SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
สมดุลเคมี
  Chemical Equilibrium.
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้                           หมายถึง
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแล้วสามารถกลับมาเป็นอย่างเดิมได้อีกหรือในปฎิกริยาเคมี
หมายถึงการที่สารตั้งต้นเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ และในขณะเดียวกันสาร
ผลิตภัณฑ์ก็สามารถเปลี่ยนกลับมาเป็นสารตั้งต้นได้อีกถ้าการเปลี่ยนแปลงของสาร
หนึ่งๆ(สารตั้งต้น) ไปเป็นสารผลิตภัณฑ์จนหมดแสดงว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่าง
สมบูรณ์ ไม่สามารถผันกลับได้แต่ถ้าเปลี่ยนไปแล้วสามารถผันกลับได้เรียกว่าเป็น
การเปลี่ยนแปลงอย่างไม่สมบูรณ์จะเข้าสู่ สมดุล ได้
ภาวะสมดุล                      เมื่อระบบหนึ่งๆมีการเปลี่ยนแปลงชนิดผัน
    กลับได้ เมื่อการเปลี่ยนแปลงถึงภาวะหนึงสมบัติตางๆของระบบเช่น สี ปริมาณ สาร
                                         ่       ่
    ในระบบนั้นจะคงที่ ณ ภาวะนี้เรียกว่า ภาวะสมดุล ภาวะสมดุลนี้จะเกิดในระบบปิด
    เท่านัน!!
          ้
ภาวะสมดุลของระบบแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1.ภาวะสมดุลระหว่างสถานะ
2.ภาวะสมดุลอิ่มตัว
3.ภาวะสมดุลในปฎิกิริยาเคมี
•สมดุลไดนามิก                          เป็นภาวะที่ยังคงมีการเปลี่ยนแปลงใน
 ระบบอยู่ตลอดเวลา แต่ผลจากการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลานั้นยังทาให้ระบบมีสมบัติ
 คงที่ ทั้งนี้เพราะอัตราการเปลียนแปลงไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเปลียนแปลง
                               ่                                  ่
 ย้อนกลับ
เมื่อปฎิกริยาเข้าสู่ภาวะสมดุล แสดงกราฟได้ดังนี้
โดยทั่วไปของภาวะสมดุลคือ                   มีการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้า
และย้อนกลับอยู่ตลอดเวลานั้นคือโมเลกุลต่างๆมิได้หยุดนิ่ง อัตราการเปลี่ยนแปลงไป
ข้างหน้าและย้อนกลับมีค่าเท่ากัน ระบบต้องมีสมบัติคงที่ แต่ระบบที่มีสมบัติไม่คงที่ไม่
จาเป็นต้องอยู่ในภาวะสมดุลเสมอไป ต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบปิด
เท่านั้น
       ภาวะสมดุลในปฏิกิริยาเคมี เกิดโดยมีการเปลี่ยนแปลงกลับไปกลับมาระหว่าง
สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ ดังนั้นที่ภาวะสมดุลระบบจะต้องมีสารตั้งต้นและสาร
ผลิตภัณฑ์ครบทุกชนิดปนอยูด้วยกันในปริมาณที่คงที่(ไม่จาเป็นต้องเท่ากัน) เสมอ
                              ่
ที่ภาวะสมดุลที่ว่าสมบัติคงที่ เช่น ความเข้มคงที่ แต่ไม่ได้หมายความว่าสารทุกชนิด
ในระบบที่ภาวะสมดุลมีความเข้มข้นเท่ากัน หมายถึง สาร A มีโมเลกุลอยู่ x โมลก็
จะมีอยู่ X โมลโดยทีแต่ละโมลของสาร A ยังเปลียนไปเปลี่ยนมาอยูนั่นเอง
                     ่                           ่                 ่
•ค่าคงที่สมดุล                   อัตราส่วนระหว่างผลคูณของความเข้มข้นของ
 ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด ยกกาลังด้วยสัมประสิทธิ์บอกจานวนโมลของผลิตภัณฑ์นั้นๆ
 กับผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือยกกาลัง สัมประสิทธิ์บอกความ
 เข้มข้นของสารที่เหลือนั้น ที่ภาวะสมดุลจะมีค่าคงที่เมื่ออุณหภูมิคงที่
        ค่าคงทีสมดุลคานวณได้จากความเข้มข้นของสารทีสมดุลเมื่อทราบค่าคงที่สมดุล
               ่                                           ่
 แล้วเราก็อาจ คานวณหาความเข้มข้นทีไม่ทราบค่าได้ค่าคงที่สมดุลช่วยให้เราทานาย
                                       ่
 ทิศทางการเกิดปฏิกิริยาเข้าสู่สมดุลได้ และช่วยให้เราคานวณความเข้มข้นของสารตั้ง
 ต้นและสารผลิตภัณฑ์เมื่อระบบเข้าสู่สมดุลแล้ว
ตัวอย่างสมการง่ายๆดังนี้




                      ไม่คดของแข็งและสารบริสทธิ์
                          ิ                 ุ
         เมื่อ K = ค่าสมดุล
              [ ] = ความเข้มข้นของสารมีหน่วยเป็น โมล/ลิตร
      a,b,c,d = สัมประสิทธิ์บอกจานวนโมลของสารในปฏิกิริยาที่สมดุลแล้ว
* หน่วยของค่าคงที่สมดุลที่ต่างกันไปสาหรับแต่ละปฎิกิริยาโดยปกติในการใช้ค่า K
  เราจะไม่สนใจที่หน่วย เนื่องจากไม่ค่อยสาคัญนัก แต่ สิงสาคัญคือ ค่าทีเ่ ป็นตัวเลข
                                                         ่
  จึงนามาใช้เฉพาะค่าตัวเลขเท่านั้น

* การบอกค่า K จะต้องอ้างถึงสมการเสมอ เพราะจานวนโมลของสารเปลียนไปค่า K
                                                                   ่
  จะเปลียนไปด้วย ปฏิกิริยาหนึ่งๆถ้ามี K มากแสดงว่าเกิดผลิตภัณฑ์ได้มากกว่า
        ่
  ปฏิกิริยาที่มีค่า K น้อย (ต้องพิจารณาที่อุณหภูมิเดียวกัน) ค่า K ไม่ได้บอกว่า
  ปฏิกิริยานั้นเร็วหรือช้าแต่จะบอกว่ามากหรือน้อย
ค่า K จะคงที่เสมอ สาหรับปฏิกิริยาหนึ่งไม่ว่าจะรบกวนด้วยสมดุลใดก็ตาม
    ยกเว้นอุณหภูมิ นั่นคือ K จะคงที่เมื่ออุณหภูมิคงที่ และจะเปลี่ยนไปเมื่ออุณหภูมิ
    เปลี่ยนไป
ค่า K เมือสมการเปลียนแปลง
           ่          ่
การรบกวนสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ความเข้มข้น
   ความเข้มข้นของสารมีผลต่อภาวะระบบแต่ไม่มีผลต่อค่าสมดุล (K)

    ถ้าเพิ่มความเข้มข้นในระบบภาวะสมดุล ระบบจะปรับตัวไปในทางที่จะลดความเข้มข้นที่
เติมลงไป(ตรงข้ามด้านที่เพิ่ม)
    ถ้าลดความเข้มข้นในระบบภาวะสมดุล ระบบจะปรับตัวไปในทางที่จะเพิ่มความเข้มข้นที่
เติมลงไป(ตรงข้ามด้านที่ลด)

    ระบบจะเข้าสู่สมดุลอีกครั้งซึ่งมีจานวนโมลของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ต่างไปจาก
สมดุลเดิม สมบัติก็จะต่างไปจากเดิม
อุณหภูมิ
- อุณหภูมิมีผลทาให้ค่า K เปลี่ยนไป
    ถ้าเพิ่มอุณหภูมิในปฏิกิริยาคายความร้อนมีผลให้สารผลิตภัณฑ์ค่า K น้อยลง
    ถ้าเพิ่มอุณหภูมิในปฏิกิริยาดูดความร้อนมีผลให้สารผลิตภัณฑ์ค่า K มากขึ้น
ความดัน
          ความดัน มีผลต่อความเข้มข้นของสารที่เป็นแก๊สเท่านั้น และไม่มีผลต่อค่า
  สมดุล (K)
- ถ้าเพิ่มความดันจะเกิดปฎิกิริยาจากโมลมากไปโมลน้อย
- ถ้าลดความดันจะเกิดปฎิกิริยาจากโมลน้อยไปโมลมาก
ตัวเร่งและตัวหน่วงของปฏิกิริยา
  • ตัวเร่งปฏิกิริยา : ช่วยทาให้เข้าภาวะสู่สมดุลเร็วขึ้น
  • ตัวหน่วงปฏิกิริยา : ช่วยทาให้เข้าสู่ภาวะสมดุลช้าลง
          ทั้งคู่ไม่มีผลความเข้มข้นและค่า K ของระบบ
•การคานวณค่าคงที่สมดุล                        : มีหลักต้องพิจารณาคือ
       เปลี่ยนปริมาณสารให้เป็นความเข้มข้น (โมล/ลิตร)
       แล้วพิจารณา 3 ขั้น คือ เริ่ม เปลี่ยน สมดุล
ตัวอย่าง
ความสัมพันธ์ระหว่างจลนศาสตร์เคมีกับสมดุลเคมี
สมมุติว่าปฏิกิริยาผันกลับได้ต่อไปนี้เกิดขึ้นด้วยกลไกที่ประกอบด้วยกระบวนการขั้น
  เดียว ทั้งในทิศทางไปข้างหน้าและย้อนกลับ




      อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าคือ
      อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนหลังคือ
ที่สมดุลอัตราของการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเท่ากับย้อนกลับ




       อัตราส่วนนี้คงที่ และมีค่าเท่ากับค่าคงที่สมดุล Kc ดังนั้น การที่ Kc มี
ค่าคงที่เสมอไม่ว่าความเข้มข้นของสารในสมดุลจะเปลี่ยนไปอย่างไรนั้นเป็นเพราะ Kc
มีค่าเท่ากับอัตราส่วน kf/krซึ่งมีค่าคงที่ที่อุณหภูมิคงที่
•การหาทิศทางของปฏิกิริยา
      ผลหารปฏิกิริยา (reaction quotient, Qc) คือปริมาณที่ได้จากการแทนค่า
 ความเข้มข้นเริ่มต้นลงในสมการแสดงค่าคงที่สมดุล

  ในการหาว่าปฏิกิริยาจะเข้าสู่สมดุลในทิศทางใดต้องเปรียบเทียบค่าของ Qc กับ Kc
 ผลที่ได้จะเป็นหนึ่งในสามกรณีที่เป็นได้ต่อไปนี้
                               1. Qc > Kc
                               2. Qc = Kc
                               3. Qc < Kc
1. Qc > Kc
          อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์กับสารตั้งต้นมีค่าสูงเกินไป เพื่อเข้า
 สู่สมดุล สารผลิตภัณฑ์ต้องเปลี่ยนเป็นสารตั้งต้น ระบบจึงเกิดปฏิกิริยาจากขวาไปซ้าย
 (ผลิตภัณฑ์ลดลง สารตั้งต้นเพิ่มขึ้น) เพื่อเข้าสู่สมดุล

2. Qc = Kc
     ความเข้มข้นเริ่มต้นคือความเข้มข้นที่สมดุล ระบบอยู่ในสมดุล

3. Qc < Kc
     อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์กับสารตั้งต้นมีค่าต่าเกินไปเพื่อเข้าสู่
 สมดุล สารตั้งต้นต้องเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ระบบเกิดปฏิกิริยาจากซ้ายไปขวา (สารตั้งต้น
 ลดลง ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น)เพื่อเข้าสู่สมดุล
•หลักของเลอชาเตอลิเอ                           เมื่อระบบอยู่ในภาวะสมดุลถ้า
 มีการเปลี่ยนแปลงใดๆมารบกวนภาวะสมดุลของระบบ ทาให้ภาวะสมดุลของระบบ
 เปลี่ยนไป ระบบจะปรับตัวให้เข้าสู่ภาวะสมดุลใหม่อีกครั้ง ในการปรับตัวนี้จะ
 ปรับตัวในทิศทางที่ทาให้อิทธิพลที่รบกวนเหลือน้อยที่สุด
•สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต
1.ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม การผลิตแอมโมเนียม
2.คนอาศัยในที่สูงมักมีความเข้มข้นของเลือดมากกว่าปกติ
อ้างอิง
http://www.electron.rmutphysics.com
เสนอ
คุณครูเยาว์ลกษณ์
            ั               บุตรศรี
                           สมาชิก
     นางสาวจริยา     อุยบวน        เลขที่ 27
    นางสาวจอมขวัญ       กล่าอินทร์ เลขที่ 28
  นางสาวจุฑารัตน์       พิมชะนก เลขที่ 29
   นางสาวสุนดา
            ิ          นิสสัยตรง เลขที่ 38
 นางสาวอมราภรณ์     จันฤาไชย เลขที่ 39
                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1

More Related Content

What's hot

มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาManchai
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 

What's hot (20)

มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 

Viewers also liked

ประภา
ประภาประภา
ประภาprapa2537
 
791(1)
791(1)791(1)
791(1)jitima
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีnatthaporn1111
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีJariya Jaiyot
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีjirat266
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)Coco Tan
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีNanmoer Tunteng
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57Pipat Chooto
 

Viewers also liked (20)

ประภา
ประภาประภา
ประภา
 
791(1)
791(1)791(1)
791(1)
 
Bk
BkBk
Bk
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
chemical equilibrium
chemical equilibriumchemical equilibrium
chemical equilibrium
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
Know6
Know6Know6
Know6
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 

Similar to สมดุลเคมี

สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1Khwan Jomkhwan
 
สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2Khwan Jomkhwan
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีmegi38
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีgusuma
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีgusuma
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลkasorn
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีnn ning
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลnanny5941
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลkasorn
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลkasorn
 
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีJirapakorn Buapunna
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkamonmart
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีja1122
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000Awirut619
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkamonmart
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkamonmart
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีGesika
 
เคมีม.6
เคมีม.6เคมีม.6
เคมีม.6jitima
 

Similar to สมดุลเคมี (20)

สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1
 
สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุล
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุล
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุล
 
สภาวะสมดุล
สภาวะสมดุลสภาวะสมดุล
สภาวะสมดุล
 
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
Rate
RateRate
Rate
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
เคมีม.6
เคมีม.6เคมีม.6
เคมีม.6
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reactionอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
 

สมดุลเคมี

  • 2. การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแล้วสามารถกลับมาเป็นอย่างเดิมได้อีกหรือในปฎิกริยาเคมี หมายถึงการที่สารตั้งต้นเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ และในขณะเดียวกันสาร ผลิตภัณฑ์ก็สามารถเปลี่ยนกลับมาเป็นสารตั้งต้นได้อีกถ้าการเปลี่ยนแปลงของสาร หนึ่งๆ(สารตั้งต้น) ไปเป็นสารผลิตภัณฑ์จนหมดแสดงว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่าง สมบูรณ์ ไม่สามารถผันกลับได้แต่ถ้าเปลี่ยนไปแล้วสามารถผันกลับได้เรียกว่าเป็น การเปลี่ยนแปลงอย่างไม่สมบูรณ์จะเข้าสู่ สมดุล ได้
  • 3. ภาวะสมดุล เมื่อระบบหนึ่งๆมีการเปลี่ยนแปลงชนิดผัน กลับได้ เมื่อการเปลี่ยนแปลงถึงภาวะหนึงสมบัติตางๆของระบบเช่น สี ปริมาณ สาร ่ ่ ในระบบนั้นจะคงที่ ณ ภาวะนี้เรียกว่า ภาวะสมดุล ภาวะสมดุลนี้จะเกิดในระบบปิด เท่านัน!! ้ ภาวะสมดุลของระบบแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1.ภาวะสมดุลระหว่างสถานะ 2.ภาวะสมดุลอิ่มตัว 3.ภาวะสมดุลในปฎิกิริยาเคมี
  • 4. •สมดุลไดนามิก เป็นภาวะที่ยังคงมีการเปลี่ยนแปลงใน ระบบอยู่ตลอดเวลา แต่ผลจากการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลานั้นยังทาให้ระบบมีสมบัติ คงที่ ทั้งนี้เพราะอัตราการเปลียนแปลงไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเปลียนแปลง ่ ่ ย้อนกลับ
  • 6. โดยทั่วไปของภาวะสมดุลคือ มีการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้า และย้อนกลับอยู่ตลอดเวลานั้นคือโมเลกุลต่างๆมิได้หยุดนิ่ง อัตราการเปลี่ยนแปลงไป ข้างหน้าและย้อนกลับมีค่าเท่ากัน ระบบต้องมีสมบัติคงที่ แต่ระบบที่มีสมบัติไม่คงที่ไม่ จาเป็นต้องอยู่ในภาวะสมดุลเสมอไป ต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบปิด เท่านั้น ภาวะสมดุลในปฏิกิริยาเคมี เกิดโดยมีการเปลี่ยนแปลงกลับไปกลับมาระหว่าง สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ ดังนั้นที่ภาวะสมดุลระบบจะต้องมีสารตั้งต้นและสาร ผลิตภัณฑ์ครบทุกชนิดปนอยูด้วยกันในปริมาณที่คงที่(ไม่จาเป็นต้องเท่ากัน) เสมอ ่ ที่ภาวะสมดุลที่ว่าสมบัติคงที่ เช่น ความเข้มคงที่ แต่ไม่ได้หมายความว่าสารทุกชนิด ในระบบที่ภาวะสมดุลมีความเข้มข้นเท่ากัน หมายถึง สาร A มีโมเลกุลอยู่ x โมลก็ จะมีอยู่ X โมลโดยทีแต่ละโมลของสาร A ยังเปลียนไปเปลี่ยนมาอยูนั่นเอง ่ ่ ่
  • 7. •ค่าคงที่สมดุล อัตราส่วนระหว่างผลคูณของความเข้มข้นของ ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด ยกกาลังด้วยสัมประสิทธิ์บอกจานวนโมลของผลิตภัณฑ์นั้นๆ กับผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือยกกาลัง สัมประสิทธิ์บอกความ เข้มข้นของสารที่เหลือนั้น ที่ภาวะสมดุลจะมีค่าคงที่เมื่ออุณหภูมิคงที่ ค่าคงทีสมดุลคานวณได้จากความเข้มข้นของสารทีสมดุลเมื่อทราบค่าคงที่สมดุล ่ ่ แล้วเราก็อาจ คานวณหาความเข้มข้นทีไม่ทราบค่าได้ค่าคงที่สมดุลช่วยให้เราทานาย ่ ทิศทางการเกิดปฏิกิริยาเข้าสู่สมดุลได้ และช่วยให้เราคานวณความเข้มข้นของสารตั้ง ต้นและสารผลิตภัณฑ์เมื่อระบบเข้าสู่สมดุลแล้ว
  • 8. ตัวอย่างสมการง่ายๆดังนี้ ไม่คดของแข็งและสารบริสทธิ์ ิ ุ เมื่อ K = ค่าสมดุล [ ] = ความเข้มข้นของสารมีหน่วยเป็น โมล/ลิตร a,b,c,d = สัมประสิทธิ์บอกจานวนโมลของสารในปฏิกิริยาที่สมดุลแล้ว
  • 9. * หน่วยของค่าคงที่สมดุลที่ต่างกันไปสาหรับแต่ละปฎิกิริยาโดยปกติในการใช้ค่า K เราจะไม่สนใจที่หน่วย เนื่องจากไม่ค่อยสาคัญนัก แต่ สิงสาคัญคือ ค่าทีเ่ ป็นตัวเลข ่ จึงนามาใช้เฉพาะค่าตัวเลขเท่านั้น * การบอกค่า K จะต้องอ้างถึงสมการเสมอ เพราะจานวนโมลของสารเปลียนไปค่า K ่ จะเปลียนไปด้วย ปฏิกิริยาหนึ่งๆถ้ามี K มากแสดงว่าเกิดผลิตภัณฑ์ได้มากกว่า ่ ปฏิกิริยาที่มีค่า K น้อย (ต้องพิจารณาที่อุณหภูมิเดียวกัน) ค่า K ไม่ได้บอกว่า ปฏิกิริยานั้นเร็วหรือช้าแต่จะบอกว่ามากหรือน้อย
  • 10. ค่า K จะคงที่เสมอ สาหรับปฏิกิริยาหนึ่งไม่ว่าจะรบกวนด้วยสมดุลใดก็ตาม ยกเว้นอุณหภูมิ นั่นคือ K จะคงที่เมื่ออุณหภูมิคงที่ และจะเปลี่ยนไปเมื่ออุณหภูมิ เปลี่ยนไป ค่า K เมือสมการเปลียนแปลง ่ ่
  • 11.
  • 13. ความเข้มข้น ความเข้มข้นของสารมีผลต่อภาวะระบบแต่ไม่มีผลต่อค่าสมดุล (K) ถ้าเพิ่มความเข้มข้นในระบบภาวะสมดุล ระบบจะปรับตัวไปในทางที่จะลดความเข้มข้นที่ เติมลงไป(ตรงข้ามด้านที่เพิ่ม) ถ้าลดความเข้มข้นในระบบภาวะสมดุล ระบบจะปรับตัวไปในทางที่จะเพิ่มความเข้มข้นที่ เติมลงไป(ตรงข้ามด้านที่ลด) ระบบจะเข้าสู่สมดุลอีกครั้งซึ่งมีจานวนโมลของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ต่างไปจาก สมดุลเดิม สมบัติก็จะต่างไปจากเดิม
  • 14. อุณหภูมิ - อุณหภูมิมีผลทาให้ค่า K เปลี่ยนไป ถ้าเพิ่มอุณหภูมิในปฏิกิริยาคายความร้อนมีผลให้สารผลิตภัณฑ์ค่า K น้อยลง ถ้าเพิ่มอุณหภูมิในปฏิกิริยาดูดความร้อนมีผลให้สารผลิตภัณฑ์ค่า K มากขึ้น
  • 15. ความดัน ความดัน มีผลต่อความเข้มข้นของสารที่เป็นแก๊สเท่านั้น และไม่มีผลต่อค่า สมดุล (K) - ถ้าเพิ่มความดันจะเกิดปฎิกิริยาจากโมลมากไปโมลน้อย - ถ้าลดความดันจะเกิดปฎิกิริยาจากโมลน้อยไปโมลมาก
  • 16. ตัวเร่งและตัวหน่วงของปฏิกิริยา • ตัวเร่งปฏิกิริยา : ช่วยทาให้เข้าภาวะสู่สมดุลเร็วขึ้น • ตัวหน่วงปฏิกิริยา : ช่วยทาให้เข้าสู่ภาวะสมดุลช้าลง ทั้งคู่ไม่มีผลความเข้มข้นและค่า K ของระบบ
  • 17. •การคานวณค่าคงที่สมดุล : มีหลักต้องพิจารณาคือ เปลี่ยนปริมาณสารให้เป็นความเข้มข้น (โมล/ลิตร) แล้วพิจารณา 3 ขั้น คือ เริ่ม เปลี่ยน สมดุล ตัวอย่าง
  • 18. ความสัมพันธ์ระหว่างจลนศาสตร์เคมีกับสมดุลเคมี สมมุติว่าปฏิกิริยาผันกลับได้ต่อไปนี้เกิดขึ้นด้วยกลไกที่ประกอบด้วยกระบวนการขั้น เดียว ทั้งในทิศทางไปข้างหน้าและย้อนกลับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าคือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนหลังคือ
  • 19. ที่สมดุลอัตราของการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเท่ากับย้อนกลับ อัตราส่วนนี้คงที่ และมีค่าเท่ากับค่าคงที่สมดุล Kc ดังนั้น การที่ Kc มี ค่าคงที่เสมอไม่ว่าความเข้มข้นของสารในสมดุลจะเปลี่ยนไปอย่างไรนั้นเป็นเพราะ Kc มีค่าเท่ากับอัตราส่วน kf/krซึ่งมีค่าคงที่ที่อุณหภูมิคงที่
  • 20. •การหาทิศทางของปฏิกิริยา ผลหารปฏิกิริยา (reaction quotient, Qc) คือปริมาณที่ได้จากการแทนค่า ความเข้มข้นเริ่มต้นลงในสมการแสดงค่าคงที่สมดุล ในการหาว่าปฏิกิริยาจะเข้าสู่สมดุลในทิศทางใดต้องเปรียบเทียบค่าของ Qc กับ Kc ผลที่ได้จะเป็นหนึ่งในสามกรณีที่เป็นได้ต่อไปนี้ 1. Qc > Kc 2. Qc = Kc 3. Qc < Kc
  • 21. 1. Qc > Kc อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์กับสารตั้งต้นมีค่าสูงเกินไป เพื่อเข้า สู่สมดุล สารผลิตภัณฑ์ต้องเปลี่ยนเป็นสารตั้งต้น ระบบจึงเกิดปฏิกิริยาจากขวาไปซ้าย (ผลิตภัณฑ์ลดลง สารตั้งต้นเพิ่มขึ้น) เพื่อเข้าสู่สมดุล 2. Qc = Kc ความเข้มข้นเริ่มต้นคือความเข้มข้นที่สมดุล ระบบอยู่ในสมดุล 3. Qc < Kc อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์กับสารตั้งต้นมีค่าต่าเกินไปเพื่อเข้าสู่ สมดุล สารตั้งต้นต้องเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ระบบเกิดปฏิกิริยาจากซ้ายไปขวา (สารตั้งต้น ลดลง ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น)เพื่อเข้าสู่สมดุล
  • 22. •หลักของเลอชาเตอลิเอ เมื่อระบบอยู่ในภาวะสมดุลถ้า มีการเปลี่ยนแปลงใดๆมารบกวนภาวะสมดุลของระบบ ทาให้ภาวะสมดุลของระบบ เปลี่ยนไป ระบบจะปรับตัวให้เข้าสู่ภาวะสมดุลใหม่อีกครั้ง ในการปรับตัวนี้จะ ปรับตัวในทิศทางที่ทาให้อิทธิพลที่รบกวนเหลือน้อยที่สุด
  • 25. เสนอ คุณครูเยาว์ลกษณ์ ั บุตรศรี สมาชิก นางสาวจริยา อุยบวน เลขที่ 27 นางสาวจอมขวัญ กล่าอินทร์ เลขที่ 28 นางสาวจุฑารัตน์ พิมชะนก เลขที่ 29 นางสาวสุนดา ิ นิสสัยตรง เลขที่ 38 นางสาวอมราภรณ์ จันฤาไชย เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1