SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
คูมือแนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ๑.๐
Guideline on Personal Data Protection for NSTDA 1.0
พฤศจิกายน ๒๕๖๓
สารบัญ
๑. บทนําและคํานิยาม....................................................................................................................................๑
๒. ประกาศสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ เรื่อง นโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคล
ของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ...............................................................................๕
๑. คํานิยาม...............................................................................................................................................๕
๒. แหลงที่มาของขอมูลสวนบุคคล............................................................................................................๘
๓. วัตถุประสงคในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล..................................................................................๙
๔. การประมวลผลขอมูลสวนบุคคล..........................................................................................................๙
๕. ระยะเวลาในการเก็บรักษาขอมูลสวนบุคคล......................................................................................๑๐
๖. สิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคล......................................................................................................๑๐
๗. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยสําหรับขอมูลสวนบุคคล ....................................................................๑๑
๘. การใชคุกกี้ (Cookies) ...................................................................................................................... ๑๑
๙. การปรับปรุงนโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคล...........................................................................๑๑
๑๐. การปฏิบัติตามนโยบายคุมครองขอมูลสวนบุคคลและการติดตอกับสํานักงาน.................................๑๒
๓. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับฐานในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล........................................................๑๓
๔. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีที่หนวยงานประมวลผลขอมูลสวนบุคคลโดย
อาศัยฐานความยินยอม................................................................................................................................ ๑๙
๕. แนวทางการดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีที่หนวยงานเก็บรวบรวมขอมูลสวน
บุคคลไวกอนวันที่พระราชบัญญัติการคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มีผลบังคับใช (กอนวันที่ ๒๘
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓).............................................................................................................................. ๒๕
๖. แนวทางการดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานมีการจัดทําเว็บไซต หรือ
Mobile Application.................................................................................................................................. ๒๖
๗. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานมีการจัดทําแบบฟอรมรูปแบบ
เอกสารและรูปแบบออนไลน........................................................................................................................ ๓๔
๘. แนวทางการดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานที่มีการบันทึกภาพผูมาติดตอ
หรือแลกบัตรหรือเอกสารที่มีขอมูลสวนบุคคล เพื่อความปลอดภัย...............................................................๓๖
๙. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานมีการใชกลองโทรทัศนวงจรปด
(CCTV) เพื่อการวิจัย พัฒนา........................................................................................................................ ๓๖
๑๐. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานมีการจัดกิจกรรมอบรม สัมมนา
หรือประชุม.................................................................................................................................................. ๓๙
๑๑. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานมีการเก็บรวบ ใช หรือเปดเผย
ขอมูลสวนบุคคลของผูเยาว.......................................................................................................................... ๔๑
๑๒. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานที่มีการทําขอมูลสวนบุคคลใน
รูปแบบขอมูลนิรนาม/ขอมูลแฝง..................................................................................................................๔๔
๑
๑. บทนําและคํานิยาม
๑.๑ บทนํา
คูมือแนวทางดําเนินการนี้เปนเครื่องมือสําคัญประการหนึ่งที่ชวยใหการดําเนินการตามกฎหมายหรือ
หลักการใด ๆ ที่กําหนดขึ้นเปนไปในอยางสมเหตุสมผลในทางปฏิบัติ เพราะในความจริงแลวการบัญญัติ
กฎหมายหรือกําหนดหลักการ “อะไร” ขึ้นมาประการหนึ่งและกําหนด “ใหทํา” (prescriptive) “ไมใหทํา”
(proscriptive) หรือ “อธิบาย” (descriptive) สิ่งนั้น ยอมตามมาซึ่งคําถามเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติวาควรทํา
“อยางไร” โดยเฉพาะอยางยิ่งกับกฎหมายที่โดยทั่วไปแลวสามารถกําหนดไดเพียงในระดับที่กําหนด “หาม”
เปนหลักการไวเทานั้น แตในขั้นตอนปฏิบัติยอมไมสามารถลงรายละเอียดวิธีการหรือกรณีเฉพาะทั้งปวงได
เพราะจะทําใหกฎหมายนั้นมีความเครงครัดมากเสียจนไมอาจนําไปใชไดจริง
ในกรณีของ “การคุมครองขอมูลสวนบุคคล” ก็เชนเดียวกัน เนื่องจากกฎหมายไมสามารถกําหนด
วิธีปฏิบัติในรายละเอียดลงไปโดยสมบูรณได จึงมีคําถามเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติวาควรทํา “อยางไร” มีขอสังเกต
วากฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคลมีเปาหมายระบุโดยตรงไปที่ “ขอมูลสวนบุคคล” (Personal Data) ไมใช
“ตัวบุคคล” (Person) โดยตรง ซึ่งการคุมครองขอมูลสวนบุคคลนั้นจะมีผลเปนการปกปอง “บุคคล” จาก
ผลรายที่อาจเกิดขึ้นจากการประมวลผล “ขอมูลสวนบุคคล” อีกชั้นหนึ่ง
การคุมครองขอมูลสวนบุคคล มีผลชัดเจนเมื่อสหภาพยุโรปไดออกกฎหมายฉบับใหมเกี่ยวกับการ
คุมครองขอมูลสวนบุคคลหรือที่เรียกกันวา “GDPR” (EU General Data Protection Regulation) ซึ่งเปน
การปรับปรุงกฎหมายเดิม (EU Data 16 Thailand Data Protection Guidelines 2.0 Protection Directive
95/46/EC) ซึ่งใชบังคับมานานมากวา ๒๐ ป ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงหลักการที่สําคัญ เชน
• กําหนดการใชอํานาจนอกอาณาเขต (extraterritorial jurisdiction) กลาวคือ ขอมูลสวนบุคคล
ของสหภาพยุโรปอยูภายใตความคุมครองไมวาจะอยูในที่ใดในโลก
• กําหนดบทลงโทษสูงขึ้น โดยองคกรที่กระทําผิดอาจตองจายคาปรับสูงถึงอัตรารอยละ ๔ ของ
ผลประกอบการรายไดทั่วโลก
• กําหนดใหการขอความยินยอมจากเจาของขอมูลตองชัดเจนและชัดแจง (clear and
affirmative consent)
• กําหนดการแจงเตือนเมื่อเกิดเหตุขอมูลรั่วไหล หนวยงานผูควบคุมขอมูลและผูประมวลผล
ขอมูลตองแจงใหหนวยงานกํากับดูแล และประชาชนทราบภายใน ๗๒ ชั่วโมง
๒
• กําหนดขอบเขตสิทธิของเจาของขอมูล ใหผูควบคุมขอมูลตองแจงใหเจาของขอมูลทราบวา
ขอมูลจะถูกใชอยางไร เพื่อวัตถุประสงคใด และตองจัดทําสําเนาขอมูลใหกับเจาของขอมูลในรูปแบบ
อิเล็กทรอนิกส โดยหามเก็บคาใชจายเพิ่ม
• กําหนดรับรองสิทธิในการโอนขอมูลไปยังผูประกอบการอื่น (Right to data portability)
• กําหนดรับรองสิทธิที่จะถูกลืม (Right to be forgotten) เจาของขอมูลสามารถขอใหหนวยงาน
ควบคุมขอมูลลบขอมูลของตัวเองออกได
GDPR มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ที่ผานมา ซึ่งนอกจากการมีผลบังคับใชแกการ
สงขอมูลภายในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปแลว สวทช. ควรดําเนินการเตรียมพรอมมาตรการคุมครองขอมูล
สวนบุคคลที่เหมาะสมเชนเดียวกัน
คูมือแนวทางดําเนินการนี้มีเจตนาที่จะแนะนําวิธีการวาควรทํา “อยางไร” ซึ่งหมายความวาคูมือ
แนวทางดําเนินการนี้เปนเพียงคําอธิบายของวิธีการเพื่อการคุมครองขอมูลสวนบุคคลซึ่งจําเปนตองพัฒนาอยาง
ตอเนื่องตอไป การดําเนินการคุมครองขอมูลสวนบุคคลตามคูมือแนวทางดําเนินการนี้จึงไมใชการปฏิบัติตาม
กฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคลหรือมาตรฐาน GDPR ที่ครบถวน แตเปนเพียงขอแนะนําที่ควรจะตองปฏิบัติ
และพัฒนาปรับปรุงตอเนื่องตอไป 0
๑
การคุมครองขอมูลสวนบุคคลกับการดําเนินงานของ สวทช.
กฎหมายการคุมครองขอมูลสวนบุคคลของประเทศไทยมีการอางอิงกับกฎหมายของสหภาพยุโรป
ที่เรียกกันวา “GDPR” (EU General Data Protection Regulation) ซึ่งเปนเวลากวา ๒๐ ป ที่ไดมีการ
พยายามผลักดันใหมีกฎหมายการคุมครองขอมูลสวนบุคคล จนประสบความสําเร็จและประกาศ
พระราชบัญญัติการคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๖๒ และมีผลบังคับใชอยางสมบูรณ ตั้งแตวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เปนตนไป โดยการประกาศ
๑
แหลงขอมูล
• General Data Protection Regulation : GDPR https://gdpr-info.eu/
• พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ https://oer.learn.in.th/search_detail/result/138564
• แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล Thailand Data Protection Guidelines Final Version 2.0
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/161851
• ประกาศสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ เรื่อง นโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคลของสํานักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ https://www.nstda.or.th/th/97-about-us/about-us/547-nstda-privacy-
policy
๓
ใชพระราชบัญญัติการคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ นี้ เปนไปเพื่อใหการคุมครองขอมูลสวนบุคคลมี
ประสิทธิภาพและเพื่อใหมีมาตรการเยียวยาเจาของขอมูลสวนบุคคลจากการถูกละเมิดสิทธิในขอมูลสวนบุคคล
ที่มีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงคและเปาหมาย
คูมือแนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีแหงชาติฉบับนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใหมั่นใจวา สวทช. เขาใจถึงการคุมครองขอมูลสวนบุคคล และ
เพื่อเปนแนวทางในการคุมครองขอมูลสวนบุคคลและปฏิบัติใหถูกตองตามพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวน
บุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยหนวยงานภายใน สวทช. ที่มีกิจกรรมหรือการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับการคุมครอง
ขอมูลสวนบุคคล สามารถนําคูมือแนวทางดําเนินการนี้ไปเปนแนวทางในการดําเนินการเพื่อคุมครองขอมูลสวน
บุคคล
๑.๒ คํานิยาม
การประมวลผลขอมูลสวนบุคคล – Processing of Personal Data
การดําเนินการหรือชุดการดําเนินการใด ๆ ซึ่งกระทําตอขอมูลสวนบุคคลหรือชุดขอมูลสวนบุคคล
ไมวาจะโดยวิธีการอัตโนมัติหรือไม เชน การเก็บ บันทึก จัดระบบ จัดโครงสราง เก็บรักษา เปลี่ยนแปลงหรือ
ปรับเปลี่ยน การรับ พิจารณา ใช เปดเผยดวยการสงตอ เผยแพร หรือการกระทําอื่นใดซึ่งทําใหเกิดความพรอม
ใชงาน การจัดวางหรือผสมเขาดวยกัน การจํากัด การลบ หรือการทําลาย
การจัดทําขอมูลนิรนาม - Anonymization
กระบวนการที่ทําใหความเสี่ยงในการระบุตัวตนของเจาของขอมูลนั้นนอยมากจนแทบไมตองให
ความสําคัญกับความเสี่ยง (negligible risk)
การแฝงขอมูล - Pseudonymization
การประมวลผลขอมูลสวนบุคคลในลักษณะที่ขอมูลสวนบุคคลไมสามารถระบุตัวเจาของขอมูลได
หากปราศจากการใชขอมูลเพิ่มเติมประกอบ ทั้งนี้ขอมูลเพิ่มเติมนี้มีการเก็บรักษาไวแยกออกจากกันและ
อยูภายใตมาตรการเชิงเทคนิคและมาตรการเชิงบริหารจัดการเพื่อประกันวาขอมูลสวนบุคคลจะไมสามารถระบุ
ไปถึงบุคคลธรรมดาได
ขอมูลสวนบุคคลรั่วไหล - Personal Data Breach
การรั่วไหลหรือละเมิดมาตรการความมั่นคงปลอดภัยตอขอมูลสวนบุคคลทําใหเกิดความเสียหาย
สูญหาย เปลี่ยนแปลง เปดเผยโดยไมไดรับอนุญาต หรือเขาถึงขอมูลสวนบุคคลที่ใชงาน
๔
ขอมูลสวนบุคคลแฝง - Pseudonymous Data
ขอมูลที่ไมสามารถใชระบุตัวเจาของขอมูลไดหากปราศจากการใชขอมูลประกอบเพิ่มเติม
ขอมูลนิรนาม - Anonymous Data
ขอมูลที่ไมสามารถใชเพื่อระบุตัวตนของบุคคลใดบุคคลหนึ่งได
๕
๒. ประกาศสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
เรื่อง นโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคลของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
โดยที่มีพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อวันที่
๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ประกอบกับสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติใหความสําคัญ
อยางยิ่งตอการคุมครองขอมูลสวนบุคคลและการปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคล และเพื่อให
เจาของขอมูลสวนบุคคลเชื่อมั่นวาสํานักงานจะดูแลรักษาขอมูลสวนบุคคลของเจาของขอมูลสวนบุคคลและ
จัดใหมีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม สํานักงานจึงไดจัดทํานโยบายการคุมครองขอมูล
สวนบุคคลของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ดังนี้
๑. คํานิยาม
“สํานักงาน” หมายถึง สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
“บุคคล” หมายถึง บุคคลธรรมดา
“ขอมูลสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทําใหสามารถระบุตัวบุคคลนั้นได ไมวาทางตรง
หรือทางออม แตไมรวมถึงขอมูลของผูถึงแกกรรมโดยเฉพาะ อาทิ ชื่อ นามสกุล ชื่อเลน ที่อยู หมายเลข
โทรศัพท เลขประจําตัวประชาชน เลขหนังสือเดินทาง เลขบัตรประกันสังคม เลขใบอนุญาตขับขี่ เลขประจําตัว
ผูเสียภาษี เลขบัญชีธนาคาร เลขบัตรเครดิต ที่อยูอีเมล (email address) ทะเบียนรถยนต โฉนดที่ดิน
IP Address, Cookie ID, Log File เปนตน อยางไรก็ดี ขอมูลตอไปนี้ไมใชขอมูลสวนบุคคล เชน ขอมูลสําหรับ
การติดตอทางธุรกิจที่ไมไดระบุถึงตัวบุคคล อาทิ ชื่อบริษัท ที่อยูของบริษัท เลขทะเบียนนิติบุคคลของบริษัท
หมายเลขโทรศัพทของที่ทํางาน ที่อยูอีเมล (email address) ที่ใชในการทํางาน ที่อยูอีเมล (email address)
กลุมของบริษัท เชน info@company.co.th ขอมูลนิรนาม (Anonymous Data) หรือขอมูลแฝงที่ถูกทําใหไม
สามารถระบุตัวบุคคลไดอีกโดยวิธีการทางเทคนิค (Pseudonymous Data) ขอมูลผูถึงแกกรรม เปนตน
“ขอมูลสวนบุคคลออนไหว” หมายถึง ขอมูลที่เปนเรื่องสวนบุคคลโดยแทของบุคคล แตมีความละเอียดออน
และอาจสุมเสี่ยงในการเลือกปฏิบัติอยางไมเปนธรรม เชน เชื้อชาติ เผาพันธุ ความคิดเห็นทางการเมือง ความ
เชื่อในลัทธิ ศาสนาหรือปรัชญา พฤติกรรมทางเพศ ประวัติอาชญากรรม ขอมูลสุขภาพ ความพิการ ขอมูล
สหภาพแรงงาน ขอมูลพันธุกรรม ขอมูลชีวภาพ หรือขอมูลอื่นใด ซึ่งกระทบตอเจาของขอมูลสวนบุคคลใน
ทํานองเดียวกันตามที่คณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคลประกาศกําหนด
“เจาของขอมูลสวนบุคคล” (Data Subject) หมายถึง ตัวบุคคลที่เปนเจาของขอมูลสวนบุคคลนั้น แตไมใช
กรณีที่บุคคลมีความเปนเจาของขอมูล (Ownership) หรือเปนผูสรางหรือเก็บรวบรวมขอมูลนั้นเอง โดย
๖
เจาของขอมูลสวนบุคคลนี้จะหมายถึงบุคคลธรรมดาเทานั้น และไมรวมถึง “นิติบุคคล” (Juridical Person) ที่
จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย เชน บริษัท สมาคม มูลนิธิ หรือองคกรอื่นใด
ทั้งนี้ เจาของขอมูลสวนบุคคล ไดแก บุคคลดังตอไปนี้
๑. เจาของขอมูลสวนบุคคลที่เปนผูบรรลุนิติภาวะ หมายถึง
๑.๑ บุคคลที่มีอายุตั้งแต ๒๐ ปบริบูรณ1
๒ ขึ้นไป หรือ
๑.๒ ผูที่สมรสตั้งแตอายุ ๑๗ ปบริบูรณขึ้นไป หรือ
๑.๓ ผูที่สมรสกอนอายุ ๑๗ ป โดยศาลอนุญาตใหทําการสมรส2
๓ หรือ
๑.๔ ผูเยาวซึ่งผูแทนโดยชอบธรรมใหความยินยอมในการประกอบธุรกิจทางการคาหรือธุรกิจ
อื่น หรือในการทําสัญญาเปนลูกจางในสัญญาจางแรงงาน ในความเกี่ยวพันกับการประกอบธุรกิจหรือ
การจางแรงงานขางตนใหผูเยาวมีฐานะเสมือนดังบุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะแลว3
๔
๒
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙ บุคคลยอมพนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปบริบูรณ
๓
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๔๔๘ การสมรสจะทําไดตอเมื่อชายและหญิงมีอายุสิบเจ็ดปบริบูรณแลว แตใน
กรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอาจอนุญาตใหทําการสมรสกอนนั้นได
๔
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๗ ประกอบกับพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา
๒๐ ดังนี้
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๗ ผูแทนโดยชอบธรรมอาจใหความยินยอมแกผูเยาวในการประกอบธุรกิจ
ทางการคาหรือธุรกิจอื่น หรือในการทําสัญญาเปนลูกจางในสัญญาจางแรงงานได ในกรณีที่ผูแทนโดยชอบธรรมไมใหความ
ยินยอมโดยไมมีเหตุอันสมควร ผูเยาวอาจรองขอตอศาลใหสั่งอนุญาตได
ในความเกี่ยวพันกับการประกอบธุรกิจหรือการจางแรงงานตามวรรคหนึ่งใหผูเยาวมีฐานะเสมือนดังบุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะ
แลว
ถาการประกอบธุรกิจหรือการทํางานที่ไดรับความยินยอมหรือที่ไดรับอนุญาตตามวรรคหนึ่ง กอใหเกิดความเสียหายถึงขนาด
หรือเสื่อมเสียแกผูเยาว ผูแทนโดยชอบธรรมอาจบอกเลิกความยินยอมที่ไดใหแกผูเยาวเสียได หรือในกรณีที่ศาลอนุญาต ผูแทน
โดยชอบธรรมอาจรองขอตอศาลใหเพิกถอนการอนุญาตที่ไดใหแกผูเยาวนั้นเสียได
ในกรณีที่ผูแทนโดยชอบธรรมบอกเลิกความยินยอมโดยไมมีเหตุอันสมควร ผูเยาวอาจรองขอตอศาลใหเพิกถอนการบอกเลิก
ความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรมได
การบอกเลิกความยินยอมโดยผูแทนโดยชอบธรรมหรือการเพิกถอนการอนุญาตโดยศาล ยอมทําใหฐานะเสมือนดังบุคคลซึ่ง
บรรลุนิติภาวะแลว ของผูเยาวสิ้นสุดลง แตไมกระทบกระเทือนการใด ๆ ที่ผูเยาวไดกระทําไปแลวกอนมีการบอกเลิกความ
ยินยอมหรือเพิกถอนการอนุญาต
พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๒๐ ในกรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคลเปนผูเยาวซึ่งยังไมบรรลุ
นิติภาวะโดยการสมรส หรือไมมีฐานะเสมือนดังบุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวตามมาตรา ๒๗ แหงประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย การขอความยินยอมจากเจาของขอมูลสวนบุคคลดังกลาว ใหดําเนินการ ดังตอไปนี้
๗
ทั้งนี้ ในการใหความยินยอมใด ๆ เจาของขอมูลสวนบุคคลที่เปนผูบรรลุนิติภาวะสามารถใหความยินยอมได
ดวยตนเอง
๒. เจาของขอมูลสวนบุคคลที่เปนผูเยาว หมายถึง บุคคลที่อายุต่ํากวา ๒๐ ปบริบูรณ และไมใช
ผูบรรลุนิติภาวะตามขอ ๑ ทั้งนี้ ในการใหความยินยอมใด ๆ จะตองไดรับความยินยอมจากผูใชอํานาจปกครอง
ที่มีอํานาจกระทําการแทนผูเยาวดวย
๓. เจาของขอมูลสวนบุคคลที่เปนคนเสมือนไรความสามารถ หมายถึง บุคคลที่ศาลสั่งใหเปน
คนเสมือนไรความสามารถ เนื่องจากมีกายพิการหรือมีจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือประพฤติสุรุยสุราย
เสเพลเปนอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทํานองเดียวกันนั้น จนไมสามารถจะจัดทําการงาน
โดยตนเองได หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแกทรัพยสินของตนเองหรือครอบครัว4
๕ ทั้งนี้ ในการให
ความยินยอมใด ๆ จะตองไดรับความยินยอมจากผูพิทักษที่มีอํานาจกระทําการแทนคนเสมือนไรความสามารถ
นั้นกอน
(๑) ในกรณีที่การใหความยินยอมของผูเยาวไมใชการใด ๆ ซึ่งผูเยาวอาจใหความยินยอมโดยลําพังไดตามที่บัญญัติไวในมาตรา
๒๒ มาตรา ๒๓ หรือมาตรา ๒๔ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ตองไดรับความยินยอมจากผูใชอํานาจปกครองที่มี
อํานาจกระทําการแทนผูเยาวดวย
(๒) ในกรณีที่ผูเยาวมีอายุไมเกินสิบป ใหขอความยินยอมจากผูใชอํานาจปกครองที่มีอํานาจกระทําการแทนผูเยาว
ในกรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคลเปนคนไรความสามารถ การขอความยินยอมจากเจาของขอมูลสวนบุคคลดังกลาว ใหขอ
ความยินยอม จากผูอนุบาลที่มีอํานาจกระทําการแทนคนไรความสามารถ
ในกรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคลเปนคนเสมือนไรความสามารถ การขอความยินยอมจากเจาของขอมูลสวนบุคคลดังกลาว
ใหขอความยินยอม จากผูพิทักษที่มีอํานาจกระทําการแทนคนเสมือนไรความสามารถ
ใหนําความในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคับกับการถอนความยินยอมของเจาของขอมูลสวนบุคคล การแจงให
เจาของขอมูลสวนบุคคลทราบ การใชสิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคล การรองเรียนของเจาของขอมูลสวนบุคคล และการอื่น
ใดตามพระราชบัญญัตินี้ในกรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคลเปนผูเยาว คนไรความสามารถ หรือ คนเสมือนไรความสามารถ
โดยอนุโลม
๕
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๓๒ บุคคลใดมีกายพิการหรือมีจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือประพฤติ
สุรุยสุรายเสเพลเปนอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทํานองเดียวกันนั้น จนไมสามารถจะจัดทําการงานโดยตนเองได
หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแกทรัพยสินของตนเองหรือครอบครัว เมื่อบุคคลตามที่ระบุไวในมาตรา ๒๘ รองขอ
ตอศาล ศาลจะสั่งใหบุคคลนั้นเปนคนเสมือนไรความสามารถก็ได
บุคคลซึ่งศาลไดสั่งใหเปนคนเสมือนไรความสามารถตามวรรคหนึ่ง ตองจัดใหอยูในความพิทักษ การแตงตั้งผูพิทักษ ใหเปนไป
ตามบทบัญญัติบรรพ ๕ แหงประมวลกฎหมายนี้ ใหนําบทบัญญัติวาดวยการสิ้นสุดของความเปนผูปกครองในบรรพ ๕ แหง
ประมวลกฎหมายนี้มาใชบังคับแกการสิ้นสุดของการเปนผูพิทักษโดยอนุโลม
คําสั่งของศาลตามมาตรานี้ ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา
๘
๔. เจาของขอมูลสวนบุคคลที่เปนคนไรความสามารถ หมายถึง บุคคลที่ศาลสั่งใหเปน
คนไรความสามารถ เนื่องจากเปนบุคคลวิกลจริต5
๖ ทั้งนี้ ในการใหความยินยอมใด ๆ จะตองไดรับความยินยอม
จากผูอนุบาลที่มีอํานาจกระทําการแทนคนไรความสามารถนั้นกอน
ทั้งนี้ หากการขอความยินยอมจากเจาของขอมูลสวนบุคคลที่ไมเปนไปตามกฎหมายคุมครองขอมูล
สวนบุคคลไมมีผลผูกพันเจาของขอมูลสวนบุคคล
“ผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล” หมายความวา บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งมีอํานาจหนาที่ตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บ
รวบรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคล
“ผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคล” หมายความวา บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งดําเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม
ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคลตามคําสั่งหรือในนามของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล ทั้งนี้ บุคคลหรือนิติบุคคล
ซึ่งดําเนินการดังกลาวไมเปนผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล
๒. แหลงที่มาของขอมูลสวนบุคคล
โดยปกติทั่วไปสํานักงานจะไมเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคล เวนแตในกรณี ดังนี้
๒.๑ สํานักงานไดรับขอมูลสวนบุคคลจากเจาของขอมูลสวนบุคคลโดยตรง โดยสํานักงานจะเก็บ
รวบรวมขอมูลสวนบุคคลจากขั้นตอนการใหบริการ ดังนี้
(๑) ขั้นตอนการใชบริการกับสํานักงาน หรือขั้นตอนการยื่นคํารองขอใชสิทธิตาง ๆ กับ
สํานักงาน เชน การรับขอมูลขาวสาร การสมัครงาน
(๒) การเก็บขอมูลโดยความสมัครใจของเจาของขอมูลสวนบุคคล เชน การทําแบบสอบถาม
(survey) หรือ การโตตอบทางที่อยูอีเมล (email address) หรือชองทางการสื่อสารอื่น ๆ ระหวาง
สํานักงานและเจาของขอมูลสวนบุคคลฃ
(๓) การเก็บขอมูลจากการใชเว็บไซตของสํานักงานผานเบราวเซอรคุกกี้ (browser’s
cookies) ของเจาของขอมูลสวนบุคคล และการใชบริการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส
๖
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๘ บุคคลวิกลจริตผูใด ถาคูสมรสก็ดี ผูบุพการีกลาวคือ บิดา มารดา ปูยา ตา
ยาย ทวดก็ดี ผูสืบสันดานกลาวคือ ลูก หลาน เหลน ลื่อก็ดี ผูปกครองหรือผูพิทักษก็ดี ผูซึ่งปกครองดูแลบุคคลนั้นอยูก็ดี หรือ
พนักงานอัยการก็ดี รองขอตอศาลใหสั่งใหบุคคลวิกลจริตผูนั้นเปนคนไรความสามารถ ศาลจะสั่งใหบุคคลวิกลจริต
ผูนั้นเปนคนไรความสามารถก็ได
บุคคลซึ่งศาลไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถตามวรรคหนึ่ง ตองจัดใหอยูในความอนุบาล การแตงตั้งผูอนุบาล อํานาจหนาที่
ของผูอนุบาล และการสิ้นสุดของความเปนผูอนุบาล ใหเปนไปตามบทบัญญัติบรรพ ๕ แหงประมวลกฎหมายนี้
คําสั่งของศาลตามมาตรานี้ ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา
๙
๒.๒ สํานักงานไดรับขอมูลสวนบุคคลของเจาของขอมูลสวนบุคคลจากบุคคลที่สาม โดยสํานักงาน
เชื่อโดยสุจริตวาบุคคลที่สามดังกลาวมีสิทธิเก็บขอมูลสวนบุคคลของเจาของขอมูลสวนบุคคลและเปดเผย
กับสํานักงาน
๓. วัตถุประสงคในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล
สํานักงานใชวิธีการเก็บรวบรวม ใช เปดเผย ขอมูลสวนบุคคลดวยวิธีการที่ชอบดวยกฎหมายและเปน
ธรรม โดยจัดเก็บขอมูลสวนบุคคลเทาที่จําเปน เพื่อใชในการติดตอใหบริการ ประชาสัมพันธ หรือใหขอมูล
ขาวสารตาง ๆ รวมทั้งสํารวจความคิดเห็นของเจาของขอมูลสวนบุคคลในกิจการหรือกิจกรรมของสํานักงาน
ภายใตวัตถุประสงคในการดําเนินงานของสํานักงานเทานั้น หรือตามที่กฎหมายกําหนด ทั้งนี้ หากมีการ
เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค สํานักงานจะแจงใหเจาของขอมูลสวนบุคคลทราบ และบันทึกเพิ่มเติมไวเปน
หลักฐาน รวมทั้งปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคล
๔. การประมวลผลขอมูลสวนบุคคล
๔.๑ การเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคล
สํานักงานจะเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลอยางจํากัดและเทาที่จําเปน โดยขึ้นอยูกับประเภทของ
บริการที่เจาของขอมูลสวนบุคคลใชบริการหรือใหขอมูลสวนบุคคลกับสํานักงาน เชน การลงทะเบียนสมัครเขา
รวมกิจกรรม การลงทะเบียนขอใชบริการตาง ๆ ทั้งที่ผานสํานักงานโดยตรงและผานระบบสารสนเทศของ
สํานักงาน ซึ่งจะมีการเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลดังกลาวเทาที่จําเปนเทานั้น
๔.๒ การใชขอมูลสวนบุคคล
สํานักงานจะใชขอมูลสวนบุคคลตามวัตถุประสงคที่เจาของขอมูลสวนบุคคลใหไวกับสํานักงาน โดยใช
อยางเหมาะสมและมีมาตรการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยและมีการควบคุมการเขาถึงขอมูลสวนบุคคล
๔.๓ การเปดเผยขอมูลสวนบุคคล
โดยปกติสํานักงานจะไมเปดเผยขอมูลสวนบุคคล เวนแตเปนการเปดเผยตามวัตถุประสงค
ที่เจาของขอมูลสวนบุคคลไดใหไวกับสํานักงาน เชน เปดเผยขอมูลสวนบุคคลเพื่อเปนการปฏิบัติตามบริการ
ที่เจาของขอมูลสวนบุคคลรองขอ หรือเปนไปตามภาระผูกพันตามสัญญา หรือตามที่กฎหมายกําหนดให
เปดเผย และในกรณีใด ๆ ที่สํานักงานตองการเก็บรวมรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคลเพิ่มเติมหรือมีการ
เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคในการเก็บรวบรวม ใช หรือเปดเผย สํานักงานจะแจงใหเจาของขอมูลสวนบุคคล
ทราบกอนที่จะดําเนินการกับขอมูลสวนบุคคลนั้น เวนแตเปนกรณีที่กฎหมายกําหนดหรืออนุญาตใหดําเนินการได
๑๐
๕. ระยะเวลาในการเก็บรักษาขอมูลสวนบุคคล
สํานักงานจะเก็บรักษาขอมูลสวนบุคคลตราบเทาที่จําเปนตอการประมวลผล และเมื่อพนระยะเวลา
ดังกลาวแลว สํานักงานจะดําเนินการทําลายขอมูลสวนบุคคล
๖. สิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคล
ความยินยอมที่เจาของขอมูลสวนบุคคลใหไวกับสํานักงานในการเก็บรวบรวม ใช และเปดเผยขอมูล
สวนบุคคลยังคงใชไดจนกวาเจาของขอมูลสวนบุคคลจะเพิกถอนความยินยอมเปนลายลักษณอักษร
โดยเจาของขอมูลสวนบุคคลสามารถเพิกถอนความยินยอมหรือระงับการใชหรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคล
เพื่อวัตถุประสงคในการดําเนินกิจกรรมใด ๆ หรือทุกกิจกรรมของสํานักงาน โดยสงคําขอของเจาของขอมูล
สวนบุคคลแจงใหสํานักงานทราบเปนลายลักษณอักษรหรือผานทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส
dpo@nstda.or.th
นอกจากสิทธิดังกลาวขางตน เจาของขอมูลสวนบุคคลยังมีสิทธิในการดําเนินการ ดังตอไปนี้
(๑) สิทธิในการเพิกถอนความยินยอม (right to withdraw consent)
เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิเพิกถอนความยินยอมในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลที่เจาของ
ขอมูลสวนบุคคลไดใหความยินยอมไวแกสํานักงานไดตลอดระยะเวลาที่ขอมูลสวนบุคคลของตนอยูกับ
สํานักงาน
(๒) สิทธิในการเขาถึงขอมูลสวนบุคคล (right of access)
เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิเขาถึงขอมูลสวนบุคคลของตนและขอใหสํานักงานทําสําเนาขอมูล
สวนบุคคลดังกลาวใหแกเจาของขอมูลสวนบุคคล รวมถึงขอใหสํานักงานเปดเผยการไดมาซึ่งขอมูลสวนบุคคล
ที่เจาของขอมูลสวนบุคคลไมไดใหความยินยอมตอสํานักงานได
(๓) สิทธิในการแกไขขอมูลสวนบุคคลใหถูกตอง (right to rectification)
เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิขอใหสํานักงานแกไขขอมูลสวนบุคคลที่ไมถูกตอง หรือเพิ่มเติมขอมูล
สวนบุคคลที่ไมสมบูรณ
(๔) สิทธิในการลบขอมูลสวนบุคคล (right to erasure)
เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิในการขอใหสํานักงานทําการลบขอมูลสวนบุคคลของตนดวยเหตุ
บางประการได
(๕) สิทธิในการระงับการใชขอมูลสวนบุคคล (right to restriction of processing)
เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิระงับการใชขอมูลสวนบุคคลของตนดวยเหตุบางประการได
(๖) สิทธิในการใหโอนยายขอมูลสวนบุคคล (right to data portability)
๑๑
เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิใหสํานักงานโอนยายขอมูลสวนบุคคลซึ่งเจาของขอมูลสวนบุคคล
ไดใหไวกับสํานักงานไปยังผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลรายอื่น หรือตัวเจาของขอมูลสวนบุคคลเองดวยเหตุ
บางประการได
(๗) สิทธิในการคัดคานการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล (right to object)
เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิคัดคานการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลของตนดวยเหตุบางประการได
สํานักงานเคารพการตัดสินใจการเพิกถอนความยินยอมของเจาของขอมูลสวนบุคคล แตอยางไรก็ตาม
สํานักงานขอแจงใหเจาของขอมูลสวนบุคคลทราบวาอาจมีขอจํากัดสิทธิในการเพิกถอนความยินยอมโดย
กฎหมายหรือสัญญาที่ใหประโยชนแกเจาของขอมูลสวนบุคคล ทั้งนี้ การเพิกถอนความยินยอมยอมไมสงผล
กระทบตอการเก็บรวบรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคลที่เจาของขอมูลสวนบุคคลไดใหความยินยอมไวแลว
๗. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยสําหรับขอมูลสวนบุคคล
สํานักงานจัดใหมีมาตรการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม เพื่อปองกัน การเขาถึง การใช
การเปลี่ยนแปลง การแกไข หรือการเปดเผยขอมูลสวนบุคคลโดยปราศจากอํานาจหรือโดยมิชอบ นอกจากนี้
สํานักงานไดกําหนดแนวปฏิบัติภายในสํานักงานเพื่อกําหนดสิทธิในการเขาถึงหรือการใชขอมูลสวนบุคคลของ
เจาของขอมูลสวนบุคคล เพื่อรักษาความลับและความปลอดภัยของขอมูล และสํานักงานจะจัดใหมีการ
ทบทวนมาตรการดังกลาวเปนระยะเพื่อความเหมาะสม
๘. การใชคุกกี้ (Cookies)
คุกกี้ (Cookies) หมายถึง ขอมูลขนาดเล็กที่เว็บไซตสงไปเก็บไวกับเจาของขอมูลสวนบุคคลที่เขาชม
เว็บไซต เพื่อชวยใหเว็บไซตจดจําขอมูลเขาชมของเจาของขอมูลสวนบุคคล เชน ภาษาที่เลือกใชเปนอันดับแรก
ผูใชของระบบ หรือการตั้งคาอื่น ๆ เมื่อเจาของขอมูลสวนบุคคลเขาชมเว็บไซตในครั้งถัดไป เว็บไซตจะจดจําได
วาเปนผูใชที่เคยเขาใชบริการแลว และตั้งคาตามที่เจาของขอมูลสวนบุคคลกําหนด จนกวาเจาของขอมูล
สวนบุคคลจะลบคุกกี้ (Cookies) หรือไมอนุญาตใหคุกกี้ (Cookies) นั้นทํางานอีกตอไป ซึ่งเจาของขอมูล
สวนบุคคลสามารถที่จะยอมรับหรือไมรับคุกกี้ (Cookies) ก็ได ในกรณีที่เลือกที่จะไมรับหรือลบคุกกี้ (Cookies)
เว็บไซตอาจจะไมสามารถใหบริการหรือไมสามารถแสดงผลไดอยางถูกตอง
๙. การปรับปรุงนโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคล
สํานักงานอาจทําการปรับปรุงหรือแกไขนโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคล โดยมิตองแจง
ใหเจาของขอมูลสวนบุคคลทราบลวงหนา ทั้งนี้ เพื่อความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการใหบริการ ดังนั้น
สํานักงานจึงขอแนะนําใหเจาของขอมูลสวนบุคคลอานนโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคลทุกครั้งที่เยี่ยมชม
หรือใชบริการจากสํานักงานหรือเว็บไซตของสํานักงาน
๑๒
๑๐. การปฏิบัติตามนโยบายคุมครองขอมูลสวนบุคคลและการติดตอกับสํานักงาน
ในกรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคลมีขอสงสัยหรือขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายการคุมครองขอมูล
สวนบุคคลหรือการปฏิบัติตามนโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคลฉบับนี้ สํานักงานยินดีตอบขอสงสัย และ
รับฟงขอเสนอแนะ เพื่อประโยชนตอการปรับปรุงการคุมครองขอมูลสวนบุคคลและการใหบริการของ
สํานักงานตอไป โดยเจาของขอมูลสวนบุคคลสามารถติดตอกับสํานักงานไดที่ dpo@nstda.or.th หรือ
ตามที่อยูดานลางนี้
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
๑๑๑ อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถนนพหลโยธิน
ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ๑๒๑๒๐
๑๓
๓. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับฐานในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล
การประมวลผลขอมูลจะเกิดขึ้นอยางถูกตองไดตอเมื่อมีฐาน (basis) หรือเหตุผลในการประมวลผล
ขอมูลนั้น ๆ ไมวาจะเปนการเก็บรวบรวม การใช การเปดเผย โดยในการประมวลผลขอมูลแตละครั้ง
หนวยงานจะตองสามารถระบุฐานที่ใชในการประมวลผลในแตละกิจกรรมใหไดฐานใดฐานหนึ่ง และจะตอง
แจงฐานในการประมวลผลใหเจาของขอมูลสวนบุคคลทราบ และดําเนินการกับขอมูลนั้น ๆ ตามขอจํากัดที่
แตกตางกันของแตละฐาน รวมถึงเก็บบันทึกไวดวยวาใชฐานใดการประมวลผลขอมูลแตละชุดดวย
ตามกฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคล6
๗ กําหนดฐานไวทั้งหมดจํานวน ๗ ฐาน โดยกําหนดใหฐาน
ความยินยอมเปนฐานหลักในการประมวลผลขอมูล ซึ่งความยินยอม (consent) เปนฐานที่มีความสําคัญมาก
เนื่องจากเปนสิ่งที่ทําใหเจาของขอมูลสามารถ “เลือก” จัดการขอมูลของตนเองไดอยางเต็มที่ที่สุด
อยางไรก็ตามกฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคลยังกําหนดฐานอื่น ๆ อีก ๖ ฐาน ไวสําหรับการประมวลผล
ขอมูลสวนบุคคล ซึ่งในแนวทางการดําเนินการฉบับนี้ จะไดกลาวถึงฐานทั้ง ๗ ฐาน ดังนี้
๓.๑ ฐานสัญญา (CONTRACT)
กรณีการประมวลผลขอมูลจําเปนตอการดําเนินการตามสัญญาที่ตกลงกันไวระหวางผูควบคุมขอมูล
และเจาของขอมูลสวนบุคคล เชน การประมวลผลขอมูลธุรกรรมเพื่อคํานวณดอกเบี้ยธนาคาร หรือ
เมื่อจําเปนตองประมวลผลขอมูลสวนบุคคลเพื่อปฏิบัติตามคําขอของเจาของขอมูลกอนที่จะเขาสูการทําสัญญา
หากใชสัญญาดังกลาวเปนฐานในการประมวลผลแลว ไมตองขอความยินยอมเพิ่มเติม เชน การขอขอมูล
สวนบุคคลของพนักงานเทาที่จําเปนเพื่อใชในการทําสัญญาจาง การตรวจสอบขอมูลสวนบุคคลกอนการเปด
๗
มาตรา ๒๔ หามมิใหผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลทาการเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลโดยไมไดรับความยินยอมจากเจาของ
ขอมูลสวนบุคคล เวนแต
(๑) เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่เกี่ยวกับการจัดทําเอกสารประวัติศาสตรหรือจดหมายเหตุเพื่อประโยชนสาธารณะ
หรือที่เกี่ยวกับการศึกษาวิจัยหรือสถิติซึ่งไดจัดใหมีมาตรการปกปองที่เหมาะสมเพื่อคุมครองสิทธิและเสรีภาพของเจาของขอมูล
สวนบุคคล ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
(๒) เพื่อปองกันหรือระงับอันตรายตอชีวิต รางกาย หรือสุขภาพของบุคคล
(๓) เปนการจําเปนเพื่อการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจาของขอมูลสวนบุคคลเปนคูสัญญาหรือเพื่อใชในการดําเนินการ
ตามคําขอของเจาของขอมูลสวนบุคคลกอนเขาทําสัญญานั้น
(๔) เปนการจําเปนเพื่อการปฏิบัติหนาที่ในการดําเนินภารกิจเพื่อประโยชนสาธารณะของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล
หรือปฏิบัติหนาที่ในการใชอํานาจรัฐที่ไดมอบใหแกผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล
(๕) เปนการจําเปนเพื่อประโยชนโดยชอบดวยกฎหมายของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลหรือของบุคคลหรือนิติบุคคล
อื่นที่ไมใชผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล เวนแตประโยชนดังกลาวมีความสําคัญนอยกวาสิทธิขั้นพื้นฐานในขอมูล
สวนบุคคลของเจาของขอมูลสวนบุคคล
(๖) เปนการปฏิบัติตามกฎหมายของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล
๑๔
บัญชีหรือยื่นกูเงินจากธนาคาร การขอขอมูลของคูสัญญาเพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการทําสัญญา7
๘ การซื้อของ
ออนไลนที่ผูขายจะตองทราบชื่อที่อยูซึ่งเปนขอมูลสวนบุคคลของผูซื้อเพื่อความจําเปนในการสงสินคาใหแก
ผูซื้อ8
๙ เปนตน อยางไรก็ตามฐานสัญญานี้ใชไดกับขอมูลสวนบุคคลทั่วไปเทานั้น ไมสามารถใชฐานสัญญาใน
การประมลผลขอมูลออนไหว (sensitive data) ได
ขอควรระวังเกี่ยวกับการอางฐานสัญญาในที่นี้จํากัดอยูแคเพียง “การปฏิบัติตามสัญญา” ตามปกติ
ของการดําเนินงานใหเปนไปตามสัญญาเทานั้น ไมรวมถึงกรณีที่เกิดปญหาหรือขอพิพาทที่เกี่ยวของกับสัญญา
นั้น9
๑๐
๓.๒ ฐานความยินยอม (CONSENT)
หนวยงานสามารถใชฐานความยินยอมในการประมวลผลขอมูลไดในกรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคล
สมัครใจและใหความยินยอมอยางชัดแจงที่จะทําการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลไดตามวัตถุประสงคที่แจง
แกเจาของขอมูลสวนบุคคล อยางไรก็ตาม ฐานความยินยอมเหมาะสมตอเมื่อตองการขอความยินยอมเพื่อ
ประมวลผลขอมูลสวนบุคคลในเรื่องที่ไมจําเปนในการปฏิบัติตามสัญญาและไมสามารถอางฐานอื่นใดในการ
ประมวลผลขอมูลทางกฎหมายได10
๑๑ (กลาวคือ การขอความยินยอมเหมาะสําหรับกรณีที่การประมวลผลนั้น
ไมสามารถอางฐานอื่นได) สําหรับเงื่อนไขและรายละเอียดการขอความยินยอมภายใตฐานความยินยอม โปรดดู
ขอ ๔ แนวปฏิบัติกรณีที่หนวยงานประมวลผลขอมูลสวนบุคคลโดยอาศัยฐานความยินยอมในการเก็บรวบรวม
ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคล
ทั้งนี้ ความยินยอมจะตองไมเปนเงื่อนไขในการรับบริการ หรือผูกติดอยูกับความจําเปนในการปฏิบัติ
ตามสัญญา การใชความยินยอมเปนฐานในการประมวลผลจึงมักเกิดขึ้นในกรณีที่เปนบริการเสริมจากบริการ
หลักซึ่งไมครอบคลุมตามสัญญา การใชฐานความยินยอมจึงตองกระทําโดยความระมัดระวัง อีกทั้งควร
ตระหนักวาหนวยงานจะมีภาระการพิสูจนวาเจาของขอมูลนั้นไดยินยอมโดยสมัครใจจริง ๆ และไดใชขอมูล
สวนบุคคลตามวัตถุประสงคที่แจงไวเทานั้น การใหความยินยอมจึงไมใชใบอนุญาตที่ใหหนวยงานทําอะไรกับ
ขอมูลนั้นได11
๑๒
๘
https://blog.focal-point.com/9-examples-of-lawful-basis-for-processing-under-the-gdpr
๙
https://ico.org.uk/for-organisations/guide-to-data-protection/guide-to-the-general-data-protection-
regulation-gdpr/lawful-basis-for-processing/contract/
๑๐
Thailand Data Protection Guidelines 2.0 หนา ๕๔
๑๑
Guideline on Personal Data Protection for Thai banks หนา ๒๕
๑๒
Thailand Data Protection Guidelines 2.0 หนา ๕๔
๑๕
๓.๓ ฐานประโยชนสําคัญตอชีวิต (ระงับอันตรายตอชีวิต รางกาย สุขภาพ) (VITAL INTEREST)
ฐานประโยชนสําคัญตอชีวิตเปนฐานที่ใชในกรณีเพื่อรักษาประโยชนอันจําเปนตอชีวิต รางกาย หรือ
สุขภาพของบุคคล12
๑๓ กรณีที่การประมวลผลขอมูลมีความจําเปนตอการปกปองประโยชนสําคัญของเจาของ
ขอมูลหรือบุคคลอื่น เชน ปองกันอันตรายรายแรงอันอาจเกิดตอสุขภาพและชีวิตดวยการประมวลผลขอมูล
สุขภาพหรือขอมูลออนไหว (sensitive data) ผูประมวลผลจะสามารถใชฐานนี้ในการประมวลผลไดเฉพาะ
ในกรณีที่เจาของขอมูลอยูในสภาวะที่ไมสามารถใหความยินยอมได และไมมีวิธีอื่นที่สามารถปกปองชีวิตบุคคล
นั้นได13
๑๔ เชน กรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคลนั้นประสบอุบัติเหตุรายแรงและอาจมีอันตรายตอชีวิต และ
มีความจําเปนจะตองเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลที่มีความออนไหวของบุคคลดังกลาว โดยที่เจาของขอมูลไม
มีสติที่จะใหความยินยอมได14
๑๕ แตหากเปนการรักษาที่มีการวางแผนลวงหนาจะไมสามารถอางฐานนี้เพื่อเก็บ
รวบรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคลของผูนั้นได
“การปองกันหรือระงับอันตรายตอชีวิต รางกาย หรือสุขภาพของบุคคล” ไมไดจํากัดเฉพาะชีวิต
รางกาย หรือสุขภาพของบุคคลเจาของขอมูลเทานั้น แตยังหมายความรวมถึงการรักษาประโยชนสาธารณะ
ของบุคคลอื่นอีกดวย เชน การเก็บรวบขอมูลสวนบุคคลที่มีความออนไหวเพื่อประโยชนในทางมนุษยธรรม เชน
การเฝาระวังโรคระบาดและการแพรกระจายของโรคระบาด หรือในกรณีภัยพิบัติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือ
เปนภัยพิบัติที่มนุษยไดกอขึ้น15
๑๖
๓.๔ ฐานปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย (LEGAL OBLIGATION)
กรณีการประมวลผลขอมูลจําเปนตอการปฏิบัติหนาที่ที่ผูควบคุมขอมูลนั้นมีตามที่กฎหมายกําหนด
ผูควบคุมขอมูลจะตองระบุไดอยางชัดเจนวากําลังปฏิบัติหนาที่ตามบทบัญญัติใดของกฎหมาย หรือทําตาม
คําสั่งของหนวยงานใดของรัฐที่มีอํานาจ16
๑๗ และกรณีที่เปนการประมวลผลตามฐานปฏิบัติตามกฎหมายนี้
เจาของขอมูลสวนบุคคลจะไมมีสิทธิในการลบ โอนยายขอมูล หรือคัดคานการประมวลผล17
๑๘
ตัวอยาง
๑๓
พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ.๒๕๖๒ มาตรา ๒๖(๑)
๑๔
พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ.๒๕๖๒ มาตรา ๒๔(๒)
๑๕
Vital interests, INFORMATION COMMISSIONER’S OFFICE (2019), https://ico.org.uk/for-organisations/guide-
to-data-protection/guide-to-the-general-data-protection-regulation-gdpr/lawful-basis-for-processing/vital-
interests/ (last visited Sep 25, 2019).
๑๖
GDPR, Article 46 para 3. อางใน TDPG 2.0 หนา ๔๖
๑๗
พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ.๒๕๖๒ มาตรา ๒๔(๖)
๑๘
TDPG2.0 หนา ๗๖
๑๖
๑. นายจางเปดเผยขอมูลเงินเดือนของลูกจางตอกรมสรรพากรเพื่อแจกแจงรายละเอียดในการคํานวณ
รายไดรายจายของกิจการตามมาตรา ๖๕ ประมวลรัษฎากร
๒. สถาบันการเงินแจงผลการตรวจสอบความถูกตองของรายการทรัพยสินและหนี้สินใหกับ
คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติตามมาตรา ๑๑๒ ของพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต
๓. การเปดเผยขอมูลสวนบุคคลของพนักงานตามคําสั่งศาล
๔. บริษัทผูใหบริการบัตรโดยสารสาธารณะขอสําเนาประชาชนเพื่อปฏิบัติตามกฎเกณฑเรื่องการ
ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน โดยเก็บไวเฉพาะขอมูลที่เกี่ยวของเทานั้น (ตัดขอมูลที่ไมเกี่ยวของ เชน
กรุปเลือด ศาสนา ออกไป)
๕. ผูใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่เก็บขอมูลจราจรตามที่กาหนดในกฎหมายเกี่ยวกับการ
กระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
๓.๕ ฐานภารกิจของรัฐ (PUBLIC TASK)
กรณีที่การประมวลผลขอมูลจําเปนตอการดําเนินงานตามภารกิจของรัฐเพื่อประโยชนสาธารณะ
ที่กําหนดไวตามกฎหมาย ผูที่จะประมวลผลขอมูลตามฐานนี้ไดสวนใหญเปนเจาหนาที่หรือองคกรของรัฐ เชน
สํานักงานศาลยุติธรรม สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา เจาหนาที่ของกระทรวงตาง ๆ
ที่ปฏิบัติภารกิจตามกฎหมาย รวมถึงหนวยงานเอกชนที่ปฏิบัติหนาที่ในการใชอํานาจที่รัฐไดมอบหมายใหเพื่อ
ผลประโยชนสาธารณะตามกฎหมาย เชน การใหบริการสอบใบอนุญาตขับขี่รถยนต โดยอํานาจหนาที่อันเปน
ที่มาของภารกิจจะตองมีความชัดเจนโดยสามารถอางอิงถึงกฎหมายที่ใหอานาจไดอยางเฉพาะเจาะจง18
๑๙
การประมวลผลบนฐานภารกิจของรัฐนี้ไมไดใหอํานาจโดยไรเงื่อนไข แตกลับมีหลักการสําคัญ คือ
หลักความไดสัดสวนและมีหนาที่ของผูควบคุมขอมูลที่ตองปฏิบัติตามอยูเชนเดียวกับฐานอื่น ๆ โดยเฉพาะ
อยางยิ่งในเรื่องที่เกี่ยวของกับการรักษาความปลอดภัยของขอมูล ทั้งนี้ หากเปนการประมวลผลตามฐานนี้
เจาของขอมูลสวนบุคคลจะไมมีสิทธิในการลบ และโอนยายขอมูล แตมีสิทธิในคัดคานการประมวลผล
ตัวอยาง
(๑) กรมสรรพากรคิดคํานวณขอมูลเงินเดือนของลูกจางเพื่อตรวจสอบการรายการรายไดรายจาย
ที่กิจการนั้น ๆ ยื่น
(๒) คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเก็บรวมรวมขอมูลเกี่ยวกับการตรวจสอบ
ความถูกตองของรายการทรัพยสินและหนี้สินจากสถาบันการเงิน
๑๙
พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๒๔ (๔)
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1
Nstda pdpa-guideline-v1

More Related Content

Similar to Nstda pdpa-guideline-v1

5470721 Authentication Chillispot
5470721 Authentication Chillispot5470721 Authentication Chillispot
5470721 Authentication ChillispotDanai Thongsin
 
ใบงานประวัติ
ใบงานประวัติใบงานประวัติ
ใบงานประวัติpoomarin
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestWeerachat Martluplao
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pWareerut Suwannalop
 
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตpor
 
วิชาโครงงาน
วิชาโครงงานวิชาโครงงาน
วิชาโครงงานAjBenny Pong
 
บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
บทท   11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษาบทท   11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษาJ-Kitipat Vatinivijet
 

Similar to Nstda pdpa-guideline-v1 (14)

CCA Preparation for Organization
CCA Preparation for OrganizationCCA Preparation for Organization
CCA Preparation for Organization
 
5470721 Authentication Chillispot
5470721 Authentication Chillispot5470721 Authentication Chillispot
5470721 Authentication Chillispot
 
Ministerial Regulation
Ministerial RegulationMinisterial Regulation
Ministerial Regulation
 
ใบงานประวัติ
ใบงานประวัติใบงานประวัติ
ใบงานประวัติ
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Security, privacy, ethics
Security, privacy, ethicsSecurity, privacy, ethics
Security, privacy, ethics
 
WeGuardSummary
WeGuardSummaryWeGuardSummary
WeGuardSummary
 
56456456
5645645656456456
56456456
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontest
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
 
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
 
3 glicensing
3 glicensing3 glicensing
3 glicensing
 
วิชาโครงงาน
วิชาโครงงานวิชาโครงงาน
วิชาโครงงาน
 
บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
บทท   11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษาบทท   11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
 

Nstda pdpa-guideline-v1

  • 2. สารบัญ ๑. บทนําและคํานิยาม....................................................................................................................................๑ ๒. ประกาศสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ เรื่อง นโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคล ของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ...............................................................................๕ ๑. คํานิยาม...............................................................................................................................................๕ ๒. แหลงที่มาของขอมูลสวนบุคคล............................................................................................................๘ ๓. วัตถุประสงคในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล..................................................................................๙ ๔. การประมวลผลขอมูลสวนบุคคล..........................................................................................................๙ ๕. ระยะเวลาในการเก็บรักษาขอมูลสวนบุคคล......................................................................................๑๐ ๖. สิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคล......................................................................................................๑๐ ๗. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยสําหรับขอมูลสวนบุคคล ....................................................................๑๑ ๘. การใชคุกกี้ (Cookies) ...................................................................................................................... ๑๑ ๙. การปรับปรุงนโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคล...........................................................................๑๑ ๑๐. การปฏิบัติตามนโยบายคุมครองขอมูลสวนบุคคลและการติดตอกับสํานักงาน.................................๑๒ ๓. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับฐานในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล........................................................๑๓ ๔. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีที่หนวยงานประมวลผลขอมูลสวนบุคคลโดย อาศัยฐานความยินยอม................................................................................................................................ ๑๙ ๕. แนวทางการดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีที่หนวยงานเก็บรวบรวมขอมูลสวน บุคคลไวกอนวันที่พระราชบัญญัติการคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มีผลบังคับใช (กอนวันที่ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓).............................................................................................................................. ๒๕ ๖. แนวทางการดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานมีการจัดทําเว็บไซต หรือ Mobile Application.................................................................................................................................. ๒๖ ๗. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานมีการจัดทําแบบฟอรมรูปแบบ เอกสารและรูปแบบออนไลน........................................................................................................................ ๓๔ ๘. แนวทางการดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานที่มีการบันทึกภาพผูมาติดตอ หรือแลกบัตรหรือเอกสารที่มีขอมูลสวนบุคคล เพื่อความปลอดภัย...............................................................๓๖
  • 3. ๙. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานมีการใชกลองโทรทัศนวงจรปด (CCTV) เพื่อการวิจัย พัฒนา........................................................................................................................ ๓๖ ๑๐. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานมีการจัดกิจกรรมอบรม สัมมนา หรือประชุม.................................................................................................................................................. ๓๙ ๑๑. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานมีการเก็บรวบ ใช หรือเปดเผย ขอมูลสวนบุคคลของผูเยาว.......................................................................................................................... ๔๑ ๑๒. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล กรณีหนวยงานที่มีการทําขอมูลสวนบุคคลใน รูปแบบขอมูลนิรนาม/ขอมูลแฝง..................................................................................................................๔๔
  • 4. ๑ ๑. บทนําและคํานิยาม ๑.๑ บทนํา คูมือแนวทางดําเนินการนี้เปนเครื่องมือสําคัญประการหนึ่งที่ชวยใหการดําเนินการตามกฎหมายหรือ หลักการใด ๆ ที่กําหนดขึ้นเปนไปในอยางสมเหตุสมผลในทางปฏิบัติ เพราะในความจริงแลวการบัญญัติ กฎหมายหรือกําหนดหลักการ “อะไร” ขึ้นมาประการหนึ่งและกําหนด “ใหทํา” (prescriptive) “ไมใหทํา” (proscriptive) หรือ “อธิบาย” (descriptive) สิ่งนั้น ยอมตามมาซึ่งคําถามเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติวาควรทํา “อยางไร” โดยเฉพาะอยางยิ่งกับกฎหมายที่โดยทั่วไปแลวสามารถกําหนดไดเพียงในระดับที่กําหนด “หาม” เปนหลักการไวเทานั้น แตในขั้นตอนปฏิบัติยอมไมสามารถลงรายละเอียดวิธีการหรือกรณีเฉพาะทั้งปวงได เพราะจะทําใหกฎหมายนั้นมีความเครงครัดมากเสียจนไมอาจนําไปใชไดจริง ในกรณีของ “การคุมครองขอมูลสวนบุคคล” ก็เชนเดียวกัน เนื่องจากกฎหมายไมสามารถกําหนด วิธีปฏิบัติในรายละเอียดลงไปโดยสมบูรณได จึงมีคําถามเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติวาควรทํา “อยางไร” มีขอสังเกต วากฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคลมีเปาหมายระบุโดยตรงไปที่ “ขอมูลสวนบุคคล” (Personal Data) ไมใช “ตัวบุคคล” (Person) โดยตรง ซึ่งการคุมครองขอมูลสวนบุคคลนั้นจะมีผลเปนการปกปอง “บุคคล” จาก ผลรายที่อาจเกิดขึ้นจากการประมวลผล “ขอมูลสวนบุคคล” อีกชั้นหนึ่ง การคุมครองขอมูลสวนบุคคล มีผลชัดเจนเมื่อสหภาพยุโรปไดออกกฎหมายฉบับใหมเกี่ยวกับการ คุมครองขอมูลสวนบุคคลหรือที่เรียกกันวา “GDPR” (EU General Data Protection Regulation) ซึ่งเปน การปรับปรุงกฎหมายเดิม (EU Data 16 Thailand Data Protection Guidelines 2.0 Protection Directive 95/46/EC) ซึ่งใชบังคับมานานมากวา ๒๐ ป ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงหลักการที่สําคัญ เชน • กําหนดการใชอํานาจนอกอาณาเขต (extraterritorial jurisdiction) กลาวคือ ขอมูลสวนบุคคล ของสหภาพยุโรปอยูภายใตความคุมครองไมวาจะอยูในที่ใดในโลก • กําหนดบทลงโทษสูงขึ้น โดยองคกรที่กระทําผิดอาจตองจายคาปรับสูงถึงอัตรารอยละ ๔ ของ ผลประกอบการรายไดทั่วโลก • กําหนดใหการขอความยินยอมจากเจาของขอมูลตองชัดเจนและชัดแจง (clear and affirmative consent) • กําหนดการแจงเตือนเมื่อเกิดเหตุขอมูลรั่วไหล หนวยงานผูควบคุมขอมูลและผูประมวลผล ขอมูลตองแจงใหหนวยงานกํากับดูแล และประชาชนทราบภายใน ๗๒ ชั่วโมง
  • 5. ๒ • กําหนดขอบเขตสิทธิของเจาของขอมูล ใหผูควบคุมขอมูลตองแจงใหเจาของขอมูลทราบวา ขอมูลจะถูกใชอยางไร เพื่อวัตถุประสงคใด และตองจัดทําสําเนาขอมูลใหกับเจาของขอมูลในรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส โดยหามเก็บคาใชจายเพิ่ม • กําหนดรับรองสิทธิในการโอนขอมูลไปยังผูประกอบการอื่น (Right to data portability) • กําหนดรับรองสิทธิที่จะถูกลืม (Right to be forgotten) เจาของขอมูลสามารถขอใหหนวยงาน ควบคุมขอมูลลบขอมูลของตัวเองออกได GDPR มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ที่ผานมา ซึ่งนอกจากการมีผลบังคับใชแกการ สงขอมูลภายในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปแลว สวทช. ควรดําเนินการเตรียมพรอมมาตรการคุมครองขอมูล สวนบุคคลที่เหมาะสมเชนเดียวกัน คูมือแนวทางดําเนินการนี้มีเจตนาที่จะแนะนําวิธีการวาควรทํา “อยางไร” ซึ่งหมายความวาคูมือ แนวทางดําเนินการนี้เปนเพียงคําอธิบายของวิธีการเพื่อการคุมครองขอมูลสวนบุคคลซึ่งจําเปนตองพัฒนาอยาง ตอเนื่องตอไป การดําเนินการคุมครองขอมูลสวนบุคคลตามคูมือแนวทางดําเนินการนี้จึงไมใชการปฏิบัติตาม กฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคลหรือมาตรฐาน GDPR ที่ครบถวน แตเปนเพียงขอแนะนําที่ควรจะตองปฏิบัติ และพัฒนาปรับปรุงตอเนื่องตอไป 0 ๑ การคุมครองขอมูลสวนบุคคลกับการดําเนินงานของ สวทช. กฎหมายการคุมครองขอมูลสวนบุคคลของประเทศไทยมีการอางอิงกับกฎหมายของสหภาพยุโรป ที่เรียกกันวา “GDPR” (EU General Data Protection Regulation) ซึ่งเปนเวลากวา ๒๐ ป ที่ไดมีการ พยายามผลักดันใหมีกฎหมายการคุมครองขอมูลสวนบุคคล จนประสบความสําเร็จและประกาศ พระราชบัญญัติการคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ และมีผลบังคับใชอยางสมบูรณ ตั้งแตวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เปนตนไป โดยการประกาศ ๑ แหลงขอมูล • General Data Protection Regulation : GDPR https://gdpr-info.eu/ • พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ https://oer.learn.in.th/search_detail/result/138564 • แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล Thailand Data Protection Guidelines Final Version 2.0 https://oer.learn.in.th/search_detail/result/161851 • ประกาศสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ เรื่อง นโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคลของสํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ https://www.nstda.or.th/th/97-about-us/about-us/547-nstda-privacy- policy
  • 6. ๓ ใชพระราชบัญญัติการคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ นี้ เปนไปเพื่อใหการคุมครองขอมูลสวนบุคคลมี ประสิทธิภาพและเพื่อใหมีมาตรการเยียวยาเจาของขอมูลสวนบุคคลจากการถูกละเมิดสิทธิในขอมูลสวนบุคคล ที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงคและเปาหมาย คูมือแนวทางดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติฉบับนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใหมั่นใจวา สวทช. เขาใจถึงการคุมครองขอมูลสวนบุคคล และ เพื่อเปนแนวทางในการคุมครองขอมูลสวนบุคคลและปฏิบัติใหถูกตองตามพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวน บุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยหนวยงานภายใน สวทช. ที่มีกิจกรรมหรือการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับการคุมครอง ขอมูลสวนบุคคล สามารถนําคูมือแนวทางดําเนินการนี้ไปเปนแนวทางในการดําเนินการเพื่อคุมครองขอมูลสวน บุคคล ๑.๒ คํานิยาม การประมวลผลขอมูลสวนบุคคล – Processing of Personal Data การดําเนินการหรือชุดการดําเนินการใด ๆ ซึ่งกระทําตอขอมูลสวนบุคคลหรือชุดขอมูลสวนบุคคล ไมวาจะโดยวิธีการอัตโนมัติหรือไม เชน การเก็บ บันทึก จัดระบบ จัดโครงสราง เก็บรักษา เปลี่ยนแปลงหรือ ปรับเปลี่ยน การรับ พิจารณา ใช เปดเผยดวยการสงตอ เผยแพร หรือการกระทําอื่นใดซึ่งทําใหเกิดความพรอม ใชงาน การจัดวางหรือผสมเขาดวยกัน การจํากัด การลบ หรือการทําลาย การจัดทําขอมูลนิรนาม - Anonymization กระบวนการที่ทําใหความเสี่ยงในการระบุตัวตนของเจาของขอมูลนั้นนอยมากจนแทบไมตองให ความสําคัญกับความเสี่ยง (negligible risk) การแฝงขอมูล - Pseudonymization การประมวลผลขอมูลสวนบุคคลในลักษณะที่ขอมูลสวนบุคคลไมสามารถระบุตัวเจาของขอมูลได หากปราศจากการใชขอมูลเพิ่มเติมประกอบ ทั้งนี้ขอมูลเพิ่มเติมนี้มีการเก็บรักษาไวแยกออกจากกันและ อยูภายใตมาตรการเชิงเทคนิคและมาตรการเชิงบริหารจัดการเพื่อประกันวาขอมูลสวนบุคคลจะไมสามารถระบุ ไปถึงบุคคลธรรมดาได ขอมูลสวนบุคคลรั่วไหล - Personal Data Breach การรั่วไหลหรือละเมิดมาตรการความมั่นคงปลอดภัยตอขอมูลสวนบุคคลทําใหเกิดความเสียหาย สูญหาย เปลี่ยนแปลง เปดเผยโดยไมไดรับอนุญาต หรือเขาถึงขอมูลสวนบุคคลที่ใชงาน
  • 7. ๔ ขอมูลสวนบุคคลแฝง - Pseudonymous Data ขอมูลที่ไมสามารถใชระบุตัวเจาของขอมูลไดหากปราศจากการใชขอมูลประกอบเพิ่มเติม ขอมูลนิรนาม - Anonymous Data ขอมูลที่ไมสามารถใชเพื่อระบุตัวตนของบุคคลใดบุคคลหนึ่งได
  • 8. ๕ ๒. ประกาศสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ เรื่อง นโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคลของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ โดยที่มีพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ประกอบกับสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติใหความสําคัญ อยางยิ่งตอการคุมครองขอมูลสวนบุคคลและการปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคล และเพื่อให เจาของขอมูลสวนบุคคลเชื่อมั่นวาสํานักงานจะดูแลรักษาขอมูลสวนบุคคลของเจาของขอมูลสวนบุคคลและ จัดใหมีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม สํานักงานจึงไดจัดทํานโยบายการคุมครองขอมูล สวนบุคคลของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ดังนี้ ๑. คํานิยาม “สํานักงาน” หมายถึง สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ “บุคคล” หมายถึง บุคคลธรรมดา “ขอมูลสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทําใหสามารถระบุตัวบุคคลนั้นได ไมวาทางตรง หรือทางออม แตไมรวมถึงขอมูลของผูถึงแกกรรมโดยเฉพาะ อาทิ ชื่อ นามสกุล ชื่อเลน ที่อยู หมายเลข โทรศัพท เลขประจําตัวประชาชน เลขหนังสือเดินทาง เลขบัตรประกันสังคม เลขใบอนุญาตขับขี่ เลขประจําตัว ผูเสียภาษี เลขบัญชีธนาคาร เลขบัตรเครดิต ที่อยูอีเมล (email address) ทะเบียนรถยนต โฉนดที่ดิน IP Address, Cookie ID, Log File เปนตน อยางไรก็ดี ขอมูลตอไปนี้ไมใชขอมูลสวนบุคคล เชน ขอมูลสําหรับ การติดตอทางธุรกิจที่ไมไดระบุถึงตัวบุคคล อาทิ ชื่อบริษัท ที่อยูของบริษัท เลขทะเบียนนิติบุคคลของบริษัท หมายเลขโทรศัพทของที่ทํางาน ที่อยูอีเมล (email address) ที่ใชในการทํางาน ที่อยูอีเมล (email address) กลุมของบริษัท เชน info@company.co.th ขอมูลนิรนาม (Anonymous Data) หรือขอมูลแฝงที่ถูกทําใหไม สามารถระบุตัวบุคคลไดอีกโดยวิธีการทางเทคนิค (Pseudonymous Data) ขอมูลผูถึงแกกรรม เปนตน “ขอมูลสวนบุคคลออนไหว” หมายถึง ขอมูลที่เปนเรื่องสวนบุคคลโดยแทของบุคคล แตมีความละเอียดออน และอาจสุมเสี่ยงในการเลือกปฏิบัติอยางไมเปนธรรม เชน เชื้อชาติ เผาพันธุ ความคิดเห็นทางการเมือง ความ เชื่อในลัทธิ ศาสนาหรือปรัชญา พฤติกรรมทางเพศ ประวัติอาชญากรรม ขอมูลสุขภาพ ความพิการ ขอมูล สหภาพแรงงาน ขอมูลพันธุกรรม ขอมูลชีวภาพ หรือขอมูลอื่นใด ซึ่งกระทบตอเจาของขอมูลสวนบุคคลใน ทํานองเดียวกันตามที่คณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคลประกาศกําหนด “เจาของขอมูลสวนบุคคล” (Data Subject) หมายถึง ตัวบุคคลที่เปนเจาของขอมูลสวนบุคคลนั้น แตไมใช กรณีที่บุคคลมีความเปนเจาของขอมูล (Ownership) หรือเปนผูสรางหรือเก็บรวบรวมขอมูลนั้นเอง โดย
  • 9. ๖ เจาของขอมูลสวนบุคคลนี้จะหมายถึงบุคคลธรรมดาเทานั้น และไมรวมถึง “นิติบุคคล” (Juridical Person) ที่ จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย เชน บริษัท สมาคม มูลนิธิ หรือองคกรอื่นใด ทั้งนี้ เจาของขอมูลสวนบุคคล ไดแก บุคคลดังตอไปนี้ ๑. เจาของขอมูลสวนบุคคลที่เปนผูบรรลุนิติภาวะ หมายถึง ๑.๑ บุคคลที่มีอายุตั้งแต ๒๐ ปบริบูรณ1 ๒ ขึ้นไป หรือ ๑.๒ ผูที่สมรสตั้งแตอายุ ๑๗ ปบริบูรณขึ้นไป หรือ ๑.๓ ผูที่สมรสกอนอายุ ๑๗ ป โดยศาลอนุญาตใหทําการสมรส2 ๓ หรือ ๑.๔ ผูเยาวซึ่งผูแทนโดยชอบธรรมใหความยินยอมในการประกอบธุรกิจทางการคาหรือธุรกิจ อื่น หรือในการทําสัญญาเปนลูกจางในสัญญาจางแรงงาน ในความเกี่ยวพันกับการประกอบธุรกิจหรือ การจางแรงงานขางตนใหผูเยาวมีฐานะเสมือนดังบุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะแลว3 ๔ ๒ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙ บุคคลยอมพนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปบริบูรณ ๓ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๔๔๘ การสมรสจะทําไดตอเมื่อชายและหญิงมีอายุสิบเจ็ดปบริบูรณแลว แตใน กรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอาจอนุญาตใหทําการสมรสกอนนั้นได ๔ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๗ ประกอบกับพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๒๐ ดังนี้ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๗ ผูแทนโดยชอบธรรมอาจใหความยินยอมแกผูเยาวในการประกอบธุรกิจ ทางการคาหรือธุรกิจอื่น หรือในการทําสัญญาเปนลูกจางในสัญญาจางแรงงานได ในกรณีที่ผูแทนโดยชอบธรรมไมใหความ ยินยอมโดยไมมีเหตุอันสมควร ผูเยาวอาจรองขอตอศาลใหสั่งอนุญาตได ในความเกี่ยวพันกับการประกอบธุรกิจหรือการจางแรงงานตามวรรคหนึ่งใหผูเยาวมีฐานะเสมือนดังบุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะ แลว ถาการประกอบธุรกิจหรือการทํางานที่ไดรับความยินยอมหรือที่ไดรับอนุญาตตามวรรคหนึ่ง กอใหเกิดความเสียหายถึงขนาด หรือเสื่อมเสียแกผูเยาว ผูแทนโดยชอบธรรมอาจบอกเลิกความยินยอมที่ไดใหแกผูเยาวเสียได หรือในกรณีที่ศาลอนุญาต ผูแทน โดยชอบธรรมอาจรองขอตอศาลใหเพิกถอนการอนุญาตที่ไดใหแกผูเยาวนั้นเสียได ในกรณีที่ผูแทนโดยชอบธรรมบอกเลิกความยินยอมโดยไมมีเหตุอันสมควร ผูเยาวอาจรองขอตอศาลใหเพิกถอนการบอกเลิก ความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรมได การบอกเลิกความยินยอมโดยผูแทนโดยชอบธรรมหรือการเพิกถอนการอนุญาตโดยศาล ยอมทําใหฐานะเสมือนดังบุคคลซึ่ง บรรลุนิติภาวะแลว ของผูเยาวสิ้นสุดลง แตไมกระทบกระเทือนการใด ๆ ที่ผูเยาวไดกระทําไปแลวกอนมีการบอกเลิกความ ยินยอมหรือเพิกถอนการอนุญาต พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๒๐ ในกรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคลเปนผูเยาวซึ่งยังไมบรรลุ นิติภาวะโดยการสมรส หรือไมมีฐานะเสมือนดังบุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวตามมาตรา ๒๗ แหงประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย การขอความยินยอมจากเจาของขอมูลสวนบุคคลดังกลาว ใหดําเนินการ ดังตอไปนี้
  • 10. ๗ ทั้งนี้ ในการใหความยินยอมใด ๆ เจาของขอมูลสวนบุคคลที่เปนผูบรรลุนิติภาวะสามารถใหความยินยอมได ดวยตนเอง ๒. เจาของขอมูลสวนบุคคลที่เปนผูเยาว หมายถึง บุคคลที่อายุต่ํากวา ๒๐ ปบริบูรณ และไมใช ผูบรรลุนิติภาวะตามขอ ๑ ทั้งนี้ ในการใหความยินยอมใด ๆ จะตองไดรับความยินยอมจากผูใชอํานาจปกครอง ที่มีอํานาจกระทําการแทนผูเยาวดวย ๓. เจาของขอมูลสวนบุคคลที่เปนคนเสมือนไรความสามารถ หมายถึง บุคคลที่ศาลสั่งใหเปน คนเสมือนไรความสามารถ เนื่องจากมีกายพิการหรือมีจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือประพฤติสุรุยสุราย เสเพลเปนอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทํานองเดียวกันนั้น จนไมสามารถจะจัดทําการงาน โดยตนเองได หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแกทรัพยสินของตนเองหรือครอบครัว4 ๕ ทั้งนี้ ในการให ความยินยอมใด ๆ จะตองไดรับความยินยอมจากผูพิทักษที่มีอํานาจกระทําการแทนคนเสมือนไรความสามารถ นั้นกอน (๑) ในกรณีที่การใหความยินยอมของผูเยาวไมใชการใด ๆ ซึ่งผูเยาวอาจใหความยินยอมโดยลําพังไดตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ หรือมาตรา ๒๔ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ตองไดรับความยินยอมจากผูใชอํานาจปกครองที่มี อํานาจกระทําการแทนผูเยาวดวย (๒) ในกรณีที่ผูเยาวมีอายุไมเกินสิบป ใหขอความยินยอมจากผูใชอํานาจปกครองที่มีอํานาจกระทําการแทนผูเยาว ในกรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคลเปนคนไรความสามารถ การขอความยินยอมจากเจาของขอมูลสวนบุคคลดังกลาว ใหขอ ความยินยอม จากผูอนุบาลที่มีอํานาจกระทําการแทนคนไรความสามารถ ในกรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคลเปนคนเสมือนไรความสามารถ การขอความยินยอมจากเจาของขอมูลสวนบุคคลดังกลาว ใหขอความยินยอม จากผูพิทักษที่มีอํานาจกระทําการแทนคนเสมือนไรความสามารถ ใหนําความในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคับกับการถอนความยินยอมของเจาของขอมูลสวนบุคคล การแจงให เจาของขอมูลสวนบุคคลทราบ การใชสิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคล การรองเรียนของเจาของขอมูลสวนบุคคล และการอื่น ใดตามพระราชบัญญัตินี้ในกรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคลเปนผูเยาว คนไรความสามารถ หรือ คนเสมือนไรความสามารถ โดยอนุโลม ๕ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๓๒ บุคคลใดมีกายพิการหรือมีจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือประพฤติ สุรุยสุรายเสเพลเปนอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทํานองเดียวกันนั้น จนไมสามารถจะจัดทําการงานโดยตนเองได หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแกทรัพยสินของตนเองหรือครอบครัว เมื่อบุคคลตามที่ระบุไวในมาตรา ๒๘ รองขอ ตอศาล ศาลจะสั่งใหบุคคลนั้นเปนคนเสมือนไรความสามารถก็ได บุคคลซึ่งศาลไดสั่งใหเปนคนเสมือนไรความสามารถตามวรรคหนึ่ง ตองจัดใหอยูในความพิทักษ การแตงตั้งผูพิทักษ ใหเปนไป ตามบทบัญญัติบรรพ ๕ แหงประมวลกฎหมายนี้ ใหนําบทบัญญัติวาดวยการสิ้นสุดของความเปนผูปกครองในบรรพ ๕ แหง ประมวลกฎหมายนี้มาใชบังคับแกการสิ้นสุดของการเปนผูพิทักษโดยอนุโลม คําสั่งของศาลตามมาตรานี้ ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา
  • 11. ๘ ๔. เจาของขอมูลสวนบุคคลที่เปนคนไรความสามารถ หมายถึง บุคคลที่ศาลสั่งใหเปน คนไรความสามารถ เนื่องจากเปนบุคคลวิกลจริต5 ๖ ทั้งนี้ ในการใหความยินยอมใด ๆ จะตองไดรับความยินยอม จากผูอนุบาลที่มีอํานาจกระทําการแทนคนไรความสามารถนั้นกอน ทั้งนี้ หากการขอความยินยอมจากเจาของขอมูลสวนบุคคลที่ไมเปนไปตามกฎหมายคุมครองขอมูล สวนบุคคลไมมีผลผูกพันเจาของขอมูลสวนบุคคล “ผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล” หมายความวา บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งมีอํานาจหนาที่ตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บ รวบรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคล “ผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคล” หมายความวา บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งดําเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคลตามคําสั่งหรือในนามของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล ทั้งนี้ บุคคลหรือนิติบุคคล ซึ่งดําเนินการดังกลาวไมเปนผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล ๒. แหลงที่มาของขอมูลสวนบุคคล โดยปกติทั่วไปสํานักงานจะไมเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคล เวนแตในกรณี ดังนี้ ๒.๑ สํานักงานไดรับขอมูลสวนบุคคลจากเจาของขอมูลสวนบุคคลโดยตรง โดยสํานักงานจะเก็บ รวบรวมขอมูลสวนบุคคลจากขั้นตอนการใหบริการ ดังนี้ (๑) ขั้นตอนการใชบริการกับสํานักงาน หรือขั้นตอนการยื่นคํารองขอใชสิทธิตาง ๆ กับ สํานักงาน เชน การรับขอมูลขาวสาร การสมัครงาน (๒) การเก็บขอมูลโดยความสมัครใจของเจาของขอมูลสวนบุคคล เชน การทําแบบสอบถาม (survey) หรือ การโตตอบทางที่อยูอีเมล (email address) หรือชองทางการสื่อสารอื่น ๆ ระหวาง สํานักงานและเจาของขอมูลสวนบุคคลฃ (๓) การเก็บขอมูลจากการใชเว็บไซตของสํานักงานผานเบราวเซอรคุกกี้ (browser’s cookies) ของเจาของขอมูลสวนบุคคล และการใชบริการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ๖ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๘ บุคคลวิกลจริตผูใด ถาคูสมรสก็ดี ผูบุพการีกลาวคือ บิดา มารดา ปูยา ตา ยาย ทวดก็ดี ผูสืบสันดานกลาวคือ ลูก หลาน เหลน ลื่อก็ดี ผูปกครองหรือผูพิทักษก็ดี ผูซึ่งปกครองดูแลบุคคลนั้นอยูก็ดี หรือ พนักงานอัยการก็ดี รองขอตอศาลใหสั่งใหบุคคลวิกลจริตผูนั้นเปนคนไรความสามารถ ศาลจะสั่งใหบุคคลวิกลจริต ผูนั้นเปนคนไรความสามารถก็ได บุคคลซึ่งศาลไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถตามวรรคหนึ่ง ตองจัดใหอยูในความอนุบาล การแตงตั้งผูอนุบาล อํานาจหนาที่ ของผูอนุบาล และการสิ้นสุดของความเปนผูอนุบาล ใหเปนไปตามบทบัญญัติบรรพ ๕ แหงประมวลกฎหมายนี้ คําสั่งของศาลตามมาตรานี้ ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา
  • 12. ๙ ๒.๒ สํานักงานไดรับขอมูลสวนบุคคลของเจาของขอมูลสวนบุคคลจากบุคคลที่สาม โดยสํานักงาน เชื่อโดยสุจริตวาบุคคลที่สามดังกลาวมีสิทธิเก็บขอมูลสวนบุคคลของเจาของขอมูลสวนบุคคลและเปดเผย กับสํานักงาน ๓. วัตถุประสงคในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล สํานักงานใชวิธีการเก็บรวบรวม ใช เปดเผย ขอมูลสวนบุคคลดวยวิธีการที่ชอบดวยกฎหมายและเปน ธรรม โดยจัดเก็บขอมูลสวนบุคคลเทาที่จําเปน เพื่อใชในการติดตอใหบริการ ประชาสัมพันธ หรือใหขอมูล ขาวสารตาง ๆ รวมทั้งสํารวจความคิดเห็นของเจาของขอมูลสวนบุคคลในกิจการหรือกิจกรรมของสํานักงาน ภายใตวัตถุประสงคในการดําเนินงานของสํานักงานเทานั้น หรือตามที่กฎหมายกําหนด ทั้งนี้ หากมีการ เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค สํานักงานจะแจงใหเจาของขอมูลสวนบุคคลทราบ และบันทึกเพิ่มเติมไวเปน หลักฐาน รวมทั้งปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคล ๔. การประมวลผลขอมูลสวนบุคคล ๔.๑ การเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคล สํานักงานจะเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลอยางจํากัดและเทาที่จําเปน โดยขึ้นอยูกับประเภทของ บริการที่เจาของขอมูลสวนบุคคลใชบริการหรือใหขอมูลสวนบุคคลกับสํานักงาน เชน การลงทะเบียนสมัครเขา รวมกิจกรรม การลงทะเบียนขอใชบริการตาง ๆ ทั้งที่ผานสํานักงานโดยตรงและผานระบบสารสนเทศของ สํานักงาน ซึ่งจะมีการเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลดังกลาวเทาที่จําเปนเทานั้น ๔.๒ การใชขอมูลสวนบุคคล สํานักงานจะใชขอมูลสวนบุคคลตามวัตถุประสงคที่เจาของขอมูลสวนบุคคลใหไวกับสํานักงาน โดยใช อยางเหมาะสมและมีมาตรการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยและมีการควบคุมการเขาถึงขอมูลสวนบุคคล ๔.๓ การเปดเผยขอมูลสวนบุคคล โดยปกติสํานักงานจะไมเปดเผยขอมูลสวนบุคคล เวนแตเปนการเปดเผยตามวัตถุประสงค ที่เจาของขอมูลสวนบุคคลไดใหไวกับสํานักงาน เชน เปดเผยขอมูลสวนบุคคลเพื่อเปนการปฏิบัติตามบริการ ที่เจาของขอมูลสวนบุคคลรองขอ หรือเปนไปตามภาระผูกพันตามสัญญา หรือตามที่กฎหมายกําหนดให เปดเผย และในกรณีใด ๆ ที่สํานักงานตองการเก็บรวมรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคลเพิ่มเติมหรือมีการ เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคในการเก็บรวบรวม ใช หรือเปดเผย สํานักงานจะแจงใหเจาของขอมูลสวนบุคคล ทราบกอนที่จะดําเนินการกับขอมูลสวนบุคคลนั้น เวนแตเปนกรณีที่กฎหมายกําหนดหรืออนุญาตใหดําเนินการได
  • 13. ๑๐ ๕. ระยะเวลาในการเก็บรักษาขอมูลสวนบุคคล สํานักงานจะเก็บรักษาขอมูลสวนบุคคลตราบเทาที่จําเปนตอการประมวลผล และเมื่อพนระยะเวลา ดังกลาวแลว สํานักงานจะดําเนินการทําลายขอมูลสวนบุคคล ๖. สิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคล ความยินยอมที่เจาของขอมูลสวนบุคคลใหไวกับสํานักงานในการเก็บรวบรวม ใช และเปดเผยขอมูล สวนบุคคลยังคงใชไดจนกวาเจาของขอมูลสวนบุคคลจะเพิกถอนความยินยอมเปนลายลักษณอักษร โดยเจาของขอมูลสวนบุคคลสามารถเพิกถอนความยินยอมหรือระงับการใชหรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคล เพื่อวัตถุประสงคในการดําเนินกิจกรรมใด ๆ หรือทุกกิจกรรมของสํานักงาน โดยสงคําขอของเจาของขอมูล สวนบุคคลแจงใหสํานักงานทราบเปนลายลักษณอักษรหรือผานทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส dpo@nstda.or.th นอกจากสิทธิดังกลาวขางตน เจาของขอมูลสวนบุคคลยังมีสิทธิในการดําเนินการ ดังตอไปนี้ (๑) สิทธิในการเพิกถอนความยินยอม (right to withdraw consent) เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิเพิกถอนความยินยอมในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลที่เจาของ ขอมูลสวนบุคคลไดใหความยินยอมไวแกสํานักงานไดตลอดระยะเวลาที่ขอมูลสวนบุคคลของตนอยูกับ สํานักงาน (๒) สิทธิในการเขาถึงขอมูลสวนบุคคล (right of access) เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิเขาถึงขอมูลสวนบุคคลของตนและขอใหสํานักงานทําสําเนาขอมูล สวนบุคคลดังกลาวใหแกเจาของขอมูลสวนบุคคล รวมถึงขอใหสํานักงานเปดเผยการไดมาซึ่งขอมูลสวนบุคคล ที่เจาของขอมูลสวนบุคคลไมไดใหความยินยอมตอสํานักงานได (๓) สิทธิในการแกไขขอมูลสวนบุคคลใหถูกตอง (right to rectification) เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิขอใหสํานักงานแกไขขอมูลสวนบุคคลที่ไมถูกตอง หรือเพิ่มเติมขอมูล สวนบุคคลที่ไมสมบูรณ (๔) สิทธิในการลบขอมูลสวนบุคคล (right to erasure) เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิในการขอใหสํานักงานทําการลบขอมูลสวนบุคคลของตนดวยเหตุ บางประการได (๕) สิทธิในการระงับการใชขอมูลสวนบุคคล (right to restriction of processing) เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิระงับการใชขอมูลสวนบุคคลของตนดวยเหตุบางประการได (๖) สิทธิในการใหโอนยายขอมูลสวนบุคคล (right to data portability)
  • 14. ๑๑ เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิใหสํานักงานโอนยายขอมูลสวนบุคคลซึ่งเจาของขอมูลสวนบุคคล ไดใหไวกับสํานักงานไปยังผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลรายอื่น หรือตัวเจาของขอมูลสวนบุคคลเองดวยเหตุ บางประการได (๗) สิทธิในการคัดคานการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล (right to object) เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิคัดคานการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลของตนดวยเหตุบางประการได สํานักงานเคารพการตัดสินใจการเพิกถอนความยินยอมของเจาของขอมูลสวนบุคคล แตอยางไรก็ตาม สํานักงานขอแจงใหเจาของขอมูลสวนบุคคลทราบวาอาจมีขอจํากัดสิทธิในการเพิกถอนความยินยอมโดย กฎหมายหรือสัญญาที่ใหประโยชนแกเจาของขอมูลสวนบุคคล ทั้งนี้ การเพิกถอนความยินยอมยอมไมสงผล กระทบตอการเก็บรวบรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคลที่เจาของขอมูลสวนบุคคลไดใหความยินยอมไวแลว ๗. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยสําหรับขอมูลสวนบุคคล สํานักงานจัดใหมีมาตรการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม เพื่อปองกัน การเขาถึง การใช การเปลี่ยนแปลง การแกไข หรือการเปดเผยขอมูลสวนบุคคลโดยปราศจากอํานาจหรือโดยมิชอบ นอกจากนี้ สํานักงานไดกําหนดแนวปฏิบัติภายในสํานักงานเพื่อกําหนดสิทธิในการเขาถึงหรือการใชขอมูลสวนบุคคลของ เจาของขอมูลสวนบุคคล เพื่อรักษาความลับและความปลอดภัยของขอมูล และสํานักงานจะจัดใหมีการ ทบทวนมาตรการดังกลาวเปนระยะเพื่อความเหมาะสม ๘. การใชคุกกี้ (Cookies) คุกกี้ (Cookies) หมายถึง ขอมูลขนาดเล็กที่เว็บไซตสงไปเก็บไวกับเจาของขอมูลสวนบุคคลที่เขาชม เว็บไซต เพื่อชวยใหเว็บไซตจดจําขอมูลเขาชมของเจาของขอมูลสวนบุคคล เชน ภาษาที่เลือกใชเปนอันดับแรก ผูใชของระบบ หรือการตั้งคาอื่น ๆ เมื่อเจาของขอมูลสวนบุคคลเขาชมเว็บไซตในครั้งถัดไป เว็บไซตจะจดจําได วาเปนผูใชที่เคยเขาใชบริการแลว และตั้งคาตามที่เจาของขอมูลสวนบุคคลกําหนด จนกวาเจาของขอมูล สวนบุคคลจะลบคุกกี้ (Cookies) หรือไมอนุญาตใหคุกกี้ (Cookies) นั้นทํางานอีกตอไป ซึ่งเจาของขอมูล สวนบุคคลสามารถที่จะยอมรับหรือไมรับคุกกี้ (Cookies) ก็ได ในกรณีที่เลือกที่จะไมรับหรือลบคุกกี้ (Cookies) เว็บไซตอาจจะไมสามารถใหบริการหรือไมสามารถแสดงผลไดอยางถูกตอง ๙. การปรับปรุงนโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคล สํานักงานอาจทําการปรับปรุงหรือแกไขนโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคล โดยมิตองแจง ใหเจาของขอมูลสวนบุคคลทราบลวงหนา ทั้งนี้ เพื่อความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการใหบริการ ดังนั้น สํานักงานจึงขอแนะนําใหเจาของขอมูลสวนบุคคลอานนโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคลทุกครั้งที่เยี่ยมชม หรือใชบริการจากสํานักงานหรือเว็บไซตของสํานักงาน
  • 15. ๑๒ ๑๐. การปฏิบัติตามนโยบายคุมครองขอมูลสวนบุคคลและการติดตอกับสํานักงาน ในกรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคลมีขอสงสัยหรือขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายการคุมครองขอมูล สวนบุคคลหรือการปฏิบัติตามนโยบายการคุมครองขอมูลสวนบุคคลฉบับนี้ สํานักงานยินดีตอบขอสงสัย และ รับฟงขอเสนอแนะ เพื่อประโยชนตอการปรับปรุงการคุมครองขอมูลสวนบุคคลและการใหบริการของ สํานักงานตอไป โดยเจาของขอมูลสวนบุคคลสามารถติดตอกับสํานักงานไดที่ dpo@nstda.or.th หรือ ตามที่อยูดานลางนี้ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ๑๑๑ อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ๑๒๑๒๐
  • 16. ๑๓ ๓. แนวทางดําเนินการเกี่ยวกับฐานในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล การประมวลผลขอมูลจะเกิดขึ้นอยางถูกตองไดตอเมื่อมีฐาน (basis) หรือเหตุผลในการประมวลผล ขอมูลนั้น ๆ ไมวาจะเปนการเก็บรวบรวม การใช การเปดเผย โดยในการประมวลผลขอมูลแตละครั้ง หนวยงานจะตองสามารถระบุฐานที่ใชในการประมวลผลในแตละกิจกรรมใหไดฐานใดฐานหนึ่ง และจะตอง แจงฐานในการประมวลผลใหเจาของขอมูลสวนบุคคลทราบ และดําเนินการกับขอมูลนั้น ๆ ตามขอจํากัดที่ แตกตางกันของแตละฐาน รวมถึงเก็บบันทึกไวดวยวาใชฐานใดการประมวลผลขอมูลแตละชุดดวย ตามกฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคล6 ๗ กําหนดฐานไวทั้งหมดจํานวน ๗ ฐาน โดยกําหนดใหฐาน ความยินยอมเปนฐานหลักในการประมวลผลขอมูล ซึ่งความยินยอม (consent) เปนฐานที่มีความสําคัญมาก เนื่องจากเปนสิ่งที่ทําใหเจาของขอมูลสามารถ “เลือก” จัดการขอมูลของตนเองไดอยางเต็มที่ที่สุด อยางไรก็ตามกฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคลยังกําหนดฐานอื่น ๆ อีก ๖ ฐาน ไวสําหรับการประมวลผล ขอมูลสวนบุคคล ซึ่งในแนวทางการดําเนินการฉบับนี้ จะไดกลาวถึงฐานทั้ง ๗ ฐาน ดังนี้ ๓.๑ ฐานสัญญา (CONTRACT) กรณีการประมวลผลขอมูลจําเปนตอการดําเนินการตามสัญญาที่ตกลงกันไวระหวางผูควบคุมขอมูล และเจาของขอมูลสวนบุคคล เชน การประมวลผลขอมูลธุรกรรมเพื่อคํานวณดอกเบี้ยธนาคาร หรือ เมื่อจําเปนตองประมวลผลขอมูลสวนบุคคลเพื่อปฏิบัติตามคําขอของเจาของขอมูลกอนที่จะเขาสูการทําสัญญา หากใชสัญญาดังกลาวเปนฐานในการประมวลผลแลว ไมตองขอความยินยอมเพิ่มเติม เชน การขอขอมูล สวนบุคคลของพนักงานเทาที่จําเปนเพื่อใชในการทําสัญญาจาง การตรวจสอบขอมูลสวนบุคคลกอนการเปด ๗ มาตรา ๒๔ หามมิใหผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลทาการเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลโดยไมไดรับความยินยอมจากเจาของ ขอมูลสวนบุคคล เวนแต (๑) เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่เกี่ยวกับการจัดทําเอกสารประวัติศาสตรหรือจดหมายเหตุเพื่อประโยชนสาธารณะ หรือที่เกี่ยวกับการศึกษาวิจัยหรือสถิติซึ่งไดจัดใหมีมาตรการปกปองที่เหมาะสมเพื่อคุมครองสิทธิและเสรีภาพของเจาของขอมูล สวนบุคคล ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด (๒) เพื่อปองกันหรือระงับอันตรายตอชีวิต รางกาย หรือสุขภาพของบุคคล (๓) เปนการจําเปนเพื่อการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจาของขอมูลสวนบุคคลเปนคูสัญญาหรือเพื่อใชในการดําเนินการ ตามคําขอของเจาของขอมูลสวนบุคคลกอนเขาทําสัญญานั้น (๔) เปนการจําเปนเพื่อการปฏิบัติหนาที่ในการดําเนินภารกิจเพื่อประโยชนสาธารณะของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล หรือปฏิบัติหนาที่ในการใชอํานาจรัฐที่ไดมอบใหแกผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล (๕) เปนการจําเปนเพื่อประโยชนโดยชอบดวยกฎหมายของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลหรือของบุคคลหรือนิติบุคคล อื่นที่ไมใชผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล เวนแตประโยชนดังกลาวมีความสําคัญนอยกวาสิทธิขั้นพื้นฐานในขอมูล สวนบุคคลของเจาของขอมูลสวนบุคคล (๖) เปนการปฏิบัติตามกฎหมายของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล
  • 17. ๑๔ บัญชีหรือยื่นกูเงินจากธนาคาร การขอขอมูลของคูสัญญาเพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการทําสัญญา7 ๘ การซื้อของ ออนไลนที่ผูขายจะตองทราบชื่อที่อยูซึ่งเปนขอมูลสวนบุคคลของผูซื้อเพื่อความจําเปนในการสงสินคาใหแก ผูซื้อ8 ๙ เปนตน อยางไรก็ตามฐานสัญญานี้ใชไดกับขอมูลสวนบุคคลทั่วไปเทานั้น ไมสามารถใชฐานสัญญาใน การประมลผลขอมูลออนไหว (sensitive data) ได ขอควรระวังเกี่ยวกับการอางฐานสัญญาในที่นี้จํากัดอยูแคเพียง “การปฏิบัติตามสัญญา” ตามปกติ ของการดําเนินงานใหเปนไปตามสัญญาเทานั้น ไมรวมถึงกรณีที่เกิดปญหาหรือขอพิพาทที่เกี่ยวของกับสัญญา นั้น9 ๑๐ ๓.๒ ฐานความยินยอม (CONSENT) หนวยงานสามารถใชฐานความยินยอมในการประมวลผลขอมูลไดในกรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคล สมัครใจและใหความยินยอมอยางชัดแจงที่จะทําการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลไดตามวัตถุประสงคที่แจง แกเจาของขอมูลสวนบุคคล อยางไรก็ตาม ฐานความยินยอมเหมาะสมตอเมื่อตองการขอความยินยอมเพื่อ ประมวลผลขอมูลสวนบุคคลในเรื่องที่ไมจําเปนในการปฏิบัติตามสัญญาและไมสามารถอางฐานอื่นใดในการ ประมวลผลขอมูลทางกฎหมายได10 ๑๑ (กลาวคือ การขอความยินยอมเหมาะสําหรับกรณีที่การประมวลผลนั้น ไมสามารถอางฐานอื่นได) สําหรับเงื่อนไขและรายละเอียดการขอความยินยอมภายใตฐานความยินยอม โปรดดู ขอ ๔ แนวปฏิบัติกรณีที่หนวยงานประมวลผลขอมูลสวนบุคคลโดยอาศัยฐานความยินยอมในการเก็บรวบรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคล ทั้งนี้ ความยินยอมจะตองไมเปนเงื่อนไขในการรับบริการ หรือผูกติดอยูกับความจําเปนในการปฏิบัติ ตามสัญญา การใชความยินยอมเปนฐานในการประมวลผลจึงมักเกิดขึ้นในกรณีที่เปนบริการเสริมจากบริการ หลักซึ่งไมครอบคลุมตามสัญญา การใชฐานความยินยอมจึงตองกระทําโดยความระมัดระวัง อีกทั้งควร ตระหนักวาหนวยงานจะมีภาระการพิสูจนวาเจาของขอมูลนั้นไดยินยอมโดยสมัครใจจริง ๆ และไดใชขอมูล สวนบุคคลตามวัตถุประสงคที่แจงไวเทานั้น การใหความยินยอมจึงไมใชใบอนุญาตที่ใหหนวยงานทําอะไรกับ ขอมูลนั้นได11 ๑๒ ๘ https://blog.focal-point.com/9-examples-of-lawful-basis-for-processing-under-the-gdpr ๙ https://ico.org.uk/for-organisations/guide-to-data-protection/guide-to-the-general-data-protection- regulation-gdpr/lawful-basis-for-processing/contract/ ๑๐ Thailand Data Protection Guidelines 2.0 หนา ๕๔ ๑๑ Guideline on Personal Data Protection for Thai banks หนา ๒๕ ๑๒ Thailand Data Protection Guidelines 2.0 หนา ๕๔
  • 18. ๑๕ ๓.๓ ฐานประโยชนสําคัญตอชีวิต (ระงับอันตรายตอชีวิต รางกาย สุขภาพ) (VITAL INTEREST) ฐานประโยชนสําคัญตอชีวิตเปนฐานที่ใชในกรณีเพื่อรักษาประโยชนอันจําเปนตอชีวิต รางกาย หรือ สุขภาพของบุคคล12 ๑๓ กรณีที่การประมวลผลขอมูลมีความจําเปนตอการปกปองประโยชนสําคัญของเจาของ ขอมูลหรือบุคคลอื่น เชน ปองกันอันตรายรายแรงอันอาจเกิดตอสุขภาพและชีวิตดวยการประมวลผลขอมูล สุขภาพหรือขอมูลออนไหว (sensitive data) ผูประมวลผลจะสามารถใชฐานนี้ในการประมวลผลไดเฉพาะ ในกรณีที่เจาของขอมูลอยูในสภาวะที่ไมสามารถใหความยินยอมได และไมมีวิธีอื่นที่สามารถปกปองชีวิตบุคคล นั้นได13 ๑๔ เชน กรณีที่เจาของขอมูลสวนบุคคลนั้นประสบอุบัติเหตุรายแรงและอาจมีอันตรายตอชีวิต และ มีความจําเปนจะตองเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลที่มีความออนไหวของบุคคลดังกลาว โดยที่เจาของขอมูลไม มีสติที่จะใหความยินยอมได14 ๑๕ แตหากเปนการรักษาที่มีการวางแผนลวงหนาจะไมสามารถอางฐานนี้เพื่อเก็บ รวบรวม ใช หรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคลของผูนั้นได “การปองกันหรือระงับอันตรายตอชีวิต รางกาย หรือสุขภาพของบุคคล” ไมไดจํากัดเฉพาะชีวิต รางกาย หรือสุขภาพของบุคคลเจาของขอมูลเทานั้น แตยังหมายความรวมถึงการรักษาประโยชนสาธารณะ ของบุคคลอื่นอีกดวย เชน การเก็บรวบขอมูลสวนบุคคลที่มีความออนไหวเพื่อประโยชนในทางมนุษยธรรม เชน การเฝาระวังโรคระบาดและการแพรกระจายของโรคระบาด หรือในกรณีภัยพิบัติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือ เปนภัยพิบัติที่มนุษยไดกอขึ้น15 ๑๖ ๓.๔ ฐานปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย (LEGAL OBLIGATION) กรณีการประมวลผลขอมูลจําเปนตอการปฏิบัติหนาที่ที่ผูควบคุมขอมูลนั้นมีตามที่กฎหมายกําหนด ผูควบคุมขอมูลจะตองระบุไดอยางชัดเจนวากําลังปฏิบัติหนาที่ตามบทบัญญัติใดของกฎหมาย หรือทําตาม คําสั่งของหนวยงานใดของรัฐที่มีอํานาจ16 ๑๗ และกรณีที่เปนการประมวลผลตามฐานปฏิบัติตามกฎหมายนี้ เจาของขอมูลสวนบุคคลจะไมมีสิทธิในการลบ โอนยายขอมูล หรือคัดคานการประมวลผล17 ๑๘ ตัวอยาง ๑๓ พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ.๒๕๖๒ มาตรา ๒๖(๑) ๑๔ พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ.๒๕๖๒ มาตรา ๒๔(๒) ๑๕ Vital interests, INFORMATION COMMISSIONER’S OFFICE (2019), https://ico.org.uk/for-organisations/guide- to-data-protection/guide-to-the-general-data-protection-regulation-gdpr/lawful-basis-for-processing/vital- interests/ (last visited Sep 25, 2019). ๑๖ GDPR, Article 46 para 3. อางใน TDPG 2.0 หนา ๔๖ ๑๗ พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ.๒๕๖๒ มาตรา ๒๔(๖) ๑๘ TDPG2.0 หนา ๗๖
  • 19. ๑๖ ๑. นายจางเปดเผยขอมูลเงินเดือนของลูกจางตอกรมสรรพากรเพื่อแจกแจงรายละเอียดในการคํานวณ รายไดรายจายของกิจการตามมาตรา ๖๕ ประมวลรัษฎากร ๒. สถาบันการเงินแจงผลการตรวจสอบความถูกตองของรายการทรัพยสินและหนี้สินใหกับ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติตามมาตรา ๑๑๒ ของพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต ๓. การเปดเผยขอมูลสวนบุคคลของพนักงานตามคําสั่งศาล ๔. บริษัทผูใหบริการบัตรโดยสารสาธารณะขอสําเนาประชาชนเพื่อปฏิบัติตามกฎเกณฑเรื่องการ ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน โดยเก็บไวเฉพาะขอมูลที่เกี่ยวของเทานั้น (ตัดขอมูลที่ไมเกี่ยวของ เชน กรุปเลือด ศาสนา ออกไป) ๕. ผูใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่เก็บขอมูลจราจรตามที่กาหนดในกฎหมายเกี่ยวกับการ กระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ๓.๕ ฐานภารกิจของรัฐ (PUBLIC TASK) กรณีที่การประมวลผลขอมูลจําเปนตอการดําเนินงานตามภารกิจของรัฐเพื่อประโยชนสาธารณะ ที่กําหนดไวตามกฎหมาย ผูที่จะประมวลผลขอมูลตามฐานนี้ไดสวนใหญเปนเจาหนาที่หรือองคกรของรัฐ เชน สํานักงานศาลยุติธรรม สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา เจาหนาที่ของกระทรวงตาง ๆ ที่ปฏิบัติภารกิจตามกฎหมาย รวมถึงหนวยงานเอกชนที่ปฏิบัติหนาที่ในการใชอํานาจที่รัฐไดมอบหมายใหเพื่อ ผลประโยชนสาธารณะตามกฎหมาย เชน การใหบริการสอบใบอนุญาตขับขี่รถยนต โดยอํานาจหนาที่อันเปน ที่มาของภารกิจจะตองมีความชัดเจนโดยสามารถอางอิงถึงกฎหมายที่ใหอานาจไดอยางเฉพาะเจาะจง18 ๑๙ การประมวลผลบนฐานภารกิจของรัฐนี้ไมไดใหอํานาจโดยไรเงื่อนไข แตกลับมีหลักการสําคัญ คือ หลักความไดสัดสวนและมีหนาที่ของผูควบคุมขอมูลที่ตองปฏิบัติตามอยูเชนเดียวกับฐานอื่น ๆ โดยเฉพาะ อยางยิ่งในเรื่องที่เกี่ยวของกับการรักษาความปลอดภัยของขอมูล ทั้งนี้ หากเปนการประมวลผลตามฐานนี้ เจาของขอมูลสวนบุคคลจะไมมีสิทธิในการลบ และโอนยายขอมูล แตมีสิทธิในคัดคานการประมวลผล ตัวอยาง (๑) กรมสรรพากรคิดคํานวณขอมูลเงินเดือนของลูกจางเพื่อตรวจสอบการรายการรายไดรายจาย ที่กิจการนั้น ๆ ยื่น (๒) คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเก็บรวมรวมขอมูลเกี่ยวกับการตรวจสอบ ความถูกตองของรายการทรัพยสินและหนี้สินจากสถาบันการเงิน ๑๙ พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๒๔ (๔)