SlideShare a Scribd company logo
1 of 79
Download to read offline
1. ทราบสมุนไพรที่มีฤทธิ์ทางยา
2. ทราบสัณฐานวิทยาของพืชและ
การจาแนกพืชจากลักษณะเด่น
3. สามารถระบุวงศ์ของพืชที่ศึกษา
4. ทราบฤทธิ์ทางยาและการใช้ประโยชน์
ของพืชที่ศึกษา
ตึกอธิการบดี
และ อุทยานเทคโนโลยีการเกษตร
บึงสีฐาน และ โรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยขอนแก่น(ศึกษาศาสตร์)
สวนกวี จุติกูล
LEGUMINOSAE
BIGNONIACEAE
ARECACEAE
LECYTHIDACEAE
DIPTEROCARPACEAE
LAMIACEAE
LYTHRACEAE
FLACOURTIACEAE
MORACEAE
ANACARDIACEAE
Moringaceae
Menispermaceae
Umbelliferae
Labiatae
Acanthaceae
Solanaceae
Euphorbiaceae
Combretaceae
Amaryllidaceae
Commelinaceae
Agavaceae
Musaceae
Liliaceae
Pandanaceae
Opiliaceae
Leguminosae
Portulacaceae
Moraceae
Bignoniaceae
Apocynaceae
Lythraceae
Loganiaceae
Convolvulaceae
Cucurbitaceae
Amaranthaceae
Asteraceae
Meliaceae
Nymphaeaceae
Caricaceae
Anacardiaceae
Monocotyledons
Palmales
Arecaceae
หมาก
Liliales
Liliaceae
ว่านหางจระเข้
Agaveceae
ซ่อนกลิ่น
Graminales
Cyperaceae
หญ้าแห้วหมู
Orchidales
Orchidaceae
กล้วยไม้ วานิลลา
Scitaminales
Musaceae
กล้วย
Pandanales
Pandanaceae
ใบเตย
Arales
Araceae
บุก
Dicotyledons
MAGNOLIADAE
Annonaceae
น้อยหน่า
Magnoliales
Piperaceae
พริกไทย ช้าพลู
Piperales
Ericales
Lecythidaceae
สาละลังกา กระโดน
Malvales
Dipterocarpaceae
พะยอม
Flacourtiaceae
กระเบา
Rosales
Leguminosae
ชงโค แดง ประดู่ กัลปพฤกษ์
ทองกวาว จามจุรี มะขามเทศ
Myrtales
Lythraceae
ตะแบก เสลา
Lamiales
Lamiaceae
สัก สาระแหน่
Verbenaceae
กรรณิการ์
Sapindales
Anacardiaceae
มะม่วง มะตูมซาอุ
Meliaceae
เอกมหาชัย
HAMAMELIDAE CARYOPHYLLIDAE ROSIDAEDILLENIIDAE ASTERIDAE
Nymphaeaceae
บัวสาย
Nymphaeales
Menispermaceae
ย่านาง
Ranunculales
Moraceae
ขนุน หม่อน โพธิ์ ข่อย
Urticales
Portulacaceae
โสมไทย
Amaranthaceae
ผักโขม
Caryophyllales
Violales
Cucurbitaceae
ตาลึง
Caricaceae
มะละกอ
Capparales
Moringaceae
มะรุม
Scrophulariales
Bignoniaceae
ปีป แคหางค่าง แคนา
Acanthaceae รางจืด
Gentianales
Loganiaceae กันเกรา
Solanales
Solanaceae พริก
Convolvulaceae
ใบระบาด
Asterales
Asteraceae กะเม็ง
Umbellales
Umbelliferae คื่นไช่
Euphorbiales
Euphorbiaceae
ละหุ่ง นานมราชสีห์
Rhamnales
Rhamnaceae
ผักก้านตง
บัญชียาจากสมุนไพร
1. ยาแผนไทย 2. ยาพัฒนาจากสมุนไพร
- ว่านหางจระเข้
(2.3 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง)
- รางจืด
(2.4 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนือ
และกระดูก)
- ช้าพลู
1.1 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต
1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
1.3 ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์นรีเวชวิทยา
1.5 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ
1.6 ยาบารุงโลหิต
1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนือและกระดูก
1.8 ยาบารุงธาตุ ปรับธาตุ
ที่มา: http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th/medicine/herbal/book#term-630
ทั้งต้น จะมีนามันหอมระเหยเป็นหลัก นามาใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง ลดการบีบตัวของลาไส้
ยาชาเฉพาะที่ (local anesthetic) ขับลม และสามารถนามาต้มเพื่อดื่มเป็นยาลดระดับ
นาตาลในเลือดได้ดี
ใบ รสเผ็ดร้อน เป็นยาขับลม ช่วยเจริญอาหาร ทาให้เลือดลมซ่าน ขับเสมหะ แก้เบาหวาน
ราก รสร้อน ขับเสมหะ บารุงธาตุ ขับลมในลาไส้
ผล รสเผ็ดร้อน แก้เสมหะที่คอ ทาให้เสมหะแห้ง ขับลมในลาไส้ ช่วยย่อยอาหาร
ประโยชน์ทางยา
ลาต้นเลือยไปตามพืนดินสีเขียวกลม มีข้อเป็นปม
ผิวใบเป็นมันลื่น ใบมันมีเส้นแขนงใบ 7 เส้น
ดอกขนาดเล็กอัดเรียงกันเป็นช่อรูปทรงกระบอก
ลักษณะเด่น
ที่มา: http://www.phargarden.com/main.
php?action=viewpage&pid=221
การแยกสารบริสุทธิ์จากสารสกัดใบช้าพลูด้วยปิโตรเลียมอีเทอร์
ได้สารประกอบ Hydrocinnamic acid และ β- sitosterol
สารสาคัญ
ภาพโครงสร้างของ hydrocinnamic acid
(ที่มา:https://www.sigmaaldrich.com/catalog/product/al
drich/135232?lang=en&region=TH)
ภาพโครงสร้างของ β- sitosterol
(ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Beta-Sitosterol)
ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=221
ยาเบญจกูล
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการท้องอืด
ท้องเฟ้อ บารุงธาตุ
แก้ธาตุให้ปกติ
ข้อควรระวัง
- ไม่ควรรับประทานติดต่อกันนานเกิน 7 วัน
- ไม่ควรใช้ยานีในฤดูร้อน เนื่องจากอาจทาให้ไฟธาตุกาเริบ
ข้อห้ามใช้
- ห้ามใช้ในหญิงตังครรภ์
- ห้ามใช้ในผู้มีไข้
- ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 12 ปี
บัญชียาหลักแห่งชาติ
เป็นส่วนประกอบของตารับ
- ยาเบญจกูล
- ยาหอมนวโกฐ
- ยาหอมอินทจักร์
- ยาประสะกานพลู
- ยามันทธาตุยาปลูกไฟธาตุ
- ยาเลือดงาม
- ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน
- ยาบารุงโลหิต
- ยาตรีพิกัด
ผลิตภัณฑ์ยาแคปซูลเบญจกูล
(ที่มา: https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe/assets/
images/recipes/d234fb91979f5b340595a8d439c3e95b.jpg)
ดอกดีปลี
ที่มา: https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe/index.php/data/detail/8.
ใบเดี่ยว ขอบใบมีหนาม
เนือใบหนาอวบนามาก
ภายในเนือใบมีวุ้นใสเป็นเมือก
เมื่อกรีดลงไปบริเวณโคนใบจะมี
น้ายางใสสีเหลืองไหลออกมา
ลักษณะเด่น
วุ้นใสจากใบสด: รสจืดเย็น รักษาแผลไฟไหม้นาร้อนลวก
รักษาโรคกระเพาะอาหาร บารุงร่างกาย แก้ร้อนใน
ประโยชน์ทางยา
ราก รสขมขื่น กินถ่ายโรคหนองใน แก้มุตกิด ชารั่ว
น้ายางสีเหลืองจากใบ เคี่ยวให้แห้งเรียกว่า “ ยาดา “ มีรสเบื่อ ใช้กินเป็นยาถ่ายยาระบายอย่างแรง ระคายเคืองต่อผิวหนัง
ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=281
ยาดา
ที่มา: http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=112
ลักษณะภายนอกของเครื่องยา
ยาดาได้จากการเคี่ยวนายางสีเหลืองจากใบว่านหางจระเข้
เป็นยางที่แข็งเป็นก้อน มีสีแดงน้าตาลจนถึงดา
เปราะ ผิวมัน ทึบแสง มีรสขมเหม็นเบื่อ
สรรพคุณ
แก้โรคท้องผูก โดยกระตุ้นลาไส้
และทางเดินอาหารให้บีบตัว
องค์ประกอบทางเคมี
สารกลุ่ม Antraquinone เช่น Aloin, Barbaloin
(aloe-emodin) ออกฤทธิ์เป็น ยาระบาย ยาถ่าย
ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=281
สารสาคัญในยาดา
ที่มา: https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/
compound/313325#section=Top
ที่มา: https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/
compound/Aloe-emodin#section=Top
BarbaloinAloin
ตัวยาสาคัญ:
- ชนิดเจล
ยาที่มีปริมาณของวุ้นว่านหางจระเข้ ไม่น้อยกว่า 70% w/w
- ชนิดโลชันเตรียมสด
ยาที่มีปริมาณของวุ้นว่านหางจระเข้ ไม่น้อยกว่า 60% w/w
ข้อควรระวัง:
ไม่ควรใช้ในผู้ที่มีประวัติแพ้ว่านหางจระเข้ หรือผลิตภัณฑ์ที่
ผสมว่านหางจระเข้
ข้อมูลเพิ่มเติม: ยาโลชันเตรียมสด มีอายุการเก็บ 7 วัน
เก็บยาไว้ในตู้เย็น (อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส)
บัญชียาหลักแห่งชาติ
ใบ ราก และเถา : รสจืดเย็น ตาคันหรือเอารากฝนกับนาหรือต้มเอานายาดื่มถอนพิษ แก้ไข้ ถอนพิษยา เบื่อเมา
แก้ร้อนในกระหายนา แก้พิษร้อนต่างๆ
ราก : รสจืดเย็น แก้อักเสบ แก้ปวดบวม แก้เมาค้าง แก้อาการปวดหัวมึนหัวอันเนื่องมาจากพิษสุรา
ประโยชน์ทางยา
ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=102
ใบเดี่ยวออกตรงข้าม, เส้นใบหลักออกจากโคนใบ 3 - 5
เส้น, ข้อปูดนูนชัดเจน
ลักษณะเด่น
Articulated joint stem
1. Polyphenol ได้แก่ Phenolic acid
ซึ่งมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
2. Flavonoid ได้แก่ Apigenin และ Apigenin
glucoside
โดยเฉพาะ Apigenin ซึ่งเป็นสารสาคัญใน
รางจืดที่สามารถยับยั้งพิษของสารหนู
สารสาคัญ
ที่มา: http://www.ttmed.psu.ac.th/blog.php?p=68. ภาพโครงสร้างของ phenolic acid และ flavonoid ในรางจืด
(ที่มา: http://www.foodnetworksolution.com/uploaded/phenolic%20compond.bmp)
ตัวยาสาคัญ: ผงใบรางจืดโตเต็มที่
รูปแบบ/ข้อบ่งใช้:
- ยาชง: ถอนพิษเบื่อเมา แก้ไข้
- แคปซูล: แก้ไข้ แก้ร้อนใน
ข้อควรระวัง:
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะนาตาลในเลือดต่า
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องใช้ยาอื่นอย่างต่อเนื่องเพราะยารางจืดอาจเร่ง
การขับยาเหล่านันออกจากร่างกาย ทาให้ประสิทธิผลของยาลดลง
ข้อมูลเพิ่มเติมอื่นๆ: ในทางการแพทย์แผนไทย จะใช้ใบหรือราก ตาและ
คันนาซาวข้าว รับประทานแก้พิษผิดสาแดง
บัญชียาหลักแห่งชาติ
ที่มา: http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th/medicine/herbal/list/653.
บัญชียาจากสมุนไพร
1. ยาแผนไทย 2. ยาพัฒนาจากสมุนไพร
No. Family Thai name English name Scientific name
1 Arecaceae หมาก Areca palm Areca catechu L.
2 Liliaceae ว่านหางจระเข้ Curacao Aloe Aloe vera (L.) Burm.f.
3 Agaveceae ซ่อนกลิ่น Tuberose Polianthes tuberose Linn.
4 Cyperaceae หญ้าแห้วหมู Nut grass, Coco grass Cyperus rotundus Linn.
5 Orchidaceae กล้วยไม้ (เอืองฟ้ามุ่ย) The Blue Vanda Vanda coerulea Griff. ex Lindl.
6 Orchidaceae วานิลลา Vanilla Vanilla planifolia Andr.
7 Musaceae กล้วยนาว้า Banana, Cultivated banana Musa sapientum L.
8 Pandanaceae ใบเตย Pandanus Palm Pandanus amaryllifolius Roxb.
9
Araceae บุก Elephant yam, Stanley's
water-tub
Amorphophallus paeoniifolius
(Dennst.) Nicolson.
10 Annonaceae น้อยหน่า Sugar Apple Annona squamosa Linn.
No. Family Thai name English name Scientific name
11 Piperaceae ช้าพลู Wildbetal Leafbush Piper sarmentosum Roxb.
12 Piperaceae พริกไท Black Pepper Piper nigrum Linn.
13 Nymphaeaceae บัวสาย Water lily Nymphaea lotus L.
14 Menispermaceae ย่านาง Bamboo grass Tiliacora triandra (Colebr.) Diels
15 Moraceae ขนุน Jackfruit Tree Artocarpus heterophyllus Lam.
16 Moraceae หม่อน Mulberry tree, White Mulberry Morus alba Linn.
17 Moraceae โพธิ์ Sacred fig Ficus religiosa L.
18 Moraceae ข่อย Siamese rough bush, Tooth brush
tree
Streblus asper Lour.
19 Portulacaceae โสมไทย Fame Flower Talinum paniculatum Gaertn.
20 Amaranthaceae ผักโขม Amaranth Amaranthus viridis L.
No. Family Thai name English name Scientific name
21 Lecythidaceae สาละลังกา Cannon ball tree Couroupita guianensis Aubl.
22 Lecythidaceae กระโดน Tummy-wood, Patana oak Careya sphaerica Roxb.
23 Dipterocarpaceae พะยอม Shorea, White meranti Shorea roxburghii G.Don
24 Flacourtiaceae กระเบา Chaulmoogra Hydnocarpus antelminthica
Pierre ex Laness
25 Cucurbitaceae ตาลึง Ivy Gourd Coccinia grandis (L.) Voigt
26 Caricaceae มะละกอ Papaya Carica papaya L.
27 Moringaceae มะรุม Moringa Moringa oleifera Lam.
28 Leguminosae ชงโค Purple Orchid Tree, Hong Kong
Orchid Tree, Purple Bauhinia
Bauhinia purpurea L.
29 Leguminosae แดง Iron wood, Irul, Jamba, Pyinkado Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub.
No. Family Thai name English name Scientific name
30 Leguminosae ประดู่ Burma Padauk, Narra, Angsana
Norra, Malay Padauk, Burmese
Rosewood, Andaman Redwood,
Amboyna Wood, Indian rosewood
Pterocarpus indicus Willd.
31 Leguminosae กัลปพฤกษ์ Wishing Tree, Pink Shower, Pink
cassia, Pink and White Shower Tree
Cassia bakeriana Craib
32 Leguminosae ทองกวาว Bastard teak, Bengal kino, Kino tree,
Flame of the forest
Butea monosperma (Lam.) Taub.
33 Leguminosae จามจุรี East indian walnut, Rain tree Samanea saman (Jacq.) Merr.
34 Leguminosae มะขามเทศ Manila tamarind Pithecellobium dulce (Roxb.)
Benth.
35 Lythraceae ตะแบก Thai crape myrtle Lagerstroemia floribunda Jack.
36 Lythraceae เสลา Thai Bungor Lagerstroemia loudoni Teijsm. &
Binn.
No. Family Thai name English name Scientific name
37 Anacardiaceae มะม่วง Mango Mangifera indica L.
38 Anacardiaceae มะตูมซาอุ Brazilian Pepper-tree Schinus terebinthifolius
39 Meliaceae เอกมหาชัย Paradise Tree Simaroub gauca
40 Rhamnaceae ผักก้านตง - Colubrina asiatica (L.) Brongn
41 Umbelliferae คื่นไช่ Celery Apium graveolens L
42 Euphorbiaceae ละหุ่ง Castor Ricinus communis L.
43 Euphorbiaceae นานมราชสีห์ Garden spurge Euphorbia hirta L.
44 Lamiaceae สัก Teak Tectona grandis L.f.
45 Lamiaceae สาระแหน่ Kitchen Mint Metha cordifolia Opiz.
46 Verbenaceae กรรณิการ์ Night Blooming Jasmine Nyctanthes arbor-tristis L.
47 Bignoniaceae ปีป Cork Tree, Indian Cork Millingtonia hortensis L.
48 Bignoniaceae แคหางค่าง Karen wood Fernandoa adenophylla (Wall.ex
G.Don) Steenis
No. Family Thai name English name Scientific name
49 Bignoniaceae แคนา - Dolichandrone serrulata (Wall.
ex DC.) Seem.
50 Acanthaceae รางจืด Laurel clockvine, Blue trumphet
vine
Thunbergia laurifolia Lindl.
51 Loganiaceae กันเกรา Anan, Tembusu Fagraea fragrans Roxb.
52 Solaniaceae พริก Chili, Chilli Pepper Capsicum frutescens L.
53 Convolvulaceae ใบระบาด Baby Wood Rose, Elephant Climber,
Elephant Creeper, Elephant Creeper
Silver, Elephant Vine, Silver
Morning, Silver Morning Glory,
Morning Glory, Wood Rose, Woolly
Morning Glory
Argyreia nervosa (Burm. f.) Bojer
54 Asteraceae กะเม็ง False daisy, White head,
Yerbadetajo herb
Eclipta prostrata (L.) L.
นายกฤษฎาวุฒิ สายจันดา 593150052-9
นายคชรัตน์ หวังสุดดี 593150055-3
นางสาวชลัดดา บุญศิริ 593150061-8
นางสาวปัทมกานต์ เกษทองมา 593150080-4
นางสาวปิยาอร สาเร็จผล 593150083-8
นางสาวศศินา ศิริวัฒนเมธานนท์ 593150103-8
นายกษิดิ์เดช โพธิ์ทิพย์ 593150171-1
นายศุภโชติ ธนสารกุล 593150194-9
นางสาวปวีณ์สุดา ชูสังข์ 593150216-5
นายเศรษฐพงศ์ ณ หนองคาย 593150220-4
นางสาวจันทิวา สีงาม 593150221-2
Saluda. (ม.ป.ป.). ยาชงสมุนไพร ผสมช้าพลู. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก
http://www.saludaplus.com/P13/Healthy Product/215/ยาชงสมุนไพรผสมช้าพลู
ฐานข้อมูลพันธุ์ไม้อุทยานหลวงราชพฤกษ์. (ม.ป.ป.). มะขามเทศ. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561 จาก
http://www.royalparkrajapruek.org/Plants
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะ เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). รางจืด. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน
2561, จาก http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=102.
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ยาเบญจกูล. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน
2561, จาก https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe/index.php/data/detail/8.
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. “ย่านาง”. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561.
จาก www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=148.
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). ช้าพลู. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน
2561, จาก http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=221
บัญชียาหลักแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). ยาถอนพิษเบื่อเมา. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก
http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th/medicine/herbal/list/653.
ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2561, (2561,
19 มกราคม ). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 14 ง, หน้า 224-272.
พิชามญชุ์ อัครยศพงศ์. (2554). รางจืดแก้พิษ. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก
http://www.ttmed.psu.ac.th/blog.php?p=68.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ยาดา. http://www.thaicrudedrug.com ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ว่านหางจระเข้. http://www.phargarden.com ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศุภชัย ติยวรนันท์. (ม.ป.ป.). พืชสมุนไพรที่มีใบเลียงคู่ ตอนที่ 1 (หน้า 29). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศุภชัย ติยวรนันท์. (ม.ป.ป.). พืชสมุนไพรที่มีใบเลียงคู่ ตอนที่ 1. คณะเภสัชศาสตร์
สมุนไพรดอทคอม. (ม.ป.ป.). ช้าพลู. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จากhttps://www.samunpri.com/
อุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). แหล่งที่มา : http://www.phargarden.com/main.php?action
=viewpage &pid=281. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน, 2018.
Field Trip
บึงสีฐาน และ โรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(ศึกษาศาสตร์)
คณะเภสัชศาสตร์
คณะเภสัชศาสตร์
kku shuttle bus
คณะเภสัชศาสตร์
คณะเภสัชศาสตร์
สาธิต(ศึกษาศาสตร์) - บึงสีฐาน
คณะเภสัชศาสตร์
สาธิต(ศึกษาศาสตร์) - บึงสีฐาน
REVIEW PLANTS
วงศ์ ชื่อทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์
AMARANTHACEAE บานไม่รู้โรย Comphrena globosa
ANNONACEAE การเวก Artabotrys hexapetalus
ANACARDIACEAE มะม่วงหิมพานต์ Anacardium occidentale
ANTERACEAE
หญ้าดอกขาว Vernonia cinerea
สาบเสือ Chromolaena odorata
ASTERACEAE กระดุมทอง Melampodium divaricatum
ARACEAE กระดาดขาว Capparis micracantha
APOCYNACEAE
แพงพวยฝรั่ง Capparis micracantha
ลีลาวดี Plumeria spp.
ยี่โถ Nerium oleander
ราเพย Cascabela thevetia
หิรัญญิการ์ Beaumontia grandiflora
พญาสัตบรรณ(ตีนเป็ด) Alstonia scholaris
APIACEAE ผักชีลาว Anethum graveolens
วงศ์ ชื่อทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์
BIGNONIACEAE ปีบ Millingtonia hortensis
CASUARINACEAE สนประดิพัทธ์ Casuarina junghuhniana
COMBRETACEAE
หูกวาง Terminalia catappa
เล็บมือนาง Quisqualis indica
CUCURBUTACEAE ตาลึง Coccinia grandis
DIPTEROCARPACEAE
ยางนา Dipterocarpus alatus
พยอม Shorea roxbur
DRACAENACEAE ลิ้นมังกร Sansevieria trifasciata
FLACOURTICCEAE กระเบา Hydnocarpus anthelminthicus
LECYTHIODACEAE กระโดน Careya arborea
LEGUMINOSAE
ประดู่ Pterocarpus macrocarpus
กระถินณรงค์ Acacia auriculiformis
ฉาฉา Albiza saman
กัลปพฤกษ์ Cassia bakeriana
อัญชัน Clitoria ternatea
วงศ์ ชื่อทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์
LEGUMINOSAE
ขี้เหล็ก Senna siamea
ทองกวาว Butea monosperma
ชะอม Senegalia pennata
คูน Cassia fistula
มะขามเทศ Pithecellobium dulce
แคฝรั่ง Gliricidia sepium
LYTHRACEAE
อินทนิลน้า Lagerstroemia speciosa
เสลา Lagerstroemia loudonii
ตะแบก Lagerstroemia floribunda
MALVACEAE ชบา Hibiscus syriacus
MELIACEAE สะเดา Azadirachta indica
MENISPERMACEAE
ชิงช้าชาลี Tinospora baenzigeri
ย่านาง Tiliacora triandra
MORACEAE ข่อย Streblus asper
MUNTINGIACEAE ตะขบ Muntingia calabura
MUSACEAE กล้วย Musa acumina
วงศ์ ชื่อทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์
NYCTAGINACEAE เฟื่องฟ้า Bougainvillea spp.
PASSIFLORACEAE กระทกรก Passiflora foetida L.
RHAMNACEAE พุทธา Zizyphus mauritiana Lam.
RUBIACEAE เข็ม Ixora lobbii Loudon
ตดหมูตดหมา Paederia foetida
SCROPHULARIACEAE นีออน Leucophyllum frutescens
SIMAROUBACEAE ราชดัด Brucea javanica
VERBENTACEAE สัก Tectona grandis
หอประชุมกาญจนาภิเษก
และหอศิลปวัฒนธรรม
- สนประดิพัทธ์
- ลูกใต้ใบ
- สะเดา
- ตีนเป็ด
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น
(ศึกษาศาสตร์)
- จามจุรี
- ชิงช้าชาลี
- ตดหมูตดหมา
เขตบ้านพัก
- แพงพวยฝรั่ง
- หญ้าดอกขาว
- สาบเสือ
- เล็บมือนาง
- กะทกรก
- กระถินณรงค์
FAMILY
CASUARINACEAE
ลักษณะเด่น : ไม้ยืนต้น เรือนยอดรูปพีระมิด กิ่งก้านขนาดเล็ก
เปลือกแตกออกเป็นริ้ว ใบเดี่ยว ลดรูปเป็น scale leaf เรียง
เวียนรอบข้อ ข้อละ 8-10 ใบ รูปร่างเรียวยาว ต่อกันเป็นปล้อง
ผลขนาดเล็กคล้ายลูกทุเรียน แข็ง แห้งแตก
พืชที่สาคัญ : สนทะเล สนประดิพัทธ์
พืชที่พบ : สนประดิพัทธ์
สนประดิพัทธ์
Casuarina junghuhniana Miq.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้น : ไม้ยืนต้น เรือนยอดรูปพีระมิด กิ่งก้านขนาดเล็ก เปลือกแตกออกเป็นริ้ว
ใบ : ใบเดี่ยว ลดรูปเป็น scale leaf เรียงเวียนรอบข้อ ข้อละ 8-10 ใบ รูปร่างเรียวยาว ต่อกัน
เป็นปล้องๆ
ผล : ขนาดเล็กคล้ายลูกทุเรียน แข็ง แห้งแตก
สรรพคุณ
ใบ : นามาชงเป็นยาขับปัสสาวะ หรือต้มกินแก้ปวดท้อง และแก้อาการจุกเสียด
เปลือก : ปรุงเป็นยาแก้บิด แก้โรคท้องร่วง สมานแผล ใช้อาบแก้โรคเหน็บชา
แต่ถ้าใช้ในจานวนที่มากจะมีฤทธิ์ไปบีบมดลูก ทาให้ประจาเดือนมาปกติ
ที่มา : http://www.ngnkorat.ac.th/PNGN/html/picshow/017.html
FAMILY
PHYLLANTHACEAE
ลักษณะเด่น : ไม่มีน้ายาง ใบเดี่ยวเรียงตามกิ่ง คล้าย
ใบประกอบ ดอกออกตามซอกใบ
พืชที่สาคัญ : มะขามป้อม ลูกใต้ใบ หญ้าใต้ใบ ว่าน
ธรณีสาร
พืชที่พบ : ลูกใต้ใบ
Note : สกุล Phyllanthus เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Euphorbiaceae ปัจจุบันแยกออกมาเป็นวงศ์ Phyllanthaceae
ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “phyllon” ใบ และ “anthos” ดอกตามลักษณะดอกที่ออกตามกิ่งที่คล้ายใบ
ลูกใต้ใบ
Phyllanthus amarus
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก ต้นเตี้ย ทุกส่วนมีรสขม
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตัวคล้ายใบประกอบ
ดอก : ดอกออกตามซอกก้านใบและห้อยลง
ผล : ผลกลม ผิวเรียบ รสขม
ประโยชน์
ทั้งต้น : ใช้แก้ไข้
ใบอ่อน : ฤทธิ์ยับยั้ง Hepatitis B มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ
ที่มา: https://sites.google.com/site/salazarslyth
er1970/swn-phvs-sastr/luk-ti-big
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์
• Khaolaor ยาเม็ดลูกใต้ใบ
• ประโยชน์ : แก้ไข้ เจริญอาหาร และปกป้องและบารุงตับ
• ขนาดรับประทาน : ครั้งละ 1-2 เม็ด วันละ 2-3 ครั้ง
ที่มา: http://www.khaolaor.com/taibai/
FAMILY
MELIACEAE
ลักษณะเด่น : เมล็ดใหญ่มีรกหรือปีก
พืชที่สาคัญ : สะเดา สะเดาอินเดีย เลี่ยนดอกม่วง
เลี่ยนดอกขาว
พืชที่พบ : สะเดา
สะเดา
Azadirachta indica A. Juss.
var. siamensis Valeton
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลาต้น : ไม้ยืนต้น เปลือกต้นสีเทา
ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ใบรูปหอก โคนใบมนไม่
เท่ากัน ขอบใบเป็นฟันเลื่อย ยอดอ่อนมีสีน้าตาลแดง
ดอก : ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาวนวล กลีบเลี้ยงโคน
ติดกัน กลีบดอกโคนติดกัน
ผล : รูปทรงรีผิวเรียบ
เมล็ด : เมล็ดเดี่ยวแข็ง รูปรี
ประโยชน์ทางยา
ดอก ยอดอ่อน : แก้พิษโลหิต ขับลม ใช้เป็นอาหารผักได้ดี
ใบ,ผล : ใช้เป็นยาฆ่าแมลง บารุงธาตุ
ที่มา : https://encrypted-tbn1.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQ-
yZQhnZ9WhMm9sYgCY4kosPRfVpsVIlUr3QZDsVUndM5Yphn9
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์
สะเดาไทย หมายเลข 111 สารสกัดสะเดาเข้มข้น
ชนิดน้า ขนาด 100 ซีซี.
ใช้ป้องกันและกาจัดหนอนแมลงศัตรูพืชต่างๆ ได้ดี เช่น
หนอนใยผัก หนอนชอนใบ หนอนกระทู้ หนอนหนัง
เหนียว หนอนหลอดหอม หนอนกัดกินใบพืช หนอน
เจาะยอด หนอนม้วนใบ หนอนแก้วส้ม เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยไฟ ไรแดง
ที่มา : https://www.thaineem.co.th/product/10/สะเดาไทย-หมายเลข-111-สารสกัด
สะเดาเข้มข้นชนิดน้า-ขนาด-100-ซีซี
FAMILY
APOCYNACEAE
ลักษณะเด่น : มีน้ายางสีขาว เป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม
หรืออกรอบกิ่งเป็นวงกลมตามข้อ ดอกออกเป็นช่อกระจุก
ที่ปลายกิ่ง
พืชที่สาคัญ: พญาสัตบรรณ,แพงพวยฝรั่ง,โมกใหญ่,โมก
หลวง,ระย่อมน้อย, ยี่โถ
พืชที่พบ : พญาสัตบรรณ แพงพวยฝรั่ง ยี่โถ ราเพย
พญาสัตบรรณ หรือ ตีนเป็ด
Alstonia scholaris R.Br.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลาต้น : ไม้ยืนต้น มีน้ายางสีขาว
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงเป็นวงรอบกิ่ง แผ่นใบรูปไข่กลับหรือรูปพาย
ดอก : ดอกช่อ ออกตามปลายกิ่ง
ผล : ฝักกลมออกเป็นคู่ มีเมล็ดจานวนมาก
ประโยชน์ทางยา
ใบ : ใช้เป็นยาแก้ปวดหัว แก้หลอดลมอักเสบ ใช้ต้มน้าดื่ม ช่วยขับ
พิษต่าง ๆ
เปลือก : ต้มกินแก้บิด ขับพยาธิไส้เดือน ขับระดู ใช้สมานลาไส้
ยาง : ใช้ทารักษาแผล แผลเน่าเปื่อย ผสมยาสีฟัน ลดอาการ
ปวดฟันที่มา: http://puechkaset.com/%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9B%
E0%B9%87%E0%B8%94/
แพงพวยฝรั่ง
Catharanthus roseus G.Don
ลักษณะเด่นทางพฤกษศาสตร์
ลาต้น : ไม้พุ่ม ลาต้นสีแดงและเขียว มีขนละเอียดปกคลุม
ใบ : ใบเดี่ยว ออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน รูปรี หรือรูปไข่กลับ ออกตามซอกใบ
ดอก : กลีบดอก 5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายกลีบแผ่แบน
ผล : ฝักคู่ รูปกระสวย เมล็ดทรงกระบอก จานวนมาก
ประโยชน์ทางยา
ใบ : บารุงหัวใจ ช่วยย่อยอาหาร
ราก : แก้บิด ขับพยาธิ ใช้ห้ามเลือด รักษามะเร็งในเม็ดเลือด
ทั้งต้น : แก้อาการตัวเหลืองอันเกิดจากพิษสุรา แก้โรคหนองใน ผื่นคัน
และแผลอักเสบ ที่มา: https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Catharanthus_ros
eus_MHNT.BOT.2005.0962.jpg
FAMILY
ASTERACEAE
ลักษณะเด่น : ช่อดอกสวยงาม เด่นสะดุดตา โดยเป็น
ช่อกระจุกแน่น (head) ดอกย่อยมี 2 ชนิด คือ
ray flower และ disc flower
พืชที่สาคัญ : ทานตะวัน ดาวเรือง หญ้าหวาน
พืชที่พบ : หญ้าดอกขาว สาบเสือ
หญ้าดอกขาว
Vernonia cinerea (L.) Less.
ต้น : เป็นพรรณไม้ล้มลุกขนาดเล็ก
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ ขอบใบหยักเป็น
ฟันเลื่อย ใบเป็นรูปไข่หรือรูปไข่กลับ
ดอก : ดอกเป็นช่อกระจุกแน่นบริเวณ
ปลายยอดแบบ head
(ที่มา : https://medthai.com/หญ้าดอกขาว/)
ประโยชน์ทางยาที่สาคัญ
ใช้ส่วนของลาต้น ใบ ดอกตูม ช่วยลด
การสูบบุหรี่ เพราะมีสารไนเตรท ซึ่งมีฤทธิ์ทา
ให้ประสาท รับรสบริเวณลิ้นรู้สึกชา ไม่รับรู้
รสชาติ ทาให้ไม่รู้สึกอยากบุหรี่ และสามารถใช้
ทดแทนสารนิโคตินในร่างกายของผู้ที่ติดบุหรี่ได้
(ที่มา : https://www.thairath.co.th/content/1031 :
http://www.smileclinic.org/shownews.asp?topicID=897)
สาบเสือ
Eupatorium odoratum L.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้น : ไม้ล้มลุก
ใบ : ใบเดี่ยว ออกจากลาต้นแบบตรงกันข้าม ใบทรงรูป
สามเหลี่ยม ขอบหยัก เมื่อนาใบมาขยี้จะมีกลิ่นแรงคล้าย
กลิ่นสาบเสือ
ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกแน่น มีสีขาวหรือสีฟ้าอมม่วง
(ที่มา : http://www.คลังสมุนไพร.com/2017/08/สาบเสือ)
ประโยชน์ทางยาที่สาคัญ
ใช้ส่วนของใบกาจัดแมลงใน
แปลงเกษตร เช่น หนอนกระทู้
ด้วง และเพลี้ยอ่อน เป็นต้น
(ที่มา : https://www.nanagarden.com/tag/สาบเสือ)
FAMILY
COMBRETACEAE
ลักษณะเด่น : ผลเป็นแบบ drupe อาจมีครีบ
พืชที่สาคัญ : เล็บมือนาง สะแกนา หูกวาง สมอ
ไทย สมอพิเภก
พืชที่พบ : เล็บมือนาง
เล็บมือนาง
Quisqualis indica Linn.
ลักษณะเด่นทางพฤกษศาสตร์
ต้น : ไม้พุ่มรอเลื้อย
ใบ : ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ใบรูปไข่แกมขอบขนาน
ดอก : ช่อดอกออกที่ปลายกิ่งหรือตามซอกใบ กลีบ
ดอกโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดรูปทรงกระบอกยาว
ผล : เป็นแบบ Drupe เมล็ดมีครีบ
ประโยชน์ทางยา
เนื้อในเมล็ด : ใช้เป็นยาขับพยาธิไส้เดือน
ที่มา : http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/searc
h_detail.asp?botanic_id=1115
ที่มา : https://data.addrun.org/plant/archives/199-combretum-
indicum-l-defilipp
FAMILY
PASSIFLORACEAE
ลักษณะเด่น : เป็นพืชไม้เลื้อยพัน มีมือเกาะออกตาม
ง่ามใบ ดอกมีกระบังรอบเป็นเส้นฝอยแผ่ออกเป็นรัศมี มี
ก้านชูร่วมของเกสรเพศผู้และก้านเกสรเพศเมีย
พืชที่สาคัญ : เสาวรส กระทกรก
พืชที่พบ : กระทกรก
กระทกรก
Passiflora foetida L.
ลักษณะเด่นทางพฤกษศาสตร์
ใบ : ใบเดี่ยว คล้ายรูปหัวใจ ปลายใบแหลม แยกเป็น 3 แฉก มีขนสั้น ๆ
ดอก : ออกตามซอกใบ มีกะบังรอบเป็นเส้นฝอยสีขาว โคนสีม่วงเรียงกัน
เป็นรัศมี
ผล : กลีบเลี้ยงเจริญเป็นร่างแหคล้ายมีขนคลุมผล เรียกว่า “รก”
*ทุกส่วนของพืชนี้เมื่อขยี้หรือทาให้ช้า จะมีกลิ่นเหม็นเขียว *
สรรพคุณทางยาที่สาคัญ
เนื้อไม้ : ใช้ถอนพิษเบื่อเมาได้ทุกชนิด
ใบ : นามาคั้นน้าดื่มเป็นยาเบื่อ เพื่อขับพยาธิ
ที่มา : https://www.samunpri.com/เถาสิงโต-กะทกรก/
FAMILY
LEGUMINOSAE
(FABACEAE)
ลักษณะเด่น : ผลแบบ legume หรือ loment
พืชที่สาคัญ : กระถิน ไมยราบ จามจุรี คูน กัลปพฤกษ์
สีเสียดเหนือ อัญชัน กระถินณรงค์ ประดู่
พืชที่พบ : ก้ามปู อัญชัน ประดู่ กระถินณรงค์
กระถินณรงค์
Acacia auriculaeformis A. Cunn. ex Benth.
Subfamily : Mimosoideae
ลักษณะเด่นทางพฤกษศาสตร์
ใบ : ใบประกอบเแบบขนนกสองชั้น โค้งเป็นรูปเคียว
ดอก : ดอกช่อคล้ายหางกระรอกตามง่ามใบ
ผล : เป็นฝัก
เมล็ด : กลมแบนขนาดเล็ก
*** กระถินณรงค์ เป็นต้นไม้ประจาคณะเภสัช
ศาสตร์ มข.
ที่มา : https://sites.google.com/site/swnphvssastrsanpa
ก้ามปู, ฉาฉา, จามจุรี
Samanea saman (Jacq.) Merr.
Subfamily : Mimosoideae
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลาตัน : ไม้ยืนต้น ลาต้นสูงใหญ่
ใบ : ใบประกอบ ใบย่อยเป็นรูปรี ปลายใบมนมีติ่งแหลม แผ่น
ใบด้านล่างมีขนละเอียด
ดอก : ดอกช่อ มีเกสรตัวผู้ยาว
ผล : ผลแบบ legume
ประโยชน์ทางยา
เปลือกต้น : รักษาอาการท้องร่วง แก้ริดสีดวงทวาร
ที่มา: https://plus.google.com/+chalermponmayakarn/posts/ga17qfYko56
ที่มา : http://puechkaset.com/ต้นจามจุรี/
ที่มา : https://prayod.com/จามจุรี/
ต
FAMILY
RUBIACEAE
ลักษณะเด่น : คือมีหูใบระหว่างก้านใบที่อยู่ตรงข้าม
(interpetiolar stipule)
พืชที่สาคัญ : ต้นกาแฟ ต้นควินิน
พืชที่พบ : ตดหมูตดหมา เข็ม
ตดหมูตดหมา , ย่านพาโหม
Paederia linearis Hook.f.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้น : เป็นไม้เถาขนาดเล็ก
ราก: มีรากสะสมอาหารใต้ดิน
ใบ: ใบเดี่ยว รูปหอก ขอบใบขนาน มีหูใบระหว่างก้าน
ใบที่อยู่ตรงข้าม
ดอก: ดอกออกเป็นช่อ ตามก้านใบ ก้านช่อดอกสั้น
ผล: ผลแห้งกลมรูปไข่
ลาต้นและใบมีกลิ่นเหม็นสมชื่อ เนื่องจากมีสาร Methyl
Mercaptan คล้ายๆกลิ่นเหม็นเขียว
ที่มา: zappnuar.com
FAMILY
MENISPERMACEAE
ลักษณะเด่นของวงศ์ : ไม้เลื้อย ไม่มีหูใบ ใบเป็นรูป
หัวใจ เส้นใบออกจากจุดเดียวกันที่โคนใบ ผลเป็น
drupe
พืชที่สาคัญ : บอระเพ็ด สบู่เลือด ชิงช้าชาลี
พืชที่พบ : ชิงช้าชาลี
ชิงช้าชาลี
Tinospora baenzigeri Forman
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
เป็นไม้เถาเลื้อย รสขมทั้งต้น
เถา : มีปุ่มปมเล็กน้อย
ใบ : ใบเดี่ยวรูปหัวใจ เรียงสลับ ขอบใบเรียบ
ดอก : ออกเป็นช่อ ไม่มีกลีบดอก
ประโยชน์ทางยาที่สาคัญ
เถา : แก้พิษฝีดาษ
ใบ : โรคมะเร็ง ใช้ฆ่าพยาธิ ถอนพิษ
ดอก : ขับพยาธิในท้อง
ที่มา : http://www.pharmacy.mahidol.ac.th
ต้นชิงช้าชาลี ต้นบอระเพ็ด
ที่มา https://medthai.com/บอระเพ็ด
เอกสารอ้างอิง- ก่องกานดา ชยามฤต. (2548). ลักษณะประจาวงศ์พรรณไม้. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2561. จาก :
http://www.dnp.go.th/botany/PDF/publications/family_characters1.pdf
- ข้อมูลพันธุ์ไม้ ระบบฐานข้อมูลเกษตรดิจิทัล. (2017). เล็บมือนาง Combretum indicum (L.) DeFilipps สืบค้นเมื่อวันที่ 28
เมษายน 2561 จาก https://data.addrun.org/plant/archives/199-combretum-indicum-l-defilipps
คณะผู้จัดทาโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ.กระทกรก(2555). สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน, 2561,
จาก:http://www2.phrae.mju.ac.th/cms/rspg/index.php/2014-07-08-09-10-44/46-2014-07-08-06-51-41
- สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป.). พืชกินได้ในป่าสะแกราช. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน, 2561, จาก:
http://www.tistr.or.th/sakaerat/plant%20list/057ตดหมูตดหมา.pdf
สมุนไพรดอทคอม. (2559).ชิงช้าชาลี. สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน, 2561, จาก : https://www.samunpri.com/ชิงช้าชาลี/
- สานักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (ม.ป.ป.). ลักษณะเด่นประจาวงศ์.
สืบค้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2561. จาก : http://www.rspg.or.th/botanical_school/pdf/ลักษณะเด่นประจาวงศ์.pdf
สานักงานหอพรรณไม้.(2559). ชบา สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน, 2561,
จาก:http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?wordsLinkno=1688&words=%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B2&typeword=word
- องค์การสวนพฤกษศาสตร์. (2015). เล็บมือนาง. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2561. จาก :
http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=1115
- Chantaranothai, P. (2007). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 473-507.
- Gerald (Gerry) Carr. (ม.ป.ป.) CombreEuphorbiaceae (Phyllanthus). taceae. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2561 จาก :
http://www.botany.hawaii.edu/faculty/carr/combret.htm
ขอขอบคุณ
อาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.ดร. วริมา วงศ์พาณิชย์ ผศ.ดร. นาฏศจี นวลแก้ว
รายชื่อสมาชิก
1.นางสาวศรุตา จันทร์หอม รหัสประจาตัว 593150030-9
2.นางสาวสุธิมา ภูอาบอ่อน รหัสประจาตัว 593150034-1
3.นางสาวกฤตยา สุธาวา รหัสประจาตัว 593150229-6
4.นางสาวนัฐริกา ผาคา รหัสประจาตัว 593150242-4
5.นางสาวนัทชกร ชินคาหาญ รหัสประจาตัว 593150243-2
6.นายพสธร อ้นอิ่ม รหัสประจาตัว 593150245-8
7.นางสาวพิรุฬห์ขวัญ พลโรม รหัสประจาตัว 593150246-6
8.นางสาวรัชฎา ปักสังคเนย์ รหัสประจาตัว 593150249-0
9.นางสาววิรัญญา เจริญ รหัสประจาตัว 593150252-1
10.นายศุภณัฏฐ์ ภิญโญนิติพงศ์ รหัสประจาตัว 593150253–9
11.นางสาวอภิญญา โพธิ์ยั่งยืน รหัสประจาตัว 593150254-7
THANK YOU

More Related Content

Featured

AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 

Featured (20)

AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 

KUM SRI TARN

  • 1.
  • 2. 1. ทราบสมุนไพรที่มีฤทธิ์ทางยา 2. ทราบสัณฐานวิทยาของพืชและ การจาแนกพืชจากลักษณะเด่น 3. สามารถระบุวงศ์ของพืชที่ศึกษา 4. ทราบฤทธิ์ทางยาและการใช้ประโยชน์ ของพืชที่ศึกษา
  • 3. ตึกอธิการบดี และ อุทยานเทคโนโลยีการเกษตร บึงสีฐาน และ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น(ศึกษาศาสตร์)
  • 8. Dicotyledons MAGNOLIADAE Annonaceae น้อยหน่า Magnoliales Piperaceae พริกไทย ช้าพลู Piperales Ericales Lecythidaceae สาละลังกา กระโดน Malvales Dipterocarpaceae พะยอม Flacourtiaceae กระเบา Rosales Leguminosae ชงโค แดง ประดู่ กัลปพฤกษ์ ทองกวาว จามจุรี มะขามเทศ Myrtales Lythraceae ตะแบก เสลา Lamiales Lamiaceae สัก สาระแหน่ Verbenaceae กรรณิการ์ Sapindales Anacardiaceae มะม่วง มะตูมซาอุ Meliaceae เอกมหาชัย HAMAMELIDAE CARYOPHYLLIDAE ROSIDAEDILLENIIDAE ASTERIDAE Nymphaeaceae บัวสาย Nymphaeales Menispermaceae ย่านาง Ranunculales Moraceae ขนุน หม่อน โพธิ์ ข่อย Urticales Portulacaceae โสมไทย Amaranthaceae ผักโขม Caryophyllales Violales Cucurbitaceae ตาลึง Caricaceae มะละกอ Capparales Moringaceae มะรุม Scrophulariales Bignoniaceae ปีป แคหางค่าง แคนา Acanthaceae รางจืด Gentianales Loganiaceae กันเกรา Solanales Solanaceae พริก Convolvulaceae ใบระบาด Asterales Asteraceae กะเม็ง Umbellales Umbelliferae คื่นไช่ Euphorbiales Euphorbiaceae ละหุ่ง นานมราชสีห์ Rhamnales Rhamnaceae ผักก้านตง
  • 9. บัญชียาจากสมุนไพร 1. ยาแผนไทย 2. ยาพัฒนาจากสมุนไพร - ว่านหางจระเข้ (2.3 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง) - รางจืด (2.4 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนือ และกระดูก) - ช้าพลู 1.1 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต 1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร 1.3 ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์นรีเวชวิทยา 1.5 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ 1.6 ยาบารุงโลหิต 1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนือและกระดูก 1.8 ยาบารุงธาตุ ปรับธาตุ ที่มา: http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th/medicine/herbal/book#term-630
  • 10. ทั้งต้น จะมีนามันหอมระเหยเป็นหลัก นามาใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง ลดการบีบตัวของลาไส้ ยาชาเฉพาะที่ (local anesthetic) ขับลม และสามารถนามาต้มเพื่อดื่มเป็นยาลดระดับ นาตาลในเลือดได้ดี ใบ รสเผ็ดร้อน เป็นยาขับลม ช่วยเจริญอาหาร ทาให้เลือดลมซ่าน ขับเสมหะ แก้เบาหวาน ราก รสร้อน ขับเสมหะ บารุงธาตุ ขับลมในลาไส้ ผล รสเผ็ดร้อน แก้เสมหะที่คอ ทาให้เสมหะแห้ง ขับลมในลาไส้ ช่วยย่อยอาหาร ประโยชน์ทางยา ลาต้นเลือยไปตามพืนดินสีเขียวกลม มีข้อเป็นปม ผิวใบเป็นมันลื่น ใบมันมีเส้นแขนงใบ 7 เส้น ดอกขนาดเล็กอัดเรียงกันเป็นช่อรูปทรงกระบอก ลักษณะเด่น ที่มา: http://www.phargarden.com/main. php?action=viewpage&pid=221
  • 11. การแยกสารบริสุทธิ์จากสารสกัดใบช้าพลูด้วยปิโตรเลียมอีเทอร์ ได้สารประกอบ Hydrocinnamic acid และ β- sitosterol สารสาคัญ ภาพโครงสร้างของ hydrocinnamic acid (ที่มา:https://www.sigmaaldrich.com/catalog/product/al drich/135232?lang=en&region=TH) ภาพโครงสร้างของ β- sitosterol (ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Beta-Sitosterol) ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=221
  • 12. ยาเบญจกูล ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ บารุงธาตุ แก้ธาตุให้ปกติ ข้อควรระวัง - ไม่ควรรับประทานติดต่อกันนานเกิน 7 วัน - ไม่ควรใช้ยานีในฤดูร้อน เนื่องจากอาจทาให้ไฟธาตุกาเริบ ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตังครรภ์ - ห้ามใช้ในผู้มีไข้ - ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 12 ปี บัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นส่วนประกอบของตารับ - ยาเบญจกูล - ยาหอมนวโกฐ - ยาหอมอินทจักร์ - ยาประสะกานพลู - ยามันทธาตุยาปลูกไฟธาตุ - ยาเลือดงาม - ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน - ยาบารุงโลหิต - ยาตรีพิกัด ผลิตภัณฑ์ยาแคปซูลเบญจกูล (ที่มา: https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe/assets/ images/recipes/d234fb91979f5b340595a8d439c3e95b.jpg) ดอกดีปลี ที่มา: https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe/index.php/data/detail/8.
  • 13. ใบเดี่ยว ขอบใบมีหนาม เนือใบหนาอวบนามาก ภายในเนือใบมีวุ้นใสเป็นเมือก เมื่อกรีดลงไปบริเวณโคนใบจะมี น้ายางใสสีเหลืองไหลออกมา ลักษณะเด่น วุ้นใสจากใบสด: รสจืดเย็น รักษาแผลไฟไหม้นาร้อนลวก รักษาโรคกระเพาะอาหาร บารุงร่างกาย แก้ร้อนใน ประโยชน์ทางยา ราก รสขมขื่น กินถ่ายโรคหนองใน แก้มุตกิด ชารั่ว น้ายางสีเหลืองจากใบ เคี่ยวให้แห้งเรียกว่า “ ยาดา “ มีรสเบื่อ ใช้กินเป็นยาถ่ายยาระบายอย่างแรง ระคายเคืองต่อผิวหนัง ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=281
  • 14. ยาดา ที่มา: http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=112 ลักษณะภายนอกของเครื่องยา ยาดาได้จากการเคี่ยวนายางสีเหลืองจากใบว่านหางจระเข้ เป็นยางที่แข็งเป็นก้อน มีสีแดงน้าตาลจนถึงดา เปราะ ผิวมัน ทึบแสง มีรสขมเหม็นเบื่อ สรรพคุณ แก้โรคท้องผูก โดยกระตุ้นลาไส้ และทางเดินอาหารให้บีบตัว องค์ประกอบทางเคมี สารกลุ่ม Antraquinone เช่น Aloin, Barbaloin (aloe-emodin) ออกฤทธิ์เป็น ยาระบาย ยาถ่าย ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=281
  • 16. ตัวยาสาคัญ: - ชนิดเจล ยาที่มีปริมาณของวุ้นว่านหางจระเข้ ไม่น้อยกว่า 70% w/w - ชนิดโลชันเตรียมสด ยาที่มีปริมาณของวุ้นว่านหางจระเข้ ไม่น้อยกว่า 60% w/w ข้อควรระวัง: ไม่ควรใช้ในผู้ที่มีประวัติแพ้ว่านหางจระเข้ หรือผลิตภัณฑ์ที่ ผสมว่านหางจระเข้ ข้อมูลเพิ่มเติม: ยาโลชันเตรียมสด มีอายุการเก็บ 7 วัน เก็บยาไว้ในตู้เย็น (อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส) บัญชียาหลักแห่งชาติ
  • 17. ใบ ราก และเถา : รสจืดเย็น ตาคันหรือเอารากฝนกับนาหรือต้มเอานายาดื่มถอนพิษ แก้ไข้ ถอนพิษยา เบื่อเมา แก้ร้อนในกระหายนา แก้พิษร้อนต่างๆ ราก : รสจืดเย็น แก้อักเสบ แก้ปวดบวม แก้เมาค้าง แก้อาการปวดหัวมึนหัวอันเนื่องมาจากพิษสุรา ประโยชน์ทางยา ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=102 ใบเดี่ยวออกตรงข้าม, เส้นใบหลักออกจากโคนใบ 3 - 5 เส้น, ข้อปูดนูนชัดเจน ลักษณะเด่น Articulated joint stem
  • 18. 1. Polyphenol ได้แก่ Phenolic acid ซึ่งมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ 2. Flavonoid ได้แก่ Apigenin และ Apigenin glucoside โดยเฉพาะ Apigenin ซึ่งเป็นสารสาคัญใน รางจืดที่สามารถยับยั้งพิษของสารหนู สารสาคัญ ที่มา: http://www.ttmed.psu.ac.th/blog.php?p=68. ภาพโครงสร้างของ phenolic acid และ flavonoid ในรางจืด (ที่มา: http://www.foodnetworksolution.com/uploaded/phenolic%20compond.bmp)
  • 19. ตัวยาสาคัญ: ผงใบรางจืดโตเต็มที่ รูปแบบ/ข้อบ่งใช้: - ยาชง: ถอนพิษเบื่อเมา แก้ไข้ - แคปซูล: แก้ไข้ แก้ร้อนใน ข้อควรระวัง: - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะนาตาลในเลือดต่า - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องใช้ยาอื่นอย่างต่อเนื่องเพราะยารางจืดอาจเร่ง การขับยาเหล่านันออกจากร่างกาย ทาให้ประสิทธิผลของยาลดลง ข้อมูลเพิ่มเติมอื่นๆ: ในทางการแพทย์แผนไทย จะใช้ใบหรือราก ตาและ คันนาซาวข้าว รับประทานแก้พิษผิดสาแดง บัญชียาหลักแห่งชาติ ที่มา: http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th/medicine/herbal/list/653.
  • 20. บัญชียาจากสมุนไพร 1. ยาแผนไทย 2. ยาพัฒนาจากสมุนไพร
  • 21. No. Family Thai name English name Scientific name 1 Arecaceae หมาก Areca palm Areca catechu L. 2 Liliaceae ว่านหางจระเข้ Curacao Aloe Aloe vera (L.) Burm.f. 3 Agaveceae ซ่อนกลิ่น Tuberose Polianthes tuberose Linn. 4 Cyperaceae หญ้าแห้วหมู Nut grass, Coco grass Cyperus rotundus Linn. 5 Orchidaceae กล้วยไม้ (เอืองฟ้ามุ่ย) The Blue Vanda Vanda coerulea Griff. ex Lindl. 6 Orchidaceae วานิลลา Vanilla Vanilla planifolia Andr. 7 Musaceae กล้วยนาว้า Banana, Cultivated banana Musa sapientum L. 8 Pandanaceae ใบเตย Pandanus Palm Pandanus amaryllifolius Roxb. 9 Araceae บุก Elephant yam, Stanley's water-tub Amorphophallus paeoniifolius (Dennst.) Nicolson. 10 Annonaceae น้อยหน่า Sugar Apple Annona squamosa Linn.
  • 22. No. Family Thai name English name Scientific name 11 Piperaceae ช้าพลู Wildbetal Leafbush Piper sarmentosum Roxb. 12 Piperaceae พริกไท Black Pepper Piper nigrum Linn. 13 Nymphaeaceae บัวสาย Water lily Nymphaea lotus L. 14 Menispermaceae ย่านาง Bamboo grass Tiliacora triandra (Colebr.) Diels 15 Moraceae ขนุน Jackfruit Tree Artocarpus heterophyllus Lam. 16 Moraceae หม่อน Mulberry tree, White Mulberry Morus alba Linn. 17 Moraceae โพธิ์ Sacred fig Ficus religiosa L. 18 Moraceae ข่อย Siamese rough bush, Tooth brush tree Streblus asper Lour. 19 Portulacaceae โสมไทย Fame Flower Talinum paniculatum Gaertn. 20 Amaranthaceae ผักโขม Amaranth Amaranthus viridis L.
  • 23. No. Family Thai name English name Scientific name 21 Lecythidaceae สาละลังกา Cannon ball tree Couroupita guianensis Aubl. 22 Lecythidaceae กระโดน Tummy-wood, Patana oak Careya sphaerica Roxb. 23 Dipterocarpaceae พะยอม Shorea, White meranti Shorea roxburghii G.Don 24 Flacourtiaceae กระเบา Chaulmoogra Hydnocarpus antelminthica Pierre ex Laness 25 Cucurbitaceae ตาลึง Ivy Gourd Coccinia grandis (L.) Voigt 26 Caricaceae มะละกอ Papaya Carica papaya L. 27 Moringaceae มะรุม Moringa Moringa oleifera Lam. 28 Leguminosae ชงโค Purple Orchid Tree, Hong Kong Orchid Tree, Purple Bauhinia Bauhinia purpurea L. 29 Leguminosae แดง Iron wood, Irul, Jamba, Pyinkado Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub.
  • 24. No. Family Thai name English name Scientific name 30 Leguminosae ประดู่ Burma Padauk, Narra, Angsana Norra, Malay Padauk, Burmese Rosewood, Andaman Redwood, Amboyna Wood, Indian rosewood Pterocarpus indicus Willd. 31 Leguminosae กัลปพฤกษ์ Wishing Tree, Pink Shower, Pink cassia, Pink and White Shower Tree Cassia bakeriana Craib 32 Leguminosae ทองกวาว Bastard teak, Bengal kino, Kino tree, Flame of the forest Butea monosperma (Lam.) Taub. 33 Leguminosae จามจุรี East indian walnut, Rain tree Samanea saman (Jacq.) Merr. 34 Leguminosae มะขามเทศ Manila tamarind Pithecellobium dulce (Roxb.) Benth. 35 Lythraceae ตะแบก Thai crape myrtle Lagerstroemia floribunda Jack. 36 Lythraceae เสลา Thai Bungor Lagerstroemia loudoni Teijsm. & Binn.
  • 25. No. Family Thai name English name Scientific name 37 Anacardiaceae มะม่วง Mango Mangifera indica L. 38 Anacardiaceae มะตูมซาอุ Brazilian Pepper-tree Schinus terebinthifolius 39 Meliaceae เอกมหาชัย Paradise Tree Simaroub gauca 40 Rhamnaceae ผักก้านตง - Colubrina asiatica (L.) Brongn 41 Umbelliferae คื่นไช่ Celery Apium graveolens L 42 Euphorbiaceae ละหุ่ง Castor Ricinus communis L. 43 Euphorbiaceae นานมราชสีห์ Garden spurge Euphorbia hirta L. 44 Lamiaceae สัก Teak Tectona grandis L.f. 45 Lamiaceae สาระแหน่ Kitchen Mint Metha cordifolia Opiz. 46 Verbenaceae กรรณิการ์ Night Blooming Jasmine Nyctanthes arbor-tristis L. 47 Bignoniaceae ปีป Cork Tree, Indian Cork Millingtonia hortensis L. 48 Bignoniaceae แคหางค่าง Karen wood Fernandoa adenophylla (Wall.ex G.Don) Steenis
  • 26. No. Family Thai name English name Scientific name 49 Bignoniaceae แคนา - Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. 50 Acanthaceae รางจืด Laurel clockvine, Blue trumphet vine Thunbergia laurifolia Lindl. 51 Loganiaceae กันเกรา Anan, Tembusu Fagraea fragrans Roxb. 52 Solaniaceae พริก Chili, Chilli Pepper Capsicum frutescens L. 53 Convolvulaceae ใบระบาด Baby Wood Rose, Elephant Climber, Elephant Creeper, Elephant Creeper Silver, Elephant Vine, Silver Morning, Silver Morning Glory, Morning Glory, Wood Rose, Woolly Morning Glory Argyreia nervosa (Burm. f.) Bojer 54 Asteraceae กะเม็ง False daisy, White head, Yerbadetajo herb Eclipta prostrata (L.) L.
  • 27.
  • 28. นายกฤษฎาวุฒิ สายจันดา 593150052-9 นายคชรัตน์ หวังสุดดี 593150055-3 นางสาวชลัดดา บุญศิริ 593150061-8 นางสาวปัทมกานต์ เกษทองมา 593150080-4 นางสาวปิยาอร สาเร็จผล 593150083-8 นางสาวศศินา ศิริวัฒนเมธานนท์ 593150103-8 นายกษิดิ์เดช โพธิ์ทิพย์ 593150171-1 นายศุภโชติ ธนสารกุล 593150194-9 นางสาวปวีณ์สุดา ชูสังข์ 593150216-5 นายเศรษฐพงศ์ ณ หนองคาย 593150220-4 นางสาวจันทิวา สีงาม 593150221-2
  • 29. Saluda. (ม.ป.ป.). ยาชงสมุนไพร ผสมช้าพลู. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก http://www.saludaplus.com/P13/Healthy Product/215/ยาชงสมุนไพรผสมช้าพลู ฐานข้อมูลพันธุ์ไม้อุทยานหลวงราชพฤกษ์. (ม.ป.ป.). มะขามเทศ. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561 จาก http://www.royalparkrajapruek.org/Plants ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะ เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). รางจืด. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=102. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ยาเบญจกูล. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe/index.php/data/detail/8. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. “ย่านาง”. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561. จาก www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=148. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). ช้าพลู. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=221 บัญชียาหลักแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). ยาถอนพิษเบื่อเมา. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th/medicine/herbal/list/653.
  • 30. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2561, (2561, 19 มกราคม ). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 14 ง, หน้า 224-272. พิชามญชุ์ อัครยศพงศ์. (2554). รางจืดแก้พิษ. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก http://www.ttmed.psu.ac.th/blog.php?p=68. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ยาดา. http://www.thaicrudedrug.com ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย ว่านหางจระเข้. http://www.phargarden.com ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศุภชัย ติยวรนันท์. (ม.ป.ป.). พืชสมุนไพรที่มีใบเลียงคู่ ตอนที่ 1 (หน้า 29). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ศุภชัย ติยวรนันท์. (ม.ป.ป.). พืชสมุนไพรที่มีใบเลียงคู่ ตอนที่ 1. คณะเภสัชศาสตร์ สมุนไพรดอทคอม. (ม.ป.ป.). ช้าพลู. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จากhttps://www.samunpri.com/ อุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). แหล่งที่มา : http://www.phargarden.com/main.php?action =viewpage &pid=281. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน, 2018.
  • 31. Field Trip บึงสีฐาน และ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์)
  • 32.
  • 38. REVIEW PLANTS วงศ์ ชื่อทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์ AMARANTHACEAE บานไม่รู้โรย Comphrena globosa ANNONACEAE การเวก Artabotrys hexapetalus ANACARDIACEAE มะม่วงหิมพานต์ Anacardium occidentale ANTERACEAE หญ้าดอกขาว Vernonia cinerea สาบเสือ Chromolaena odorata ASTERACEAE กระดุมทอง Melampodium divaricatum ARACEAE กระดาดขาว Capparis micracantha APOCYNACEAE แพงพวยฝรั่ง Capparis micracantha ลีลาวดี Plumeria spp. ยี่โถ Nerium oleander ราเพย Cascabela thevetia หิรัญญิการ์ Beaumontia grandiflora พญาสัตบรรณ(ตีนเป็ด) Alstonia scholaris APIACEAE ผักชีลาว Anethum graveolens
  • 39. วงศ์ ชื่อทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์ BIGNONIACEAE ปีบ Millingtonia hortensis CASUARINACEAE สนประดิพัทธ์ Casuarina junghuhniana COMBRETACEAE หูกวาง Terminalia catappa เล็บมือนาง Quisqualis indica CUCURBUTACEAE ตาลึง Coccinia grandis DIPTEROCARPACEAE ยางนา Dipterocarpus alatus พยอม Shorea roxbur DRACAENACEAE ลิ้นมังกร Sansevieria trifasciata FLACOURTICCEAE กระเบา Hydnocarpus anthelminthicus LECYTHIODACEAE กระโดน Careya arborea LEGUMINOSAE ประดู่ Pterocarpus macrocarpus กระถินณรงค์ Acacia auriculiformis ฉาฉา Albiza saman กัลปพฤกษ์ Cassia bakeriana อัญชัน Clitoria ternatea
  • 40. วงศ์ ชื่อทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์ LEGUMINOSAE ขี้เหล็ก Senna siamea ทองกวาว Butea monosperma ชะอม Senegalia pennata คูน Cassia fistula มะขามเทศ Pithecellobium dulce แคฝรั่ง Gliricidia sepium LYTHRACEAE อินทนิลน้า Lagerstroemia speciosa เสลา Lagerstroemia loudonii ตะแบก Lagerstroemia floribunda MALVACEAE ชบา Hibiscus syriacus MELIACEAE สะเดา Azadirachta indica MENISPERMACEAE ชิงช้าชาลี Tinospora baenzigeri ย่านาง Tiliacora triandra MORACEAE ข่อย Streblus asper MUNTINGIACEAE ตะขบ Muntingia calabura MUSACEAE กล้วย Musa acumina
  • 41. วงศ์ ชื่อทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์ NYCTAGINACEAE เฟื่องฟ้า Bougainvillea spp. PASSIFLORACEAE กระทกรก Passiflora foetida L. RHAMNACEAE พุทธา Zizyphus mauritiana Lam. RUBIACEAE เข็ม Ixora lobbii Loudon ตดหมูตดหมา Paederia foetida SCROPHULARIACEAE นีออน Leucophyllum frutescens SIMAROUBACEAE ราชดัด Brucea javanica VERBENTACEAE สัก Tectona grandis
  • 44. เขตบ้านพัก - แพงพวยฝรั่ง - หญ้าดอกขาว - สาบเสือ - เล็บมือนาง - กะทกรก - กระถินณรงค์
  • 45.
  • 46. FAMILY CASUARINACEAE ลักษณะเด่น : ไม้ยืนต้น เรือนยอดรูปพีระมิด กิ่งก้านขนาดเล็ก เปลือกแตกออกเป็นริ้ว ใบเดี่ยว ลดรูปเป็น scale leaf เรียง เวียนรอบข้อ ข้อละ 8-10 ใบ รูปร่างเรียวยาว ต่อกันเป็นปล้อง ผลขนาดเล็กคล้ายลูกทุเรียน แข็ง แห้งแตก พืชที่สาคัญ : สนทะเล สนประดิพัทธ์ พืชที่พบ : สนประดิพัทธ์
  • 47. สนประดิพัทธ์ Casuarina junghuhniana Miq. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น : ไม้ยืนต้น เรือนยอดรูปพีระมิด กิ่งก้านขนาดเล็ก เปลือกแตกออกเป็นริ้ว ใบ : ใบเดี่ยว ลดรูปเป็น scale leaf เรียงเวียนรอบข้อ ข้อละ 8-10 ใบ รูปร่างเรียวยาว ต่อกัน เป็นปล้องๆ ผล : ขนาดเล็กคล้ายลูกทุเรียน แข็ง แห้งแตก สรรพคุณ ใบ : นามาชงเป็นยาขับปัสสาวะ หรือต้มกินแก้ปวดท้อง และแก้อาการจุกเสียด เปลือก : ปรุงเป็นยาแก้บิด แก้โรคท้องร่วง สมานแผล ใช้อาบแก้โรคเหน็บชา แต่ถ้าใช้ในจานวนที่มากจะมีฤทธิ์ไปบีบมดลูก ทาให้ประจาเดือนมาปกติ ที่มา : http://www.ngnkorat.ac.th/PNGN/html/picshow/017.html
  • 48. FAMILY PHYLLANTHACEAE ลักษณะเด่น : ไม่มีน้ายาง ใบเดี่ยวเรียงตามกิ่ง คล้าย ใบประกอบ ดอกออกตามซอกใบ พืชที่สาคัญ : มะขามป้อม ลูกใต้ใบ หญ้าใต้ใบ ว่าน ธรณีสาร พืชที่พบ : ลูกใต้ใบ Note : สกุล Phyllanthus เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Euphorbiaceae ปัจจุบันแยกออกมาเป็นวงศ์ Phyllanthaceae ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “phyllon” ใบ และ “anthos” ดอกตามลักษณะดอกที่ออกตามกิ่งที่คล้ายใบ
  • 49. ลูกใต้ใบ Phyllanthus amarus ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก ต้นเตี้ย ทุกส่วนมีรสขม ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตัวคล้ายใบประกอบ ดอก : ดอกออกตามซอกก้านใบและห้อยลง ผล : ผลกลม ผิวเรียบ รสขม ประโยชน์ ทั้งต้น : ใช้แก้ไข้ ใบอ่อน : ฤทธิ์ยับยั้ง Hepatitis B มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ที่มา: https://sites.google.com/site/salazarslyth er1970/swn-phvs-sastr/luk-ti-big
  • 50. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ • Khaolaor ยาเม็ดลูกใต้ใบ • ประโยชน์ : แก้ไข้ เจริญอาหาร และปกป้องและบารุงตับ • ขนาดรับประทาน : ครั้งละ 1-2 เม็ด วันละ 2-3 ครั้ง ที่มา: http://www.khaolaor.com/taibai/
  • 51. FAMILY MELIACEAE ลักษณะเด่น : เมล็ดใหญ่มีรกหรือปีก พืชที่สาคัญ : สะเดา สะเดาอินเดีย เลี่ยนดอกม่วง เลี่ยนดอกขาว พืชที่พบ : สะเดา
  • 52. สะเดา Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลาต้น : ไม้ยืนต้น เปลือกต้นสีเทา ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ใบรูปหอก โคนใบมนไม่ เท่ากัน ขอบใบเป็นฟันเลื่อย ยอดอ่อนมีสีน้าตาลแดง ดอก : ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาวนวล กลีบเลี้ยงโคน ติดกัน กลีบดอกโคนติดกัน ผล : รูปทรงรีผิวเรียบ เมล็ด : เมล็ดเดี่ยวแข็ง รูปรี ประโยชน์ทางยา ดอก ยอดอ่อน : แก้พิษโลหิต ขับลม ใช้เป็นอาหารผักได้ดี ใบ,ผล : ใช้เป็นยาฆ่าแมลง บารุงธาตุ ที่มา : https://encrypted-tbn1.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQ- yZQhnZ9WhMm9sYgCY4kosPRfVpsVIlUr3QZDsVUndM5Yphn9
  • 53. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ สะเดาไทย หมายเลข 111 สารสกัดสะเดาเข้มข้น ชนิดน้า ขนาด 100 ซีซี. ใช้ป้องกันและกาจัดหนอนแมลงศัตรูพืชต่างๆ ได้ดี เช่น หนอนใยผัก หนอนชอนใบ หนอนกระทู้ หนอนหนัง เหนียว หนอนหลอดหอม หนอนกัดกินใบพืช หนอน เจาะยอด หนอนม้วนใบ หนอนแก้วส้ม เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ ไรแดง ที่มา : https://www.thaineem.co.th/product/10/สะเดาไทย-หมายเลข-111-สารสกัด สะเดาเข้มข้นชนิดน้า-ขนาด-100-ซีซี
  • 54. FAMILY APOCYNACEAE ลักษณะเด่น : มีน้ายางสีขาว เป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม หรืออกรอบกิ่งเป็นวงกลมตามข้อ ดอกออกเป็นช่อกระจุก ที่ปลายกิ่ง พืชที่สาคัญ: พญาสัตบรรณ,แพงพวยฝรั่ง,โมกใหญ่,โมก หลวง,ระย่อมน้อย, ยี่โถ พืชที่พบ : พญาสัตบรรณ แพงพวยฝรั่ง ยี่โถ ราเพย
  • 55. พญาสัตบรรณ หรือ ตีนเป็ด Alstonia scholaris R.Br. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลาต้น : ไม้ยืนต้น มีน้ายางสีขาว ใบ : ใบเดี่ยว เรียงเป็นวงรอบกิ่ง แผ่นใบรูปไข่กลับหรือรูปพาย ดอก : ดอกช่อ ออกตามปลายกิ่ง ผล : ฝักกลมออกเป็นคู่ มีเมล็ดจานวนมาก ประโยชน์ทางยา ใบ : ใช้เป็นยาแก้ปวดหัว แก้หลอดลมอักเสบ ใช้ต้มน้าดื่ม ช่วยขับ พิษต่าง ๆ เปลือก : ต้มกินแก้บิด ขับพยาธิไส้เดือน ขับระดู ใช้สมานลาไส้ ยาง : ใช้ทารักษาแผล แผลเน่าเปื่อย ผสมยาสีฟัน ลดอาการ ปวดฟันที่มา: http://puechkaset.com/%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9B% E0%B9%87%E0%B8%94/
  • 56.
  • 57. แพงพวยฝรั่ง Catharanthus roseus G.Don ลักษณะเด่นทางพฤกษศาสตร์ ลาต้น : ไม้พุ่ม ลาต้นสีแดงและเขียว มีขนละเอียดปกคลุม ใบ : ใบเดี่ยว ออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน รูปรี หรือรูปไข่กลับ ออกตามซอกใบ ดอก : กลีบดอก 5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายกลีบแผ่แบน ผล : ฝักคู่ รูปกระสวย เมล็ดทรงกระบอก จานวนมาก ประโยชน์ทางยา ใบ : บารุงหัวใจ ช่วยย่อยอาหาร ราก : แก้บิด ขับพยาธิ ใช้ห้ามเลือด รักษามะเร็งในเม็ดเลือด ทั้งต้น : แก้อาการตัวเหลืองอันเกิดจากพิษสุรา แก้โรคหนองใน ผื่นคัน และแผลอักเสบ ที่มา: https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Catharanthus_ros eus_MHNT.BOT.2005.0962.jpg
  • 58. FAMILY ASTERACEAE ลักษณะเด่น : ช่อดอกสวยงาม เด่นสะดุดตา โดยเป็น ช่อกระจุกแน่น (head) ดอกย่อยมี 2 ชนิด คือ ray flower และ disc flower พืชที่สาคัญ : ทานตะวัน ดาวเรือง หญ้าหวาน พืชที่พบ : หญ้าดอกขาว สาบเสือ
  • 59. หญ้าดอกขาว Vernonia cinerea (L.) Less. ต้น : เป็นพรรณไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ ขอบใบหยักเป็น ฟันเลื่อย ใบเป็นรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ดอก : ดอกเป็นช่อกระจุกแน่นบริเวณ ปลายยอดแบบ head (ที่มา : https://medthai.com/หญ้าดอกขาว/)
  • 60. ประโยชน์ทางยาที่สาคัญ ใช้ส่วนของลาต้น ใบ ดอกตูม ช่วยลด การสูบบุหรี่ เพราะมีสารไนเตรท ซึ่งมีฤทธิ์ทา ให้ประสาท รับรสบริเวณลิ้นรู้สึกชา ไม่รับรู้ รสชาติ ทาให้ไม่รู้สึกอยากบุหรี่ และสามารถใช้ ทดแทนสารนิโคตินในร่างกายของผู้ที่ติดบุหรี่ได้ (ที่มา : https://www.thairath.co.th/content/1031 : http://www.smileclinic.org/shownews.asp?topicID=897)
  • 61. สาบเสือ Eupatorium odoratum L. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น : ไม้ล้มลุก ใบ : ใบเดี่ยว ออกจากลาต้นแบบตรงกันข้าม ใบทรงรูป สามเหลี่ยม ขอบหยัก เมื่อนาใบมาขยี้จะมีกลิ่นแรงคล้าย กลิ่นสาบเสือ ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกแน่น มีสีขาวหรือสีฟ้าอมม่วง (ที่มา : http://www.คลังสมุนไพร.com/2017/08/สาบเสือ)
  • 63. FAMILY COMBRETACEAE ลักษณะเด่น : ผลเป็นแบบ drupe อาจมีครีบ พืชที่สาคัญ : เล็บมือนาง สะแกนา หูกวาง สมอ ไทย สมอพิเภก พืชที่พบ : เล็บมือนาง
  • 64. เล็บมือนาง Quisqualis indica Linn. ลักษณะเด่นทางพฤกษศาสตร์ ต้น : ไม้พุ่มรอเลื้อย ใบ : ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ใบรูปไข่แกมขอบขนาน ดอก : ช่อดอกออกที่ปลายกิ่งหรือตามซอกใบ กลีบ ดอกโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดรูปทรงกระบอกยาว ผล : เป็นแบบ Drupe เมล็ดมีครีบ ประโยชน์ทางยา เนื้อในเมล็ด : ใช้เป็นยาขับพยาธิไส้เดือน ที่มา : http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/searc h_detail.asp?botanic_id=1115 ที่มา : https://data.addrun.org/plant/archives/199-combretum- indicum-l-defilipp
  • 65. FAMILY PASSIFLORACEAE ลักษณะเด่น : เป็นพืชไม้เลื้อยพัน มีมือเกาะออกตาม ง่ามใบ ดอกมีกระบังรอบเป็นเส้นฝอยแผ่ออกเป็นรัศมี มี ก้านชูร่วมของเกสรเพศผู้และก้านเกสรเพศเมีย พืชที่สาคัญ : เสาวรส กระทกรก พืชที่พบ : กระทกรก
  • 66. กระทกรก Passiflora foetida L. ลักษณะเด่นทางพฤกษศาสตร์ ใบ : ใบเดี่ยว คล้ายรูปหัวใจ ปลายใบแหลม แยกเป็น 3 แฉก มีขนสั้น ๆ ดอก : ออกตามซอกใบ มีกะบังรอบเป็นเส้นฝอยสีขาว โคนสีม่วงเรียงกัน เป็นรัศมี ผล : กลีบเลี้ยงเจริญเป็นร่างแหคล้ายมีขนคลุมผล เรียกว่า “รก” *ทุกส่วนของพืชนี้เมื่อขยี้หรือทาให้ช้า จะมีกลิ่นเหม็นเขียว * สรรพคุณทางยาที่สาคัญ เนื้อไม้ : ใช้ถอนพิษเบื่อเมาได้ทุกชนิด ใบ : นามาคั้นน้าดื่มเป็นยาเบื่อ เพื่อขับพยาธิ ที่มา : https://www.samunpri.com/เถาสิงโต-กะทกรก/
  • 67. FAMILY LEGUMINOSAE (FABACEAE) ลักษณะเด่น : ผลแบบ legume หรือ loment พืชที่สาคัญ : กระถิน ไมยราบ จามจุรี คูน กัลปพฤกษ์ สีเสียดเหนือ อัญชัน กระถินณรงค์ ประดู่ พืชที่พบ : ก้ามปู อัญชัน ประดู่ กระถินณรงค์
  • 68. กระถินณรงค์ Acacia auriculaeformis A. Cunn. ex Benth. Subfamily : Mimosoideae ลักษณะเด่นทางพฤกษศาสตร์ ใบ : ใบประกอบเแบบขนนกสองชั้น โค้งเป็นรูปเคียว ดอก : ดอกช่อคล้ายหางกระรอกตามง่ามใบ ผล : เป็นฝัก เมล็ด : กลมแบนขนาดเล็ก *** กระถินณรงค์ เป็นต้นไม้ประจาคณะเภสัช ศาสตร์ มข. ที่มา : https://sites.google.com/site/swnphvssastrsanpa
  • 69.
  • 70. ก้ามปู, ฉาฉา, จามจุรี Samanea saman (Jacq.) Merr. Subfamily : Mimosoideae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลาตัน : ไม้ยืนต้น ลาต้นสูงใหญ่ ใบ : ใบประกอบ ใบย่อยเป็นรูปรี ปลายใบมนมีติ่งแหลม แผ่น ใบด้านล่างมีขนละเอียด ดอก : ดอกช่อ มีเกสรตัวผู้ยาว ผล : ผลแบบ legume ประโยชน์ทางยา เปลือกต้น : รักษาอาการท้องร่วง แก้ริดสีดวงทวาร ที่มา: https://plus.google.com/+chalermponmayakarn/posts/ga17qfYko56 ที่มา : http://puechkaset.com/ต้นจามจุรี/ ที่มา : https://prayod.com/จามจุรี/
  • 71. ต FAMILY RUBIACEAE ลักษณะเด่น : คือมีหูใบระหว่างก้านใบที่อยู่ตรงข้าม (interpetiolar stipule) พืชที่สาคัญ : ต้นกาแฟ ต้นควินิน พืชที่พบ : ตดหมูตดหมา เข็ม
  • 72. ตดหมูตดหมา , ย่านพาโหม Paederia linearis Hook.f. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น : เป็นไม้เถาขนาดเล็ก ราก: มีรากสะสมอาหารใต้ดิน ใบ: ใบเดี่ยว รูปหอก ขอบใบขนาน มีหูใบระหว่างก้าน ใบที่อยู่ตรงข้าม ดอก: ดอกออกเป็นช่อ ตามก้านใบ ก้านช่อดอกสั้น ผล: ผลแห้งกลมรูปไข่ ลาต้นและใบมีกลิ่นเหม็นสมชื่อ เนื่องจากมีสาร Methyl Mercaptan คล้ายๆกลิ่นเหม็นเขียว ที่มา: zappnuar.com
  • 73. FAMILY MENISPERMACEAE ลักษณะเด่นของวงศ์ : ไม้เลื้อย ไม่มีหูใบ ใบเป็นรูป หัวใจ เส้นใบออกจากจุดเดียวกันที่โคนใบ ผลเป็น drupe พืชที่สาคัญ : บอระเพ็ด สบู่เลือด ชิงช้าชาลี พืชที่พบ : ชิงช้าชาลี
  • 74. ชิงช้าชาลี Tinospora baenzigeri Forman ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้เถาเลื้อย รสขมทั้งต้น เถา : มีปุ่มปมเล็กน้อย ใบ : ใบเดี่ยวรูปหัวใจ เรียงสลับ ขอบใบเรียบ ดอก : ออกเป็นช่อ ไม่มีกลีบดอก ประโยชน์ทางยาที่สาคัญ เถา : แก้พิษฝีดาษ ใบ : โรคมะเร็ง ใช้ฆ่าพยาธิ ถอนพิษ ดอก : ขับพยาธิในท้อง ที่มา : http://www.pharmacy.mahidol.ac.th
  • 76. เอกสารอ้างอิง- ก่องกานดา ชยามฤต. (2548). ลักษณะประจาวงศ์พรรณไม้. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2561. จาก : http://www.dnp.go.th/botany/PDF/publications/family_characters1.pdf - ข้อมูลพันธุ์ไม้ ระบบฐานข้อมูลเกษตรดิจิทัล. (2017). เล็บมือนาง Combretum indicum (L.) DeFilipps สืบค้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2561 จาก https://data.addrun.org/plant/archives/199-combretum-indicum-l-defilipps คณะผู้จัดทาโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ.กระทกรก(2555). สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน, 2561, จาก:http://www2.phrae.mju.ac.th/cms/rspg/index.php/2014-07-08-09-10-44/46-2014-07-08-06-51-41 - สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป.). พืชกินได้ในป่าสะแกราช. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน, 2561, จาก: http://www.tistr.or.th/sakaerat/plant%20list/057ตดหมูตดหมา.pdf สมุนไพรดอทคอม. (2559).ชิงช้าชาลี. สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน, 2561, จาก : https://www.samunpri.com/ชิงช้าชาลี/ - สานักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (ม.ป.ป.). ลักษณะเด่นประจาวงศ์. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2561. จาก : http://www.rspg.or.th/botanical_school/pdf/ลักษณะเด่นประจาวงศ์.pdf สานักงานหอพรรณไม้.(2559). ชบา สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน, 2561, จาก:http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?wordsLinkno=1688&words=%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B2&typeword=word - องค์การสวนพฤกษศาสตร์. (2015). เล็บมือนาง. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2561. จาก : http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=1115 - Chantaranothai, P. (2007). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 473-507. - Gerald (Gerry) Carr. (ม.ป.ป.) CombreEuphorbiaceae (Phyllanthus). taceae. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2561 จาก : http://www.botany.hawaii.edu/faculty/carr/combret.htm
  • 78. รายชื่อสมาชิก 1.นางสาวศรุตา จันทร์หอม รหัสประจาตัว 593150030-9 2.นางสาวสุธิมา ภูอาบอ่อน รหัสประจาตัว 593150034-1 3.นางสาวกฤตยา สุธาวา รหัสประจาตัว 593150229-6 4.นางสาวนัฐริกา ผาคา รหัสประจาตัว 593150242-4 5.นางสาวนัทชกร ชินคาหาญ รหัสประจาตัว 593150243-2 6.นายพสธร อ้นอิ่ม รหัสประจาตัว 593150245-8 7.นางสาวพิรุฬห์ขวัญ พลโรม รหัสประจาตัว 593150246-6 8.นางสาวรัชฎา ปักสังคเนย์ รหัสประจาตัว 593150249-0 9.นางสาววิรัญญา เจริญ รหัสประจาตัว 593150252-1 10.นายศุภณัฏฐ์ ภิญโญนิติพงศ์ รหัสประจาตัว 593150253–9 11.นางสาวอภิญญา โพธิ์ยั่งยืน รหัสประจาตัว 593150254-7