักษร (Letters) คา (Words) วลี (Phrases) ประโยค (Sentences) คาสัมพันธ์ความ (Local cohesion) โครงสร้างย่อหน้า (Paragraph structuring) หัวข้อเรื่อง (Topic of discourse) การอนุมานความ (Inferenceing) ความรู้ทัว่ไป (World knowladge) การอ่าน (Readin g)
  • 9. การอ่านภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือ ภาษาต่างประเทศ การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศได้ แนวคิดเกี่ยวกับขบวนการอ่านและแบบจาลองกรอ่านมาจากการสอน ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ 1.แบบจา ลองการอ่านที่เน้นกระบวนการอ่านระดับพื้นฐานไปสู่ กระบวนการอ่านระดับสูง (Bottom-up model of reading) 2.แบบจา ลองการอ่านที่เน้นกระบวนการอ่านในระดับสูงไปสู่ กระบวนการอ่านระดับพื้นฐาน (Top – down model of reading)
  • 10. 1.แบบจาลองการอ่านที่เน้นกระบวนการอ่านระดับพื้นฐาน ไปสู่กระบวนการอ่านระดับสูง (Bottom-up model of reading) การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศ ในระยะเริ่มแรกระหว่างปี ค.ศ.1960 – 1970 คือการแก้ไขรหัส หรือการสะกดคาเพื่อหาความหมาย การเรียนภาษาอังกฤษใน ประเทศไทยจะให้ผู้เรียนเรียนตัวอักษร สระ และนาตัวอักษรและสระ มาผสมกัน แนวการสอนการอ่านภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือ ภาษาต่างประเทศที่ใช้แบบจา ลองนี้คือ “แนวการสอนแบบฟัง-พูด”
  • 11. 2.แบบจาลองการอ่านที่เน้นกระบวนการอ่านในระดับสูงไปสู่ กระบวนการอ่านระดับพื้นฐาน (Top – down model of reading) กูดแมนกล่าวว่ากระบวนการอ่านที่เน้นการเดาหรือตงั้สมมติฐานเกี่ยวกับเรื่อง ที่อ่านแลว้ตรวจสอบความหมายจากตัวชี้แนะว่าจะยอมรับหรือเปลี่ยนแปลงสมมติฐาน สมมติฐานนั้นๆ มีลักษณะเป็นสากลคือ สามารถประยุคใชกั้บภาษาทุกภาษาแมว้่า แมว้่าระบบตัวอักษรและการสะกดคา จะแตกต่างกัน (Goodman) นอกจากนี้กูดแมน แมนยังชี้ให้เห็นว่าการอ่านภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศควรจะ ควรจะง่ายสา หรับผูเ้รียนซึ่งไดเ้รียนรู้กระบวนการอ่านในภาษาหนึ่งหรือภาษาแม่ มาแลว้ แนวการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศที่ใช้ แบบจา ลองการอ่านนี้คือ “แนวการสอนอ่านเพื่อการสื่อสาร”
  • 12. บัค (Buck,1973) เห็นด้วยกับกูดแมนเกี่ยวกับกระบวนการ อ่านระดับพื้นฐานของภาษาต่างๆว่ามีความคล้ายคลึงกัน “ผู้เรียนที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่มีปัญหาในการอ่าน ภาษาอังกฤษ เนื่องจากไม่มีความรู้ด้านไวยากรณ์และโครงสร้างภาษาที่ ดีพอ ขาดความรู้ด้านศัพท์และวัฒนธรรม” เมื่อเปรียบเทียบความสามารถของผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็น ภาษาแม่และภาษาต่างประเทศจะเห็นความแตกต่างดังนี้
  • 13. 1.ข้อมูลป้อนเข้าเกี่ยวกับผู้อ่าน (The reader’s input) ตารางแสดงข้อมูลป้อนเข้าเกี่ยวกับผู้อ่าน (The reader’s input) ผ้ใูช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ผ้ใูช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือ ภาษาต่างประเทศ 1.มีความสามารถทางภาษาอังกฤษใน ระดับภาษาแม่ 1.ความสามารถด้านโครงสร้างหรือไวยากรณ์และ ศัพท์มีระดับศูนย์จนถึงระดับใกล้เคียงกับผู้ที่ใช้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ 2.มีประสบการส่วนตัวด้านวัฒนธรรม ของชนชาติที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็น ภาษาแม่ 2.มีประสบการณ์ส่วนตัวด้านวัฒนธรรมที่แตกต่าง ออกไปจากชนชาติที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ 3.มีพัฒนาการด้านความคิดรวบยอด ทางสังคมและวัฒนธรรมของชนชาติที่ ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ 3.มีพัฒนาการด้านความคิดรวบยอดตามสังคมและ วัฒนธรรมที่แตกต่างไปจากชนชาติที่ใช้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่
  • 14. 2.ข้อมูลป้อนเข้าเกี่ยวกับผู้เขียน (The author’s input) ตารางข้อมูลป้อนเข้าเกี่ยวกับผู้เขียน (The author’s input) ผ้ใูช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ผ้ใูช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือ ภาษาต่างประเทศ 1.มีความรู้เกี่ยวกับคาชี้แนะด้านสัญลักษณ์ และเสียง 1.ไม่มีความคุ้นเคยคาชี้แนะเกี่ยวกับสัญลักษณ์และ เสียงในภาษาอังกฤษและความรู้เดิมในภาษาอาจ แทรกแซงการตีความในภาษาอังกฤษ 2.มีความรู้เกี่ยวกับคาชี้แนะด้านโครงสร้าง ภาษาหรือไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ 2.ไม่มีความค้นุเคยกับคาชี้แนะด้านโครงสร้างภาษา หรือไวยากรณ์ภาษาอังกฤษและความรู้เดิมในภาษาแม่ ด้านโครงสร้างภาษาหรือไวยากรณ์อาจแทรกแซงการ ตีความในภาษาอังกฤษ 3.มีความรู้เกี่ยวกับคาชี้แนะด้านความหมายใน ภาษาอังกฤษ 3.ไม่มีความค้นุเคยกับคาชี้แนะด้านความหมายใน ภาษาอังกฤษและความรู้เดิมในภาษาแม่ ด้าน ความหมายอาจแทรกแซงการตีความในภาษาอังกฤษ
  • 16. ผ้ใูช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ผ้ใูช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศ 1.การสุ่มอ่าน 1.อาจจะไม่รู้ว่าข้อมูลสาคัญอยู่ตรงไหนหรือไม่ทราบว่า ประโยคใดมีข้อมูลที่สาคัญที่สุด 2.การคาดคะเนหรือเดา 2.อาจไม่สามารถคาดคะเนหรือเดาเกี่ยวกับโครงสร้างหรอ ความหมายได้หรืออาจเดาความรู้เดิมในภาษาแม่ของตน 3.การทดสอบสมมติฐาน 3.อาจไม่สามารถตอบคาถามได้ว่าสิ่งที่อ่านนั้นมี ความหมายในภาษาอังกฤษหรือไม่ 4.การยืนยันสมมติฐาน 4.อาจไม่สามารถยืนยันสมมติฐานที่ตั้งขึ้นหรืออาจยืนยัน สมมติฐานผิดๆเนื่องจากไม่คุ้นเคยภาษาอังกฤษหรือ เนื่องจากการแทรกแซงจากภาษาแม่ 5.แก้ไขสมมติฐาน 5.อาจไม่สามารถรู้ว่าอ่านผิดและไม่สามารถแก้ไขได้
  • 17. ตารางแสดงแบบจาลองและแนวการสอนอ่าน แบบจาลองการอ่าน แนวการสอนอ่านภาษาอังกฤษ เป็นภาษาแม่ แนวการสอนอ่านภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ สองหรือภาษาต่างประเทศ แบบจาลอง การอ่านที่ผู้อ่านใช้ กระบวนการอ่านในระดับพื้นฐานไปสู่ กระบวนการอ่านในระดับสูง (bottom up model of reading) แนวการสอนแบบจุลทักษะ (subskill approach) แนวการสอนแบบเน้นทักษะ (skill approach) แนวการสอนอ่านแบบฟัง พูด (audiolingualism) แบบจาลอง การอ่านที่ผู้อ่านใช้ กระบวนการอ่านในระดับสูงไปสู่ กระบวนการอ่านในระดับพื้นฐาน (top-down model of reading) แนวการสอนแบบมหภาษา (whole language approach) แนวการสอนเพื่อการสื่อสาร (communicative approach) แบบจาลองการอ่านแบบปฏิสัมพันธ์ (model of interactive reading) แนวการสอนแบบปฏิสัมพันธ์ (interactive approach) แนวการสอนแบบปฏิสัมพันธ์ (interactive approach)
  • 18. การสอนคาศัพท์ จากผลการวิจัยพบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ด้านคาศัพท์และ ความเข้าใจ ในการอ่าน (Thorndike. อ้างถึงในวิสาข์จัติวัตร์, 2543) จาก ผลการเก็บข้อมูล จากนักเรียน 100,000 คน ใน 15 ประเทศ พบว่า “ความสามารถในการอ่านของนักเรียนหลายระดับ และใน หลายๆประเทศสามารถตัดสินใจจากความรู้ด้านคา ศัพท์” แอนเดอร์สันและฟลีกอดี้ ( Anderson & Freebody, 1979)ได้เสนอคาอธิบายความสาพันธ์ระหว่าง คาศัพท์และความเข้าใจไว้ 3 ลักษณะ คือ
  • 19. 1.สมมติฐานเกี่ยวกับความถนัดทางภาษา (verbal aptitude hypothesis) ( Anderson & Freebody, 1979) คาอธิบายความสาพันธ์ระหว่างคาศัพท์และความเข้าใจ 3 ลักษณะ 2.สมมติฐานเกี่ยวกับเครื่องมือในการอ่าน (the instrumental hypothesis) 3.สมมติฐานเกี่ยวกับความรู้ (the knowledge hypothesis)
  • 20. “สมมติฐานทงั้ 3 ประการนี้ ไม่มีข้อมูลใดที่ถูกที่สุด” แต่ครูผู้สอน สามารถประยุกต์หลักการในการสอนศัพท์จากสมมติฐานทงั้ 3 ข้อ คือ 1.สอนความหมายของคาศัพท์พร้อมๆกับการพัฒนาความคิดรวบ ยอด 2.สอนความหมายของคาศัพท์โดยให้นักเรียนใช้คาศัพท์นนั้ๆ บ่อยครงั้ในกิจกรรมต่างๆกัน 3.ให้นักเรียนอ่านมากๆโดยให้อ่านหนังสือหลายๆประเภท เพื่อให้ นักเรียนรู้คาศัพท์อย่างกว้างขวาง
  • 21. ระดับความรู้คาศัพย์ ระดับความรู้คาศัพย์การรู้คาศัพท์นนั้สามารถแบ่งแยกได้หลาย หลายระดับ จากการผู้อ่านไม่รู้ศัพท์คานนั้เลย จนถึงรู้โดยละเอียดว่า คาๆนั้นมีความหมายอย่างไรมีกาเนิดมาจากอะไร
  • 22. ระดับความรู้คาศัพท์แบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ (Glover,Ronning &Bruning, 1990) 1.ศัพท์ที่ผู้อ่านไม่มีความรู้เกี่ยวกับคานั้นมาก่อน (unknown words) 2.ศัพท์ที่ผู้อ่านคุ้นเคยมาก่อน (acquainted words) 3.ศัพท์ที่อยู่ในความทรงจา (established words)
  • 23. วิธีการสอนศัพย์ การสอนศัพท์โดยให้นักเรียนสามารถใช้กลวิธีเดาศัพท์จากบริบท และจากการกระตุ้นประสบการณ์เดิมสามารถทาให้ผู้อ่านเรียนรู้ศัพท์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการสอนศัพท์สามารถแบ่งออกได้ดังนี้ 1.การให้คาจากัดความ วิธีสอนศัพท์ที่ใช้กันมานานเป็นที่ แพร่หลาย คือ การที่ครูให้คาแปลหรือคาจากัดความที่ต้องการสอน ครูเริ่ม สอนโดย 2.การเดาคาศัพท์ตามบริบท การเดาความหมายของคาศัพท์ จากบริบทเป็นวิธีที่นิยมใช้เพื่อพัฒนาคาศัพท์ เนื่องจากผู้อ่านสามารถนา กลวิธีการอ่านเช่นนีไ้ปใช้ในการอ่านอย่างอิสระ โดยไม่ต้องพึ่งพจนานุกรม หรือครู ได้มีงานวิจัยสนับสนุนการเดาศัพท์จากบริบทว่าเป็นวิธีการสอนที่ ได้ผลทาให้นักเรียนสามารถเพิ่มปริมาณคาศัพท์ได้
  • 24. สิ่งที่จาเป็นที่สุดในการสอนคาศัพท์ มิใช่การแปลหรือการอธิบายคาศัพท์ นัน้ๆ เท่านัน้ แท้จริงแล้วผู้เรียนจะเรียนรู้คาศัพท์นัน้ก็ต่อเมื่อมีการฝึกบ่อยๆ จนเกิน ความมนั่ใจในการนาไปใช้จริง ซงึ่รูปแบบการสอนคาศัพท์มีหลักใหญ่ๆคือ การสอน แบบ active หรือ passive vocabulary การสอนแบบ Active vocabulary คือการสอนคาที่ความถี่ในการใช้สูง (high frequency use) มีประโยชน์และเป็นคาสาคัญ (key word)ของบทเรียนที่จะ สอนนัน้ๆจึงต้องสอนให้ครบกระบวนการตัง้แต่การออกเสียง การเน้นหนักคา (stress)การสะกดคา (spelling) ความหมายในรูปประโยค (word in context)และ ในสถานการณ์ที่จะนาไปใช้ ในขณะที่การสอนแบบ passive vocabulary เป็นเพียง การสอนเพื่อให้รู้ความหมายของคา (Meaning) เพื่อให้เกิดความเข้าใจในบทเรียน นัน้ๆ เพิ่มขึน้เท่านัน้อย่างไรก็ตามศัพท์ passive ก็อาจจะเป็นคาศัพท์ Active ได้เมื่อ ถึงวัยหรือระดับการศึกษาที่สูงขึน้
  • 25. ขั้นตอนการสอนคา ศัพท์ประเภทคา นาม 1.คาที่มีความหมายเป็นรูปธรรม เมื่อครูแสดงรูปภาพ บัตรภาพหรือวัสดุต่างๆ ให้นักเรียนดูครูควรกระตุ้นให้ นักเรียนตัง้คาถามต่างๆเช่น What’s that? หรือ What are they/those? What’s “…………..” in English? 1.ครูเขียนคาหรือแสดงบัตรคาเพื่อให้นักเรียนอ่าน ดูตัวสะกด และเขียนคาเพื่อจดบันทึกไว้ใน สมุดของนักเรียน 2.หากมีคาอื่นๆ ที่ครูจะต้องสอนเพื่อใช้ในการฝึกสนทนาต่อไป ครูจะใช้วิธีคล้ายๆกัน นีแ้ตอ่าจเปลี่ยนแปลงวิธีการได้บ้าง เช่น ครูแสดงภาพกล้วยหรือแอ๊ปเปิ้ล และพูดนา “ Look. Here is an apple,” หรือ “Look. Here are some bananas.” อนงึ่ ครูไม่ควรสอนคาศัพท์ใหม่เกินครัง้ละ 5 คา เพราะจะทาให้นักเรียนสับสน ควรจะแบ่งสอน ครัง้ละ 2-3 คา แล้วให้นักเรียนฝึกใช้คาที่เรียนใหม่เสียก่อน เพราะการฝึกใช้คาใหม่ในสถานการณ์ที่ กาหนดให้ (หรือบทสนทนา) นัน้ครูจะต้องใช้คาศัพท์เข้ามาผสมให้นักเรียนทบทวนด้วย
  • 26. การสอนการใช้คาหรือใช้ภาษา การสอนให้ใช้คาเพื่อสื่อความหมายได้สาหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษา มี วิธีการดังนี้ 1.ครูเตรียมการล่วงหน้าว่าจะต้องสอนอะไรในวันต่อไป 2.ครูอธิบายสถานการณ์ที่นักเรียนจะต้องแสดงบทบาทสมมติ และ ประโยคที่นักเรียนจะต้องพูดจนนักเรียนเข้าใจว่าตนจะแสดงบทบาทอะไร พูด อย่างไรและทากิจกรรมอะไรบ้าง 3.ถ้าบทพูดยาว ครูควรจะแบ่งหน้าที่พูดออกเป็นตอนสัน้ๆ 4. ครูเรียก นักเรียนที่เข้าใจวิธีทากิจกรรมเกี่ยวกับการฝึกภาษาในตอนนัน้ควรทาให้เพื่อนดู เป็นตัวอย่างประมาณ 2 คู่ ถ้านักเรียนยังไม่เข้าใจนักครูจะต้องช่วยเหลือ 5. แบ่งกลุ่มย่อยให้ทาการฝึกเช่นเดียวกับที่ได้ฝึกไปแล้วในตอนต้น เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการฝึกอย่างทวั่ถึง
  • 27. 6. ให้นักเรียนอ่านบท ฟัง และพูดในหนังสือ และให้เขียนบทฟังและพูดที่เรียนลงสมุดเป็นการบ้าน การสอนคาศัพท์ประเภทคากิริยาเป็นสิ่งที่ครูควรคานึงในเรื่องการแสดงอากัปกิริยา เพื่อสื่อ ความหมายให้กับนักเรียน ซึ่งสรุปแนวทางการสอนได้ดังนี้ 1.การสอนคาและความหายของคา คากิริยาที่นามาสอนในระดับประถมศึกษานัน้มักเป็นคา ที่มีความหมายเกี่ยวกับกิริยาอาการ ดังนัน้จึงมักสอนคาและใช้ความหมายของคา 2 วธิี 1.1ใช้การแสดงท่าทางประกอบ ซงึ่มักจะเริ่มด้วยการใช้ในคาสงั่ในการบอกให้นักเรียนทา กิจกรรมต่างๆโดยครูทาเป็นตัวอย่างและไม่ต้องแปลเป็นภาษาไทย เช่น Sit down Stand up Open your book. Close your book Write in your pen. Point to the window. etc. 1.2.ใช้แสดงภาพอากัปกิริยา ซึ่งเป็นคาที่จะหามาแสดงความหมายได้ไม่ยาก เช่น ภาพ เด็กชายเล่นฟุตบอลสาหรับโทรศัพท์ play football ภาพเด็กนอนหลับสาหรับคาว่า sleep ดูโทรทัศน์ สาหรับคาว่า watch television การแสดงท่าทางหรือใช้ภาพอาการนัน้ บางครัง้นักเรียนก็เข้าใจความหมายจริง หรือไม่ จะใช้วิธีสอบถามเป็นภาษาไทยก็ได้
  • 28. 2.การสอนการใช้คาหรือภาษา 2.1.เตรียมบัตรภาพสาหรับครู หรือให้นักเรียนเตรียมบัตรภาพมา 2.2.อธิบายสถานการณ์ให้นักเรียนฟังว่า เขาจะแสดงบทบาท สมมุติได้ 2.3.ฝึกบทพูดตามครู 2.4.ให้นักเรียนทากิจกรรมให้เพื่อนดูอย่างน้อย 2 คู่ 2.5.ฝึกในกลุ่มย่อย 2.6.นักเรียนอ่านบท ฟังและพูดในหนังสือเรียน
  • 29. ตัวอย่างการสอนคา ศัพย์ ครูเขียนหมายเลขโทรศัพท์ใส่กระดาษแผ่นเล็กๆ ให้นักเรียน 10 หมายเลข นักเรียนในแต่ละกลุ่มเปลี่ยนกันเป็นผู้สงั่ให้ต่อโทรศัพท์ เช่น ครูให้ เขียนในกระดาษ 250 – 9768, 275 – 8241, 576 – 2908 และอธิบายให้ นักเรียนฟังดังนี้ 1.ผู้ที่หยิบหมายเลข พูดสงั่เพื่อน Please call 250 – 9768 (Please call two – five - 0 – nine – seven – six – eight) พูดซา้ 2 หรือ 3 ครัง้ (อ่าน “0” ว่า /ow/) 2.นักเรียนในกลุ่มเขียนหมายเลขที่ตนได้ยิน 3.เมื่อทุกคนเขียนเสร็จแล้วให้ตรวจหมายเลขที่นักเรียนเขียน กับ หมายเลขในกระดาษที่ครูแจกเป็น4. 4.การตรวจสอบความถูกต้องของผู้สงั่และผู้เขียนได้ทัง้สองฝ่าย 5.นักเรียนเปลี่ยนกันเป็นผู้สงั่
  • 30. วิธีทากิจกรรม 1.ครูทา หมายเลขโทรศัพท์ขึ้นมา 2 ชุดและเขียนลงในกระดาษแผ่นเล็กๆแผ่นล่ะ 1 หมายเลข หมายเลขแจกหมายเลขให้นักเรียน 2 กลุ่ม ๆ ล่ะ 1 ชุด อาจจะให้กลุ่มละ 3 คนก็ได้ 2.นักเรียนในแต่ล่ะกลุ่มหยิบกระดาษที่เขียนหมายเลขโทรศัพท์ขึ้นมาอ่านในใจ 3.นักเรียนคนหนึ่งในกลุ่มที่หนึ่ง เป็นผูโ้ทรศัพท์ถึงคนในกลุ่มที่ 2 ในขณะเดียวกันให้เพื่อนใน ในกลุ่มตรวจดูดว้ยว่าผูพู้ดอ่านหมายเลขถูกตอ้งหรือไม่ 4.ครูให้ตัวอย่างบทสนทนาและอธิบายให้ทุกคนเขา้ใจก่อน ก.ในกรณีที่ผูใ้ชโ้ทรศัพท์ถึงและผูรั้บโทรศัพท์มีหมายเลขตรงกันให้ใชบ้ทสนทนาดังนี้ สนทนาดังนี้ นารี: ทา ท่าโทรศัพท์ โสภา : ทา ท่ารับโทรศัพท์และบอกหมายเลขของตน Hello, 251 – 0763 นารี : Hello, This is Naree. Is that Sopha? โสภา : Yes. How are you? นารี : I’m fine. Thank you. And you? นารี : I’m fine too. 6.นักเรียนเปลี่ยนกันทา กิจกรรมจนทุกคนได้ฝึกอย่างทั่วถึง
  • 31. ข. ในกรณีที่ผู้ใช้โทรศัพท์ถึงและผู้รับมีหมายเลขไม่ตรงกัน ให้ใช้บทสนทนาดังนี้ กมล : ทาท่าโทรศัพท์ วินัย : ทาท่ารับโทรศัพท์และบอกหมายเลขของตน เช่น Hello, 391 – 7852 กมล : Sorry. Wrong number. 5.ครูอาจใช้วิธีถามหมายเลขแทนก็ได้ เช่น ก.หมายเลขตรงกัน นารี : ทาท่าโทรศัพท์เมื่อโสภารับโทรศัพท์แล้ว นารีเป็น ฝ่ายถาม Hello. Is that 378 – 9051? โสภา : Yes, it is. ข. ครูแจกหมายเลขที่แตกต่างกันให้นักเรียน กมล : ทาท่าโทรศัพท์เมื่อวินัยรับโทรศัพท์แล้วกมลเป็น ฝ่ายถาม Hello, Is that 378 – 9051? วินัย : No, It isn’t. That is 391 – 7852.
  • 32. ข้อควรคานึงในการสอนคาศัพย์ 1. ผู้เรียนจะเรียนรู้และจดจาคาศัพท์ได้ดีเมื่อความหมายของศัพท์นัน้ๆ ได้รับการ นาเสนออย่างแจ่มชัดเป็นรูปธรรม เช่น ใช้รูปแสดง ใช้การกระทาหรือใช้วัสดุของจริงสื่อ ความหมาย 2. คาศัพท์ที่นามาสอน ถ้านาเสนอในบริบทโดยให้เกี่ยวโยงสัมพันธ์กับคาอื่นจะทาให้ ผู้เรียนจาคานัน้ได้ดีกว่าสอนเป็นคาโดดๆ โดยที่บริบทที่นาเสนอจะต้องเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้เรียน เรียน 3.การเรียนรู้คาศัพท์ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นในแนวตรงแนวเดียว แต่เป็นกระบวนการที่ แตกแยกกิ่งก้านในทุกทิศทาง จึงไม่ควรสอนคาศัพท์ในลักษณะเป็นคาๆ แต่ควรเป็นกลุ่มคาที่ มีความสัมพันธ์กัน เช่น การสอนคาศัพท์ต่างๆที่เกี่ยวกับ “บ้าน” จะมีทัง้คานามและคากิริยา และ คาศัพท์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับห้องต่างๆ ในบ้าน เช่น ห้องครัวหรือห้องนอน เป็นต้น 4.การสอนคาศัพท์ใหม่ ควรนาเสนอในบริบทไม่ใช่คาโดดๆ เช่น สอนเป็นประโยค วิธีนีผู้้เรียน จะได้เรียนรู้ความหมายของคาไปพร้อมๆกับวิธีคานัน้ๆ 5. การเรียนรู้คาศัพท์ ไม่ใช่การเรียนและท่องคาศัพท์นัน้ แต่เป็นกระบวนการเรียนรู้ การสื่อสารในสังคม ผู้เรียนจะขยายขอบข่ายวงคาศัพท์และการเข้าใจความหมายของคาศัพท์ นั้นๆ จากการสื่อสารแลกเปลี่ยนความคิดกับผู้อื่นด้วย
  • 33. การสอนโครงสร้างเรื่อง การสอนโครงสร้างเรื่อง(Teaching text structure) ทา ให้ผูอ้่านสามารถเขา้ใจบทอ่านไดดี้ขึ้น ความหมายของโครงสร้างเรื่อง โครงสร้างเรื่อง หมายถึง โครงสร้างที่ผูแ้ต่งใชเ้รียบเรียงความคิดของตนเพื่อบรรลุ เป้าหมายที่ตอ้งการในกาอ่านนั้นนอกจากผูอ้่านจะตอ้งทา ความเขา้ใจความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ของประโยคแลว้ ผูอ้่านควรมีความรู้ถึงความสัมพันธ์ของความคิดรวบ รวบยอดที่ประกอบกันเป็นโครงสร้างเรื่องอีกดว้ย
  • 34. ประเภทของโครงสร้างเรื่อง โครงสร้างเรื่องสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. โครงสร้างเรื่องเล่า (story gramma) 2.โครงสร้างเรื่องเชิงความเรียง (expository text structure)
  • 35. 1. โครงสร้างเรื่องเล่า (story grammar) สารารถแบ่งได้ 6ช่วงคือ 1. ฉากเริ่มเรื่อง (setting) 2. เหตุการณ์ เริ่มแรก (initiating event) 3.การโต้ตอบภายใน (internal response) 4. ความพยายาม (attempt) 5. ผล (consequence) 6. ปฏิกิริยาโต้ตอบ (reaction)
  • 36. โครงสร้างเรื่องเชิงความเรียง (expository text structure) เป็นเครือข่ายความสัมพันธ์เกี่ยวกับความคิดต่างๆที่ผู้เขียนเชื่อมโยง เข้าด้วยกัน ในการวิเคราะห์สร้างเรื่องนั้น ผู้อ่านควรคิดถึงปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1.หัวข้อเรื่องและจุดประสงค์ของผู้แต่งว่าเขียนเพื่อใคร และเพื่อ วัตถุประสงค์ 2. หน้าที่ทางภาษาของแต่ละประโยค ซึ่ง อาจสังเกตได้จากคา และวลี ที่บอกได้ถึงภาษาหรือ สรุปความหมายและหน้าที่ได้จากบริบท 3.ใจความสาคัญและรายละเอียด
  • 37. หน้าที่ทางภาษา คาอธิบาย คาชีแ้นะ ตัวอย่างประโยค แสดงการยกตัวอย่าง (exemplifying) ประโยคเหล่านีจ้ะ ยกตัวอย่างสงิ่ที่ผู้เรียน กล่าวถึง For example, such as, illustration Body movement have meaning. For example, we lift eyebrow for disbelief. แสดงการเรียงลาดับ (sequencing) ประโยคเหล่านีก้ล่าวถึง ขัน้ตอนของเหตุการณ์ บางอย่าง Fust, second, third, finaliy, next, after, that, then First, melt, the butter in the pan. Next, beat the eggs. แสดงการจาแนกประเภท (classifying) ประโยคเหล่านีแ้ยกการ จาแนกประเภทของคาที่ มีความหมายกว้างๆ Classified, divided. The first kind is, the second type is Telescopes can be classified into three types. uอธิบายเหตุผล (explaining cause effect) ประโยคเหล่านีจ้ะอธิบาย ถึงสาเหตุของสิ่งต่างๆ และผลที่จะเกิดขึน้ As a result, consequently, therefore, because, cause, result Very bright sunlight can cause your eyes to hurt. some people become nervous because of drinking coffee. ตารางแสดงหน้าที่ทางภาษาของประโยค
  • 38. แสดงการเปรียบเทียบ สิ่งที่เหมือนกัน (comparing)และ สิ่งที่ แตกต่างกัน contrasting) ให้คาจากัดความ (defining) ประโยคเหล่านีจ้ะ เปรียบเทียบลักษณะที่ เหมือนกันของสองสิ่ง ประโยคเหล่านีจ้ะ เปรียบเทียบความ แตกต่างของสองสิ่ง ประโยคนัน้ๆบอก ความหมายหรือให้คา จากัดความของคาหรือ ความคิดรวบยอดที่ ต้องการโดยบรรยาย ประเภทและลักษณะ สาคัญของคานัน้ๆ Similarly, likewise, same, both Contrast with, different from, dissimilar to Is defined as, is, may be described as, can be Thought as, refers to Lemon and limes are very similar kids of fruit. U.S.A. and Canada are both in North America. Thai food different from Western food. Power seeking is a neurotic behavior based on childhood deprivations.
  • 39. 3.ใจความสาคัญและรายละเอียด ขนั้แรก หาใจความหลักที่สา คัญที่สุด ทงั้นี้ผูอ้่านควรสามารถ แยกแยะขอ้มูลกวา้งๆ ออกจากขอ้มูลที่เป็นรายละเอียด เพราะใน ในแต่ละย่อหน้าประกอบดว้ยขอ้มูลกวา้งๆ และรายละเอียด ขั้นที่สอง ดูความสัมพันธ์ของประโยคต่างๆ ขั้นที่สาม เขียนแผนผังและความสัมพันธ์ความคิดในย่อ หน้าที่แสดงถึงความคิดที่สา คัญที่สุด สา คัญรองลงมา
  • 41. 1. แบบบรรยาย ผูเ้ขียนอธิบายหรือบรรยายหัวขอ้เรื่องโดยการยกตัวอย่าง หรือบรรยายลักษณะต่างๆของหัวขอ้ดังกล่าว 2. แบบเรียงลาดับ ผูเ้ขียนกล่าวถึงเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดข้นึโดยการเรียงลา ดับตามปีที่เกิดหรือตามลา ดับของเหตุการณ์ 3. แบบเปรียบเทียบ ผูเ้ขียนเปรียบเทียบสิ่งของหรือบุคคลว่าเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร 4. แบบเป็นเหตุเป็นผล ผูเ้ขียนจะอธิบายถึงสาเหตุที่ทา ให้เกิดเหตุการณ์บางอย่างและผลที่เกิดข้นึ 5. แบบปัญหาและการแก้ปัญหา ผูเ้ขียนกล่าวถึงปัญหาและการแกปั้ญหานั้นๆหรืออาจเป็นคา ถามหรือคา ตอบก็ได6้. แบบแบ่ง ประเภท ผูเ้ขียนแบ่งประเภทของหัวขอ้ที่กล่าวถึงว่าประกอบส่วนสา คัญๆอะไรบา้ง 6. แบบแบ่งประเภท ผูเ้ขียนแบ่งประเภทของหัวขอ้ที่กล่าวถึงว่าประกอบส่วนสา คัญๆอะไรบา้ง 7. แบบให้คาจากัดความ ผูเ้ขียนอธิบายความหมายของคา คา นั้นๆ คา จา กัดความจะประกอบดว้ยส่วนสา คัญ 3 ส่วน คือ ส่วนแรกจะเป็นคา ศัพท์ ส่วนที่สองจะบอกประเภทของคา ศัพท์นั้นๆ ส่วนที่สามจะเป็นลักษณะสา คัญๆ
  • 42. การอ่านตรงตาม ตัวอักษร (Literal) การอ่านตีความ (Interpratat ive) การอ่านระดับประยุกต์ (Applied) What did the author say? What did the author mean? How did you applied the idea? ภาพแสดงระดับการอ่านเพื่อความเข้าใจ (Vacca & Vacca , 1995)
  • 43. จากแผนภูมิผู้เขียนได้นาเสนอและอภิปรายประกอบแผนภูมิดังต่อไปนี้ 1. การอ่านตรงตามตัวอักษร (Literal level ) คือการอ่านที่ผู้อ่านค้นหา ข้อมูลที่ผู้เขียนต้องการสื่อสาร ครูควรสอนให้นักเรียนรู้จักวิธีการค้นหาข้อมูล จากเรื่องที่อ่าน เป็นการอ่าน เพื่อค้นหาว่า ผู้เขียนพูดว่าอย่างไร 2. การอ่านในระดับตีความ ( Interpretative Level) คือการอ่านที่ผู้อ่าน หาความหมายจากข้อมูลที่เขียนบอกไว้ การอ่านในระดับที่ 1 เน้นการระบุ ข้อมูล แต่การอ่านในระดับที่ 2 ผู้อ่านนาข้อมูลที่ได้มาหาความสัมพันธ์ซงึ่การ และกันเพื่อหาความหมายตีความ อนุมาน และสรุปความคิดรวบยอดโดยสรุป เป็นการอ่านเพื่อค้นคว้าหาว่าผู้เขียนหมายความว่าอย่างไร 3. การอ่านระดับประยุกต์ (applied level) คือการอ่านที่ผู้อ่านนา ความคิดที่ได้จากบทอ่านไปประยุกต์ใช้ ผู้เชี่ยวชาญจะเชื่อมโยงความรู้จาก ประสบการณ์เดมิที่ได้จากบทอ่าน ผู้อ่านจะทาการสังเคราะห์บทสรุปที่ได้จาก การนาเอาประสบการณ์เดมิของตนมาผนวกเข้ากับความรู้จากบทอ่าน โดยสรุป เป็นการอ่านเพื่อสรุปว่าจะนาเอาความคิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร
  • 44. บลูมได้กล่าวถึงระดับของความรู้ความเข้าใจ 6 ระดับคือ ตารางแสดงระดับความรู้ความเข้าใจของบลูม(Bloom) กระบวนการความรู้ความเข้าใจ พฤติกรรมของนักเรียน 1.ความรู้ (knowledge) -นักเรียนสามารถจดจา หรือระลึกถึงข้อมูลได้ 2.ความเข้าใจ (comprehension) -นักเรียนเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นภาษาสัญลักษณ์และค้นพบความสัมพันธ์ ระหว่างความจริง ข้อสรุป คาจากัด ความค่านิยม และทักษะ 3.ประยุกต์ (application) -นักเรียนสามารถแก้ปัญหาที่เหมือนกับปัญหาจริงในชีวิตซึ้งต้องอาศัย ความสามารถในการระบุปัญหา และการเลือกทักษะ และข้อสรุปที่ เหมาะสม 4.วิเคราะห์ (analysis) -นักเรียนแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้และรูปแบบของการคิดในลักษณะ ต่างๆ 5.สังเคราะห์ (synthesis) -นักเรียนแก้ปัญหาที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ 6.ประเมินค่า (evaluation) -นักเรียนสามารถตัดสินระหว่างความดี ความเลว ความถูก ความผิด ตามกฎเกณฑ์ต่างๆที่วางไว้
  • 45. ตารางแสดงการตั้งคา ถามตามระดับความรู้ความเข้าใจของ บลูม ระดับความรู้ความเข้าใจ กิจกรรมของนักเรียน ความรู้บอกชื่อให้คาจากัดความ ทบทวนความจา วงกลม คาตอบ จับคู่ ความเข้าใจ ตอบโดยใช้คาพูดของตนเอง พูดซา้ อธิบายบรรยาย ทาตามคาสงั่ การประยุกต์นาความรู้มาใช้ในสถานการณ์จริง เชื่อมโยงโยง ประสบการณ์ของตนเข้ากับเรื่องที่อ่าน การวิเคราะห์ บอกชื่อ หรือแสดงส่วนต่างๆ ของสิ่ง ของหน้าทีต่างๆ หรือกระบวนการต่างๆ การสังเคราะห์ สรุป แนะนา เปรียบเทียบสิ่งที่เหมือนกันหรือต่างกัน ทานายเรื่องให้แตกต่างออกไป การประเมินผล ตัดสิน อธิบายว่าชอบหรือไม่ชอบ บรรยายว่าอะไร ทาให้ตัดสินใจอย่างนัน้หรือสรุปอย่างนัน้
  • 46. การตั้งคา ถามโดยใช้หลักการของบลูมนั้น “ได้มองข้ามความสา คัญของผู้อ่าน และบทอ่านในปัจจุบันครูควรตั้งคา ถามโดย เน้นความรู้ของนักเรียนและบทอ่าน” เพียร์สัน และจอร์นสัน (Pearson&Johnson,1978) แบ่ง ประเภทคา ถามตามข้อมูลที่ผู้อ่านใช้ตอบคา ถามดังต่อไปนี้ 1.คา ถามที่ผู้อ่านสามารถหาคา ตอบได้โดยตรงจากบทอ่าน (textually explicit) 2.คา ถามที่ผู้อ่านต้องสรุปหรืออนุมานคา ตอบจากบทอ่าน (textually implicit) 3.คา ถามที่ผู้อ่านใช้ความรู้ประสบการณ์เดิม หรือข้อมูลที่มีอยู่แล้ว ในใจของผู้อ่านมาใช้ในการตอบคา ถาม (scriptually implicit information)
  • 47. เมื่อนาเอาระดับการอ่านเพื่อความเข้าใจของเฮิบเบอร์ และเนลสัน (Herber & Nelson.1975 อ้างในวิสาข์จัติวัตร์, 2543, หน้า 217) กระบวนการควา มารู้ความเข้าใจของบลูมและการแบ่งประเภทของคาถาม ซงึ่ดูจาก ความสัมพันธ์ระหว่างคาถามและคาตอบของเพียร์สันและจอร์นสัน สามารถนามาเปรียบเทียบได้ดังนี้
  • 48. ระดับการอ่านเพื่อความเข้าใจของ เฮิบเบอร์ และเนลสัน ความสัมพันธ์ระหว่างคาถามและ คาตอบของเพียร์สัน กระบวนการความรู้ความเข้าใจ ของบลูม การอ่านตรงตามตัวอักษร (literal level) คา ถามที่ผู้อ่านหาคา ตอบได้ โดยตรงจากบทอ่าน ความรู้ (knowledge) การอ่านในระดับตีความ (interpretative level) คา ถามที่ผู้อ่านต้องสรุปหรือ อนุมานคา ตอบจากบทอ่าน ความเข้าใจ (comprehension) การอ่านในระดับประยุกต์ (applied level) คา ถามที่ผู้อ่านใช้ความรู้และ ประสบการณ์เดิม หรือข้อมูลที่มี อยู่แล้วในใจของผู้อ่านมาใช้ใน การตอบคา ถาม (implicit information) ประยุกต์ (application) วิเคราะห์ (analysis) สังเคราะห์ (synthesis) ประเมินค่า (evaluation)
  • 49. การสอนการใช้พจนานุกรม เทคนิคที่ดีอันหนึ่งของการเดาคา ศัพท์ คือใชบ้ริบทร่วมกับลักษณะของ ของเสียง คา และโครงสร้างแต่เมื่อวิธีการดังกล่าวไม่ไดผ้ลก็ควรตอ้งใช้ dictionary การเตรียมตัวสา หรบัการใชค้วรทา แต่เนิ่นๆแมว้่าเด็กๆในระดับตน้ๆ จะ ตน้ๆ จะยังไม่ไดใ้ชพ้จนานุกรมจริงๆก็ตาม เด็กๆในระดับอนุบาลเรียนรู้ศัพท์ ศัพท์ และลา ดับตัวอักษรจากพจนานุกรมภาพ สา หรับเด็กระดับประถมศึกษา ประถมศึกษานั้นควรให้เริ่มใช้dictionary เพื่อฝึกทักษะให้คล่องขึ้นในระดับสูง ระดับสูงต่อไป
  • 50. ปฐมพจนานุกรม เด็กส่วนใหญ่จะยังไม่สามารถใช้พจนานุกรมได้จนกระทัง่อย่ชูนั้ ชนั้ประถมศึกษาตอนต้น พจนานุกรมฉบับปฐม (first-dictionary) ซึ่ง มีจา นวนที่จา กัดและอธิบายด้วยภาพหรือสัญลักษณ์ปฐมพจนานุกรม จะอธิบายด้วยประโยคแต่ยังไม่มีวิธีการออกเสียงคา ปฐมพจนานุกรม นับเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์แต่ต้องใช้อย่างรอบคอบเพราะ พจนานุกรมนี้มีจา นวนคาจา กัดผู้เรียนอาจหาบางคาที่เขาต้องการไม่ พบในพจนานุกรมแบบนี้
  • 51. พจนานุกรม นักเรียนระดับประถมศึกษา ซึ่งมีผลการอ่านอยู่ในเกณฑ์จะมีความพร้อมสา หรับ สา หรับการใชก้ารในการพจนานุกรมจริงๆ ควรเริ่มตน้จากฉบับพื้นฐานก่อน การระบุตาแหน่งของคาที่ต้องการค้นหา สิ่งแรกที่ผูเ้รียนตอ้งตระหนักคือคา ในพจนานุกรมเรื่องตามลา ดับอักษรจาก A-Z A-Z หากอักษรตัวแรกของคา เหมือนกันก็จะใชตั้วที่สองหรือสามหรือสี่ไกลกว่านั้น แมว้่า แมว้่าเด็กจะเขา้ใจเรียงลา ดับอักษรและลา ดับคา ในพจนานุกรมแลว้ก็ตามพวกเขาก็ยังอาจ อาจพบความสับสนในการหาคา ที่เป็นผลมาจาก prefix และ suffix ความสับสนอื่นๆ ก็ยัง ก็ยังพบไดจ้ากการใชพ้จนานุกรมคือ 1.คา เรียงตามรูปที่ปรากฏ เช่นคา ย่อ CIA เรียงตามรูป CIA ไม่ไดเ้รียง เรียงตามคา เต็ม 2.ตัวเลขจะเขียนเป็นคา เช่น 7-seven 3.คา ผสมไม่ว่าจะติดกันหรือแยกกันให้ดูที่คา แรก
  • 52. การระบุตาแหน่งและการเข้าใจความหมาย พจนานุกรมส่วนใหญ่ไม่เพียงให้คา จา กัดความของคา เท่านั้น แต่ยังอธิบายการใชค้า เหมือน คา ตรงขา้มและอื่นๆ เช่น ประวัติความเป็นมาของคา ความแตกต่างขอคา เหมือนในบางกรณี เป็นตน้ ดังนั้นผูเ้รียนควรไดรั้บการเรียนรู้ให้ถูกวธิีการที่พจนานุกรมอธิบายคา ศัพท์ หลังจากที่เด็กเขา้ใจวธิีการระบุตา แหน่งและรู้จักใชค้วามหมายของคา แลว้ ผูส้อนฝึกให้ผูเ้รียนที่กา ลังอ่านในเบื้องตน้โดยการกา หนดเป้าหมายให้คน้คา ที่มีคา จา กัดความเพียง 1-2 ความหมายเท่านั้น จากนั้นจึงให้เด็กพบกับคา ที่มีหลายๆ ความหมายและให้รู้จักเลือกความหมายที่เหมาะกับบริบทของเรื่องที่กา ลังอ่าน คาพ้องรูป คา พอ้งรูปคือคา ที่สะกดเหมือนกัน บางครงั้ออกเสียงต่างกันและความหมายก็ต่างกัน ดว้ย เช่น troll (อสูรในเทพนิยาย) และ troll (วิธีการจับปลาวิธีหนึ่ง) ฝึกให้เด็กสังเกต วิธีการที่พจนานุกรมใชอ้ธิบายคา พอ้งรูป ซึ่งโดยปกติแลว้คา พวกนี้มักจะถูกแยกไวเ้ป็น พวกตอ้งหาก
  • 53. การระบุชนิดของคา หลังจากที่นักเรียนคุน้เคยจากชนิดของคา แลว้ควรสอนให้พวกเขารู้ว่า รู้ว่าคา บางคา เป็นไดม้ากกว่าหนึ่งชนิดคา เช่นเป็นทงั้คา นามและคา กริยา เป็นตน้ เป็นตน้ ควรฝึกให้นักเรียนระบุชนิดของคา พบในประโยคว่าคา นั้นทา หน้าที่นาม นามหรือกริยา การอ่านออกเสียงถูกต้อง แมว้่าการอ่านออกเสียงผดิอาจไม่ส่งผลต่อการเขา้ใจความหมายของ ของคา ศัพท์ผิดไปก็ตามและการอ่านออกเสียงที่ถูกตอ้งก็เป็นตัวช่วยในการ เชื่อมโยงกันระหว่างคา ที่เราอ่านกับคา ที่เราพูดและไดยิ้นในชีวิตประจา วัน การ การอ่านผิดยังทา ให้เราไม่สามารถใชค้า ดังกล่าวไดเ้มื่อเราตอ้งการที่จะพูดใน ในชีวิตประจา วัน การออกเสียงที่ถูกตอ้ง ยังช่วยให้เราจดจา คา ๆนั้นไดด้ว้ย
  • 54. สาเนียง (Accent) เมื่อผูเ้รียนเขา้ใจการอ่านออกเสียงตามระบบสัญลักษณ์ดีแลว้ขึ้นต่อไป ต่อไปของการสอน คือการให้พวกเขารู้จักสา เนียงการออกเสียง (accent) วิธีการหนึ่งที่จะฝึกไดคื้อ การให้ออกเสียงคา ซึ่งความหมายจะเปลี่ยนไปเมื่อเน้น เมื่อเน้นเสียงที่พยางค์ต่างๆกัน ขณะครูออกเสียงให้นักเรียนระบุว่าครูเน้นเสียง เสียงหนักที่พยางค์ใด (พยางค์ที่ 1 หรือ 2 เป็นตน้) ขนั้ต่อไปคือ การแนะนาให้ ให้เด็กรู้จักเสียงเน้นรอง (secondary stress)
  • 55. พจนานุกรมเครื่องมือแห่งการเรียนภาษา อย่างไรก็ตามตอ้งฝึกใชจ้ากสถานการณ์จริงนั่นคือพยายามให้ใช้ พจนานุกรมเป็นเครื่องมือเรียนรู้ภาษาให้ได้เช่น เมื่อสงสัยเรื่องความหมายของ ของการออกเสียง การสะกด หรือการใชค้า ๆหนึ่ง ให้คน้หาจากพจนานุกรม สา หรับเรื่องการฝึกจา คา ศัพท์แลว้ การใชพ้จนานุกรมควรให้เป็นที่พึ่ง พึ่งสุดทา้ยของเด็ก พวกเขาควรใชวิ้ธีอื่นก่อนเช่นเดาจากบริบทการออกเสียง เสียง การสร้างคา และการวเิคราะห์โครงสร้าง ถา้คา นั้นไม่สา คัญต่อเรื่อง จนเกินไปควรอ่านเรื่องให้จบเสียก่อน เหนือสิ่งอื่นใดอย่าทา ให้เด็กรู้สึกเบื่อหน่าย หน่ายการใชพ้จนานุกรมเป็นอันขาด การใชง้านที่เด็กมองไม่เห็นความสา เร็จ ความสา เร็จและตอ้งใชพ้จนานุกรมแทบทุกคา หรือพบคา ที่มีความหมายมากมาย มากมายหรือการให้เด็กนาคา ใหม่นั้นมาใชใ้นประโยคลว้นแลว้แต่เป็นสิ่งที่ ยากเย็นและตอ้งใชป้ระสบการณ์อย่างยิ่ง
  • 56. กิจกรรมฝึกการใช้พจนานุกรม นักเรียนฝึกออกเสียงคาต่อไปนี้ Psalm Ptomaine Crepes depot Czar ให้นักเรียนหาคาศัพท์จาก dictionary ตามชนิดของกีฬาและออกเสียง Quoits cricket Boccie curling Biathlon rugby Billiards
  • 57. การสอนทักษะภาษาอังกฤษโดยเฉพาะการอ่านครูผู้สอนจาเป็น อย่างยิ่งที่ต้องศึกษาวิวัฒนาการการสอนทักษะการอา่นจากอดีตสู้ปัจจุบัน เพื่อเป็นแนวทางการจักการเรียนรู้สาหรับนักเรียนโดยองค์ประกอบที่ เกี่ยวข้องกับการอ่านอาจประกอบด้วยทักษะเฉพาะตัวผู้อ่าน จุดประสงค์ ของผู้เขียน หรือกระบวนการอ่านภาษาอันเป็นภาษาแม่หรือ ภาษาต่างประเทศหรือภาษาที่สอง ซึ่งแนวทางการจัดการสอนทักษะการ อ่านนัน้ประกอบด้วยการสอนคาศัพท์ การสอนโครงสร้างเรื่องหรือแม้แต่ การสอนการใช้พจนานุกรม (dictionary) ซึ่งเป็นเครื่องมือสาหรับ ประกอบการอ่านของนักเรียน ทัง้ในระดับต้นและระดับที่สูงขึน้ตลอดไป