SlideShare a Scribd company logo
สวนกวี จุติกูล
LEGUMINOSAE
BIGNONIACEAE
ARECACEAE
LECYTHIDACEAE
DIPTEROCARPACEAE
LAMIACEAE
LYTHRACEAE
FLACOURTIACEAE
MORACEAE
ANACARDIACEAE
Moringaceae
Menispermaceae
Umbelliferae
Labiatae
Acanthaceae
Solanaceae
Euphorbiaceae
Combretaceae
Amaryllidaceae
Commelinaceae
Agavaceae
Musaceae
Liliaceae
Pandanaceae
Opiliaceae
Leguminosae
Portulacaceae
Moraceae
Bignoniaceae
Apocynaceae
Lythraceae
Loganiaceae
Convolvulaceae
Cucurbitaceae
Amaranthaceae
Asteraceae
Meliaceae
Nymphaeaceae
Caricaceae
Anacardiaceae
Monocotyledons
Palmales
Arecaceae
หมาก
Liliales
Liliaceae
ว่างหางจระเข้
Agaveceae
ซ่อนกลิ่น
Graminales
Cyperaceae
หญ้าแห้วหมู
Orchidales
Orchidaceae
กล้วยไม้ วานิลลา
Scitaminales
Musaceae
กล้วย
Pandanales
Pandanaceae
ใบเตย
Santalales
Opiliaceae
ผักหวานป่า
Arales
Araceae
บุก
Dicotyledons
MAGNOLIADAE
subclass
Annonaceae
น้อยหน่า
Magnoliales
Piperaceae
พริกไทย
Piperales
Ericales
Lecythidaceae
สาละลังกา กระโดน
Malvales
Dipterocarpaceae
พะยอม
Flacourtiaceae
กระเบา
Rosales
Leguminosae
ชงโค แดง ประดู่ กัลปพฤกษ์
ทองกวาว จามจุรี
Myrtales
Lythraceae
ตะแบก เสลา
Lamiales
Lamiaceae
สัก สาระแหน่
Sapindales
Anacardiaceae
มะม่วง มะตูมซาอุฯ
Verbenaceae
กรรณิการ์
Meliaceae
เอกมหาชัย
HAMAMELIDAE
subclass
CARYOPHYLLIDAE
subclass
ROSIDAE
subclass
DILLENIIDAE
subclass
ASTERIDAE
subclass
Nymphaeaeceae
บัวสาย
Nymphaeales
Menispermaceae
ย่านาง
Ranunculales
Moraceae
ขนุน หม่อน โพธิ์ ข่อย
Urticales
Portulacaceae
โสมไทย
Amaranthaceae
ผักโขม
Caryophyllales
Violales
Cucurbitaceae ตาลึง
Caricaceae มะละกอ
Capparales
Moringaceae มะรุม
Scrophulariales
Bignoniaceae
ปีป แคร์หางค่าง แคร์นา
Acanthaceae รางจืด
Gentianales
Loganiaceae กันเกรา
Solanales
Solanaceae พริก
Convolvulaceae ใบระบาด
Asterales
Asteraceae กระเม็ง
Umbellales
Umbellifera คื่นไช่
Euphorbiales
Euphorbiaceae
ละหุ่ง น้านมราชสีห์
ใบ ราก และเถา : รสจืดเย็น ตาคั้นหรือเอารากฝนกับน้าหรือต้มเอาน้ายาดื่มถอนพิษ แก้ไข้ ถอนพิษยา เบื่อเมา
แก้ร้อนในกระหายน้า แก้พิษร้อนต่างๆ
ราก : รสจืดเย็น แก้อักเสบ แก้ปวดบวม แก้เมาค้าง แก้อาการปวดหัวมึนหัวอันเนื่องมาจากพิษสุรา
ประโยชน์ทางยา
ใบเดี่ยวออกตรงข้าม, เส้นใบหลักออกจากโคนใบ 3 เส้น,
ข้อปล้องชัดเจน
ลักษณะเด่น
ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=102
1. Polyphenol ได้แก่ Phonolic acid
ซึ่งมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
2. Flavonoid ได้แก่ Apigenin และ Apigenin
glucoside
โดยเฉพาะ Apigenin ซึ่งเป็นสารสาคัญใน
รางจืดที่สามารถยับยั้งพิษของสารหนูในการเปลี่ยนการ
ควบคุม (deregulation) ของความเครียดเส้นใย
(stress fiber) ซึ่งมีความจาเพาะต่อการจัดเรียงโครง
ร่างของเซลล์
สารส้าคัญ
ที่มา: http://www.ttmed.psu.ac.th/blog.php?p=68.
ภาพโครงสร้างของ phenolic acid และ flavonoid ในรางจืด
(ที่มา: http://www.foodnetworksolution.com/uploaded/phenolic%20compond.bmp)
ตัวยาส้าคัญ: ผงใบรางจืดโตเต็มที่
รูปแบบ/ความแรง:ยาชง
ข้อบ่งใช้:ถอนพิษเบื่อเมา
ขนาดและวิธีใช้: รับประทานครั้งละ 2 – 3 กรัม ชงน้าร้อนประมาณ
120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร หรือเมื่อมีอาการ
ข้อควรระวัง:
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะน้าตาลในเลือดต่า
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องใช้ยาอื่นอย่างต่อเนื่องเพราะยารางจืดอาจเร่ง
การขับยาเหล่านั้นออกจากร่างกาย ทาให้ประสิทธิผลของยาลดลง
ข้อมูลเพิ่มเติมอื่นๆ: ในทางการแพทย์แผนไทย จะใช้ใบหรือราก ตาและ
คั้นน้าซาวข้าว รับประทานแก้พิษผิดสาแดง
บัญชียาหลักแห่งชาติ
ที่มา: http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th/medicine/herbal/list/653.
ทังต้น จะมีน้ามันหอมระเหยเป็นหลัก นามาใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง ลดการบีบตัวของลาไส้
นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติเป็นยาชาเฉพาะที่ (local anesthetic) ขับลม และสามารถนามา
ต้มเพื่อดื่มเป็นยาลดระดับน้าตาลในเลือดได้ดี
ใบ รสเผ็ดร้อน เป็นยาขับลม ช่วยเจริญอาหาร ทาให้เลือดลมซ่าน ขับเสมหะ แก้เบาหวาน
ราก รสร้อน ขับเสมหะ บารุงธาตุ ขับลมในลาไส้
ผล รสเผ็ดร้อน แก้เสมหะที่คอ ทาให้เสมหะแห้ง ขับลมในลาไส้ ช่วยย่อยอาหาร
ประโยชน์ทางยา
ลาต้นเลื้อยไปตามพื้นดินสีเขียวกลม มีข้อเป็นปม
ผิวใบเป็นมันลื่น ใบมันมีเส้นแขนงใบ 7 เส้น
ดอกขนาดเล็กอัดเรียงกันเป็นช่อรูปทรงกระบอก
ลักษณะเด่น
ที่มา: http://www.phargarden.com/main.
php?action=viewpage&pid=221
การแยกสารบริสุทธิ์จากสารสกัดใบช้าพลูด้วยปิโตรเลียมอีเทอร์
ได้สารประกอบ hydrocinnamic acid และ β- sitosterol
สารส้าคัญ
ภาพโครงสร้างของ hydrocinnamic acid
(ที่มา:https://www.sigmaaldrich.com/catalog/product/al
drich/135232?lang=en&region=TH)
ภาพโครงสร้างของ β- sitosterol
(ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Beta-Sitosterol)
ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=221
ยาเบญจกูล
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
บารุงธาตุ แก้ธาตุให้ปกติ
ข้อควรระวัง
- ไม่ควรรับประทานติดต่อกันนานเกิน 7 วัน
- ไม่ควรใช้ยานี้ในฤดูร้อน เนื่องจากอาจทาให้ไฟธาตุกาเริบ
ข้อห้ามใช้
- ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์
- ห้ามใช้ในผู้มีไข้
- ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 12 ปี
บัญชียาหลักแห่งชาติ
เป็นส่วนประกอบของตารับ
- ยาหอมนวโกฐ
- ยาหอมอินทจักร์
- ยาเบญจกูล
- ยาประสะกานพลู
- ยามันทธาตุยาปลูกไฟธาตุ
- ยาเลือดงาม
- ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน
- ยาบารุงโลหิต
- ยาตรีพิกัด
ผลิตภัณฑ์ยาแคปซูลเบญจกูล
(ที่มา: https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe/assets/
images/recipes/d234fb91979f5b340595a8d439c3e95b.jpg)
ที่มา: https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe
/index.php/data/detail/8.
เถาอ่อนมีขนนุ่ม ใบเดี่ยว เรียงสลับสีเขียว
เข้มเป็นมัน ผลรูปทรงกลมสีเขียว
เมื่อสุกเปลี่ยนเป็นสีส้มแดง เมล็ดคล้ายรูป
เกือกม้า มีผิวขรุขระ
ลักษณะเด่น
ชื่อเรียกอื่น จ๊อยนาง เถาวัลย์เขียว ยาดนาง
ราก: ในตาราไทยโบราณได้บรรจุรากย่านางอยู่ในพิกัด
ยาเบญจโลกวิเชียร โดยยาขนานนี้จะใช้เป็นยาแก้ไข้ กระทุ้งพิษ
หรือถอนพิษต่างๆ
ใบ: ผสมรวมกับสมุนไพรอื่นๆ เพื่อใช้แก้บิด
ล้าต้น: รสจืดขม ถอนพิษผิดสาแดง รักษาพิษไข้ แก้ไข้ตัวร้อน
แก้ไข้พิษ แก้ไข้รากสาด
ประโยชน์ทางยา
ที่มา: www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=148.
เบญจโลกวิเชียร หรือ ยาห้าราก
ที่มา: http://wwwtcocthngww43.blogspot.com/2015/03/blog-post.html
ใบเป็นรูปโล่ (peltate) ขอบใบหยัก เส้นใบแบบpalmate มีก้านใบ
อ่อนจึงลอยปริ่มน้า ก้านใบอยู่ตรงกลางแผ่นใบ การติดของไข่อ่อน
แบบ laminar placentation (การติดของ ovule รอบผนังรังไข่
และผนังกั้น)
ลักษณะเด่น
ชื่อเรียกอื่น บัวแดง
เกสร ใช้เป็นยาเย็นบารุงหัวใจให้ชื่นบาน (หอมเย็น)
อยู่ในพิกัดบัวเบญจพรรณ
ประโยชน์ทางยา
ที่มา: http://www.lotus.rmutt.ac.th/wp-content/
uploads/2012/11/022.jpg
ความแตกต่างระหว่างบัวสายและบัวหลวง
บัวสาย บัวหลวง
วงศ์ Nymphaeaceae วงศ์ Nelumbonaceae
ก้านใบอ่อน ใบลอยปริ่มน้า ก้านใบแข็ง ใบชูพ้นน้า
รังไข่เชื่อมติดกัน รังไข่อยู่แยกกัน
ผลเป็นแบบ buccate (berry-like) ผลเป็นแบบ nut
ที่มา: https://www.pinterest.com/pin/283093526550490714/
ใบเดี่ยว เรียงเวียนถี่รอบต้นซ้อนเป็นกอ
ใบรูปขอบขนาน ขอบใบมีหนามแหลมเล็กขึ้นห่างๆ
เนื้อใบหนาอวบน้ามาก ภายในเนื้อใบมีวุ้นใสเป็นเมือก
เมื่อกรีดลงไปบริเวณโคนใบจะมีน้ายางใสสีเหลืองไหล
ออกมา
ลักษณะเด่น
วุ้นใสจากใบสด: รสจืดเย็น รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก
รักษาโรคกระเพาะอาหาร บารุงร่างกาย แก้ร้อนใน
ประโยชน์ทางยา
ราก รสขมขื่น กินถ่ายโรคหนองใน แก้มุตกิด ช้ารั่ว
น้ายางสีเหลืองจากใบ เคี่ยวให้แห้งเรียกว่า “ ยาด้า “ มีรสเบื่อ ใช้กินเป็นยาถ่ายยาระบายอย่างแรง ระคายเคืองต่อผิวหนัง
ยาด้า
ที่มา: http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=112
ลักษณะภายนอกของเครื่องยา
ยาดาได้จากการเคี่ยวน้ายางสีเหลืองจากใบว่านหางจระเข้
เป็นยางที่แข็งเป็นก้อน มีสีแดงน้าตาลจนถึงดา เปราะ ผิวมัน
ทึบแสง มีรสขมเหม็นเบื่อ
สรรพคุณ
แก้โรคท้องผูก โดยกระตุ้นลาไส้และทางเดินอาหารให้บีบตัว
องค์ประกอบทางเคมี
สารกลุ่ม Antraquinone เช่น Aloin, Barbaloin
(aloe-emodin) ออกฤทธิ์เป็น ยาระบาย ยาถ่าย
สารส้าคัญในยาด้า
ที่มา: https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/
compound/313325#section=Top
ที่มา: https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/
compound/Aloe-emodin#section=Top
BarbaloinAloin
ใบประกอบ 2 ใบ และออกเป็นคู่ หูใบมีลักษณะเป็นหนามแหลมใบรูปไข่เบี้ยว
ดอกออกเป็นช่อกระจุกแยกแขนงกลีบเลี้ยง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ก้านชูอับเรณูสีขาวมีจานวนมาก
ผลเป็นฝักยาวและโค้งงอ แก่สีขาวถึงสีน้าตาลอมแดง เนื้อในสีขาว
ลักษณะเด่น
ผล เนือในผลหรือฝักสด บรรเทาอาการ
โรคเบาหวาน รักษาแผลใน กระเพาะอาหาร
ช่วยลดกรดในกระเพาะอาหาร ช่วยบารุงร่างกาย
ใบ กินกับเกลือแก้อาการท้องผูกท้องเฟ้อ
ราก ต้มดื่มแก้ท้องร่วง
เปลือกล้าต้น ห้ามเลือด สมานแผล
เมล็ด ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ
ประโยชน์ทางยา
ที่มา: http://www.royalparkrajapruek.org/Plants
ที่มา: http://www.rajavithi.go.th/rj/?p=3726
ผลสด เปลือกต้น
เมล็ด ใบ
Saluda. (ม.ป.ป.). ยาชงสมุนไพร ผสมช้าพลู. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก
http://www.saludaplus.com/P13/Healthy Product/215/ยาชงสมุนไพรผสมช้าพลู
ฐานข้อมูลพันธุ์ไม้อุทยานหลวงราชพฤกษ์. (ม.ป.ป.). มะขามเทศ. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561 จาก
http://www.royalparkrajapruek.org/Plants
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะ เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). รางจืด. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน
2561, จาก http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=102.
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ยาเบญจกูล. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน
2561, จาก https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe/index.php/data/detail/8.
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. “ย่านาง”. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561.
จาก www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=148.
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). ช้าพลู. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน
2561, จาก http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=221
บัญชียาหลักแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). ยาถอนพิษเบื่อเมา. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก
http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th/medicine/herbal/list/653.
ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2561, (2561,
19 มกราคม ). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 14 ง, หน้า 224-272.
พิชามญชุ์ อัครยศพงศ์. (2554). รางจืดแก้พิษ. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก
http://www.ttmed.psu.ac.th/blog.php?p=68.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ยาดา. http://www.thaicrudedrug.com ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ว่านหางจระเข้. http://www.phargarden.com ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศุภชัย ติยวรนันท์. (ม.ป.ป.). พืชสมุนไพรที่มีใบเลี้ยงคู่ ตอนที่ 1 (หน้า 29). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศุภชัย ติยวรนันท์. (ม.ป.ป.). พืชสมุนไพรที่มีใบเลี้ยงคู่ ตอนที่ 1. คณะเภสัชศาสตร์
สมุนไพรดอทคอม. (ม.ป.ป.). ช้าพลู. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จากhttps://www.samunpri.com/
อุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). แหล่งที่มา : http://www.phargarden.com/main.php?action
=viewpage &pid=281. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน, 2018.
นายกฤษฎาวุฒิ สายจันดา 593150052-9
นายคชรัตน์ หวังสุดดี 593150055-3
นางสาวชลัดดา บุญศิริ 593150061-8
นางสาวปัทมกานต์ เกษทองมา 593150080-4
นางสาวปิยาอร สาเร็จผล 593150083-8
นางสาวศศินา ศิริวัฒนเมธานนท์ 593150103-8
นายกษิดิ์เดช โพธิ์ทิพย์ 593150171-1
นายศุภโชติ ธนสารกุล 593150194-9
นางสาวปวีณ์สุดา ชูสังข์ 593150216-5
นายเศรษฐพงศ์ ณ หนองคาย 593150220-4
นางสาวจันทิวา สีงาม 593150221-2

More Related Content

Similar to Field Trip @ ตึกอธิการบดี

โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โรงเรียนประชาบำรุง อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยguestd908c1
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพรguestd908c1
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพรguestd908c1
 
วินหรรมบาน
วินหรรมบานวินหรรมบาน
วินหรรมบานAN'z NP Soparpipat
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
รัตน์ดา ทองดอนเหมือน
 
สมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีสมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีFearn Chi
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
Wichai Likitponrak
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.pptบทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
BewwyKh1
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
guestccf562
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
Wichai Likitponrak
 
นำเสนอกล้วยน้ำว้า
นำเสนอกล้วยน้ำว้านำเสนอกล้วยน้ำว้า
นำเสนอกล้วยน้ำว้าmoo_eles
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
Wichai Likitponrak
 
ดอกอัญชัน
ดอกอัญชันดอกอัญชัน
ดอกอัญชัน
Kosamphee Wittaya School
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 

Similar to Field Trip @ ตึกอธิการบดี (20)

Herb
HerbHerb
Herb
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดากลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
 
วินหรรมบาน
วินหรรมบานวินหรรมบาน
วินหรรมบาน
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
สมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีสมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สี
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.pptบทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
นำเสนอกล้วยน้ำว้า
นำเสนอกล้วยน้ำว้านำเสนอกล้วยน้ำว้า
นำเสนอกล้วยน้ำว้า
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
ดอกอัญชัน
ดอกอัญชันดอกอัญชัน
ดอกอัญชัน
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
2
22
2
 
1
11
1
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

Field Trip @ ตึกอธิการบดี

  • 1.
  • 2.
  • 7. Dicotyledons MAGNOLIADAE subclass Annonaceae น้อยหน่า Magnoliales Piperaceae พริกไทย Piperales Ericales Lecythidaceae สาละลังกา กระโดน Malvales Dipterocarpaceae พะยอม Flacourtiaceae กระเบา Rosales Leguminosae ชงโค แดง ประดู่ กัลปพฤกษ์ ทองกวาว จามจุรี Myrtales Lythraceae ตะแบก เสลา Lamiales Lamiaceae สัก สาระแหน่ Sapindales Anacardiaceae มะม่วง มะตูมซาอุฯ Verbenaceae กรรณิการ์ Meliaceae เอกมหาชัย HAMAMELIDAE subclass CARYOPHYLLIDAE subclass ROSIDAE subclass DILLENIIDAE subclass ASTERIDAE subclass Nymphaeaeceae บัวสาย Nymphaeales Menispermaceae ย่านาง Ranunculales Moraceae ขนุน หม่อน โพธิ์ ข่อย Urticales Portulacaceae โสมไทย Amaranthaceae ผักโขม Caryophyllales Violales Cucurbitaceae ตาลึง Caricaceae มะละกอ Capparales Moringaceae มะรุม Scrophulariales Bignoniaceae ปีป แคร์หางค่าง แคร์นา Acanthaceae รางจืด Gentianales Loganiaceae กันเกรา Solanales Solanaceae พริก Convolvulaceae ใบระบาด Asterales Asteraceae กระเม็ง Umbellales Umbellifera คื่นไช่ Euphorbiales Euphorbiaceae ละหุ่ง น้านมราชสีห์
  • 8. ใบ ราก และเถา : รสจืดเย็น ตาคั้นหรือเอารากฝนกับน้าหรือต้มเอาน้ายาดื่มถอนพิษ แก้ไข้ ถอนพิษยา เบื่อเมา แก้ร้อนในกระหายน้า แก้พิษร้อนต่างๆ ราก : รสจืดเย็น แก้อักเสบ แก้ปวดบวม แก้เมาค้าง แก้อาการปวดหัวมึนหัวอันเนื่องมาจากพิษสุรา ประโยชน์ทางยา ใบเดี่ยวออกตรงข้าม, เส้นใบหลักออกจากโคนใบ 3 เส้น, ข้อปล้องชัดเจน ลักษณะเด่น ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=102
  • 9. 1. Polyphenol ได้แก่ Phonolic acid ซึ่งมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ 2. Flavonoid ได้แก่ Apigenin และ Apigenin glucoside โดยเฉพาะ Apigenin ซึ่งเป็นสารสาคัญใน รางจืดที่สามารถยับยั้งพิษของสารหนูในการเปลี่ยนการ ควบคุม (deregulation) ของความเครียดเส้นใย (stress fiber) ซึ่งมีความจาเพาะต่อการจัดเรียงโครง ร่างของเซลล์ สารส้าคัญ ที่มา: http://www.ttmed.psu.ac.th/blog.php?p=68. ภาพโครงสร้างของ phenolic acid และ flavonoid ในรางจืด (ที่มา: http://www.foodnetworksolution.com/uploaded/phenolic%20compond.bmp)
  • 10. ตัวยาส้าคัญ: ผงใบรางจืดโตเต็มที่ รูปแบบ/ความแรง:ยาชง ข้อบ่งใช้:ถอนพิษเบื่อเมา ขนาดและวิธีใช้: รับประทานครั้งละ 2 – 3 กรัม ชงน้าร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร หรือเมื่อมีอาการ ข้อควรระวัง: - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะน้าตาลในเลือดต่า - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องใช้ยาอื่นอย่างต่อเนื่องเพราะยารางจืดอาจเร่ง การขับยาเหล่านั้นออกจากร่างกาย ทาให้ประสิทธิผลของยาลดลง ข้อมูลเพิ่มเติมอื่นๆ: ในทางการแพทย์แผนไทย จะใช้ใบหรือราก ตาและ คั้นน้าซาวข้าว รับประทานแก้พิษผิดสาแดง บัญชียาหลักแห่งชาติ ที่มา: http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th/medicine/herbal/list/653.
  • 11. ทังต้น จะมีน้ามันหอมระเหยเป็นหลัก นามาใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง ลดการบีบตัวของลาไส้ นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติเป็นยาชาเฉพาะที่ (local anesthetic) ขับลม และสามารถนามา ต้มเพื่อดื่มเป็นยาลดระดับน้าตาลในเลือดได้ดี ใบ รสเผ็ดร้อน เป็นยาขับลม ช่วยเจริญอาหาร ทาให้เลือดลมซ่าน ขับเสมหะ แก้เบาหวาน ราก รสร้อน ขับเสมหะ บารุงธาตุ ขับลมในลาไส้ ผล รสเผ็ดร้อน แก้เสมหะที่คอ ทาให้เสมหะแห้ง ขับลมในลาไส้ ช่วยย่อยอาหาร ประโยชน์ทางยา ลาต้นเลื้อยไปตามพื้นดินสีเขียวกลม มีข้อเป็นปม ผิวใบเป็นมันลื่น ใบมันมีเส้นแขนงใบ 7 เส้น ดอกขนาดเล็กอัดเรียงกันเป็นช่อรูปทรงกระบอก ลักษณะเด่น ที่มา: http://www.phargarden.com/main. php?action=viewpage&pid=221
  • 12. การแยกสารบริสุทธิ์จากสารสกัดใบช้าพลูด้วยปิโตรเลียมอีเทอร์ ได้สารประกอบ hydrocinnamic acid และ β- sitosterol สารส้าคัญ ภาพโครงสร้างของ hydrocinnamic acid (ที่มา:https://www.sigmaaldrich.com/catalog/product/al drich/135232?lang=en&region=TH) ภาพโครงสร้างของ β- sitosterol (ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Beta-Sitosterol) ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=221
  • 13. ยาเบญจกูล ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ บารุงธาตุ แก้ธาตุให้ปกติ ข้อควรระวัง - ไม่ควรรับประทานติดต่อกันนานเกิน 7 วัน - ไม่ควรใช้ยานี้ในฤดูร้อน เนื่องจากอาจทาให้ไฟธาตุกาเริบ ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ - ห้ามใช้ในผู้มีไข้ - ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 12 ปี บัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นส่วนประกอบของตารับ - ยาหอมนวโกฐ - ยาหอมอินทจักร์ - ยาเบญจกูล - ยาประสะกานพลู - ยามันทธาตุยาปลูกไฟธาตุ - ยาเลือดงาม - ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน - ยาบารุงโลหิต - ยาตรีพิกัด ผลิตภัณฑ์ยาแคปซูลเบญจกูล (ที่มา: https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe/assets/ images/recipes/d234fb91979f5b340595a8d439c3e95b.jpg) ที่มา: https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe /index.php/data/detail/8.
  • 14. เถาอ่อนมีขนนุ่ม ใบเดี่ยว เรียงสลับสีเขียว เข้มเป็นมัน ผลรูปทรงกลมสีเขียว เมื่อสุกเปลี่ยนเป็นสีส้มแดง เมล็ดคล้ายรูป เกือกม้า มีผิวขรุขระ ลักษณะเด่น ชื่อเรียกอื่น จ๊อยนาง เถาวัลย์เขียว ยาดนาง ราก: ในตาราไทยโบราณได้บรรจุรากย่านางอยู่ในพิกัด ยาเบญจโลกวิเชียร โดยยาขนานนี้จะใช้เป็นยาแก้ไข้ กระทุ้งพิษ หรือถอนพิษต่างๆ ใบ: ผสมรวมกับสมุนไพรอื่นๆ เพื่อใช้แก้บิด ล้าต้น: รสจืดขม ถอนพิษผิดสาแดง รักษาพิษไข้ แก้ไข้ตัวร้อน แก้ไข้พิษ แก้ไข้รากสาด ประโยชน์ทางยา ที่มา: www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=148.
  • 16. ใบเป็นรูปโล่ (peltate) ขอบใบหยัก เส้นใบแบบpalmate มีก้านใบ อ่อนจึงลอยปริ่มน้า ก้านใบอยู่ตรงกลางแผ่นใบ การติดของไข่อ่อน แบบ laminar placentation (การติดของ ovule รอบผนังรังไข่ และผนังกั้น) ลักษณะเด่น ชื่อเรียกอื่น บัวแดง เกสร ใช้เป็นยาเย็นบารุงหัวใจให้ชื่นบาน (หอมเย็น) อยู่ในพิกัดบัวเบญจพรรณ ประโยชน์ทางยา ที่มา: http://www.lotus.rmutt.ac.th/wp-content/ uploads/2012/11/022.jpg
  • 17. ความแตกต่างระหว่างบัวสายและบัวหลวง บัวสาย บัวหลวง วงศ์ Nymphaeaceae วงศ์ Nelumbonaceae ก้านใบอ่อน ใบลอยปริ่มน้า ก้านใบแข็ง ใบชูพ้นน้า รังไข่เชื่อมติดกัน รังไข่อยู่แยกกัน ผลเป็นแบบ buccate (berry-like) ผลเป็นแบบ nut ที่มา: https://www.pinterest.com/pin/283093526550490714/
  • 18. ใบเดี่ยว เรียงเวียนถี่รอบต้นซ้อนเป็นกอ ใบรูปขอบขนาน ขอบใบมีหนามแหลมเล็กขึ้นห่างๆ เนื้อใบหนาอวบน้ามาก ภายในเนื้อใบมีวุ้นใสเป็นเมือก เมื่อกรีดลงไปบริเวณโคนใบจะมีน้ายางใสสีเหลืองไหล ออกมา ลักษณะเด่น วุ้นใสจากใบสด: รสจืดเย็น รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก รักษาโรคกระเพาะอาหาร บารุงร่างกาย แก้ร้อนใน ประโยชน์ทางยา ราก รสขมขื่น กินถ่ายโรคหนองใน แก้มุตกิด ช้ารั่ว น้ายางสีเหลืองจากใบ เคี่ยวให้แห้งเรียกว่า “ ยาด้า “ มีรสเบื่อ ใช้กินเป็นยาถ่ายยาระบายอย่างแรง ระคายเคืองต่อผิวหนัง
  • 19. ยาด้า ที่มา: http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=112 ลักษณะภายนอกของเครื่องยา ยาดาได้จากการเคี่ยวน้ายางสีเหลืองจากใบว่านหางจระเข้ เป็นยางที่แข็งเป็นก้อน มีสีแดงน้าตาลจนถึงดา เปราะ ผิวมัน ทึบแสง มีรสขมเหม็นเบื่อ สรรพคุณ แก้โรคท้องผูก โดยกระตุ้นลาไส้และทางเดินอาหารให้บีบตัว องค์ประกอบทางเคมี สารกลุ่ม Antraquinone เช่น Aloin, Barbaloin (aloe-emodin) ออกฤทธิ์เป็น ยาระบาย ยาถ่าย
  • 21. ใบประกอบ 2 ใบ และออกเป็นคู่ หูใบมีลักษณะเป็นหนามแหลมใบรูปไข่เบี้ยว ดอกออกเป็นช่อกระจุกแยกแขนงกลีบเลี้ยง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ก้านชูอับเรณูสีขาวมีจานวนมาก ผลเป็นฝักยาวและโค้งงอ แก่สีขาวถึงสีน้าตาลอมแดง เนื้อในสีขาว ลักษณะเด่น
  • 22. ผล เนือในผลหรือฝักสด บรรเทาอาการ โรคเบาหวาน รักษาแผลใน กระเพาะอาหาร ช่วยลดกรดในกระเพาะอาหาร ช่วยบารุงร่างกาย ใบ กินกับเกลือแก้อาการท้องผูกท้องเฟ้อ ราก ต้มดื่มแก้ท้องร่วง เปลือกล้าต้น ห้ามเลือด สมานแผล เมล็ด ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ ประโยชน์ทางยา ที่มา: http://www.royalparkrajapruek.org/Plants ที่มา: http://www.rajavithi.go.th/rj/?p=3726 ผลสด เปลือกต้น เมล็ด ใบ
  • 23. Saluda. (ม.ป.ป.). ยาชงสมุนไพร ผสมช้าพลู. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก http://www.saludaplus.com/P13/Healthy Product/215/ยาชงสมุนไพรผสมช้าพลู ฐานข้อมูลพันธุ์ไม้อุทยานหลวงราชพฤกษ์. (ม.ป.ป.). มะขามเทศ. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561 จาก http://www.royalparkrajapruek.org/Plants ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะ เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). รางจืด. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=102. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ยาเบญจกูล. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe/index.php/data/detail/8. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. “ย่านาง”. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561. จาก www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=148. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). ช้าพลู. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=221 บัญชียาหลักแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). ยาถอนพิษเบื่อเมา. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th/medicine/herbal/list/653.
  • 24. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2561, (2561, 19 มกราคม ). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 14 ง, หน้า 224-272. พิชามญชุ์ อัครยศพงศ์. (2554). รางจืดแก้พิษ. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก http://www.ttmed.psu.ac.th/blog.php?p=68. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ยาดา. http://www.thaicrudedrug.com ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย ว่านหางจระเข้. http://www.phargarden.com ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศุภชัย ติยวรนันท์. (ม.ป.ป.). พืชสมุนไพรที่มีใบเลี้ยงคู่ ตอนที่ 1 (หน้า 29). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ศุภชัย ติยวรนันท์. (ม.ป.ป.). พืชสมุนไพรที่มีใบเลี้ยงคู่ ตอนที่ 1. คณะเภสัชศาสตร์ สมุนไพรดอทคอม. (ม.ป.ป.). ช้าพลู. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จากhttps://www.samunpri.com/ อุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). แหล่งที่มา : http://www.phargarden.com/main.php?action =viewpage &pid=281. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน, 2018.
  • 25. นายกฤษฎาวุฒิ สายจันดา 593150052-9 นายคชรัตน์ หวังสุดดี 593150055-3 นางสาวชลัดดา บุญศิริ 593150061-8 นางสาวปัทมกานต์ เกษทองมา 593150080-4 นางสาวปิยาอร สาเร็จผล 593150083-8 นางสาวศศินา ศิริวัฒนเมธานนท์ 593150103-8 นายกษิดิ์เดช โพธิ์ทิพย์ 593150171-1 นายศุภโชติ ธนสารกุล 593150194-9 นางสาวปวีณ์สุดา ชูสังข์ 593150216-5 นายเศรษฐพงศ์ ณ หนองคาย 593150220-4 นางสาวจันทิวา สีงาม 593150221-2