SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
วัต ถุป ระสงค์เ พือ ให้ผ ู้เ รีย นสามารถ
่
1. อธิบายหน้าที่บุคลากรเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. อธิบายจริยธรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. อธิบายอาชญากรเทคโนโลยีสารสนเทศ คือใคร
และจำาแนก
4. บอกลักษณะคุณธรรมเกี่ยวกับจริยธรรมไทย
5. อธิบายหัวข้อความแตกต่างระหว่างกฎหมาย
และจริยธรรม
6. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างกฎหมายและ
จรรยาบรรณ


ระบบสารสนเทศนั้นจำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการดูแล
รักษาความปลอดภัยของข้อมูล รวมทั้งสภาพแวดล้อมที่
เกียวข้องด้วย แผนกสารสนเทศเพื่อการจัดการมีนโย
่
บายที่แน่นอนในการจัดการจัดการข้อมูลให้เกิดความ
ปลอดภัย ใช้อย่างถูกต้อง และเป็นประโยชน์ ซึ่ง
จริยธรรมก็เป็นสิ่งสำาคัญของผู้ที่ทำางานและผู้ที่เกียวข้อง
่
กับเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึงถือว่าเป็นสิ่งที่ต้องตระหนัก
่
ไว้และให้ความสำาคัญ


บุค ลากร เทคโนโลยีส ารสนเทศ หมายถึง ผู้ที่
เกี่ยวข้องกับการใช้งาน การดูแลและควบคุมระบบ
ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล กระบวนวิธี และเครือ
ข่ายและการสือสาร อาจเป็นบุคคลเดียวหรือกลุมบุคคล
่
่
ตามการจัดแบ่งโครงสร้างขององค์กร

ภาพที่ 1 จัดแบ่งโคร้างสร้าง
แบ่ง ได้เ ป็น 3 กลุม ใหญ่ คือ
่
1) ผู้ใ ช้ง าน จะเป็นบุคลที่เข้าถึงสารสนเทศที่ได้จากระบบ
คอมพิวเตอร์ไปใช่ เช่น รายงานลูกค้าค้างชำาระ
2) ผู้ใ ช้ง านแลระบบ เป็นผู้ทำาหน้าที่ ควบคุมระบบ เช่น
ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่น
เป็นต้น
3) ผู้ป ฏิบ ัต ิง าน เป็นผู้ที่ทำาหน้าที่ นำาข้อมูลเข้าสู้ระบบ
คอมพิวเตอร์
นอกจากนี้อ าจจะมีเ พิม เติม คือ
่
- ผู้ใช้คอมพิวเตอร์
- ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- ผู้ดูแลและซ่อมบำารุงเครื่องคอมพิวเตอร์

-

ผู้บริหารระบบคอมพิวเตอร์
ผู้วิเคราะห์ออกแบบระบบคอมพิวเตอร์
อุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุตสาหกรรมการผลิตซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
อาชีพนักสารสนเทศในหน่วยงานรัฐบาลแล้วเอกชน
อาชีพเกียวกับการสอนและฝึกอบรมบุคลากรทาง
่
คอมพิวเตอร์
อาชีพในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์
หมายถึงธรรมที่เป็นข้อประพฤติศีลธรรมอันดีตาม
ธรรมเนียม
 จริยธรรม มาจากคำา 2 คำาคือ จริย และ ธรรม
 จริย แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ
 ธรรม แปลว่า คุณความดี คำาสั่งสอนในศาสนา หลัก
ปฏิบัติในทางศาสนา ความจริง ความยุติธรรม ความ
ถูกต้อง กฎเกณฑ์
 เมื่อนำา จริย มาต่อกับ ธรรม เป็น จริยธรรม ได้ความ
หมายว่า
1) กฎเกณฑ์แห่งความความประพฤติ
2) หลักความจริงที่เป็นแนวทางแห่งความประพฤติปฏิบัติ

จริยธรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ หลักศีล
ธรรมจรรยาที่กำาหนดขึ้น เพือใช้เป็นแนวทางปฏิบัติหรือ
่
ควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
ตัว อย่า งการกระทำา ผิด จริย ธรรมเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1) การใช้คอมพิวเตอร์ทำาร้ายผู้อนให้เกิดความเสียหายหรือ
ื่
ก่อความรำาคาญ
2) การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล
3) การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้
รับอนุญาต
4) การละเมินลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์

1.
2.
3.
4.

ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
ความถูกต้อง (Information Accuracy)
ความเป็นเจ้าของ (Intellectual Property)
การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
1. กฎหมายเกี่ย วกับ ธุร กรรมทางอิเ ล็ก ทรอนิก ส์
(Electronic Transactions Law)
เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ อันเป็นการรองรับ
นิติสัมพันธ์ต่าง ๆ
 2. กฎหมายเกี่ย วกับ ลายมือ ชือ อิเ ล็ก ทรอนิก ส์
่
(Electronic Signatures Law)
เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วย
กระบวนการใด ๆ
 3. กฎหมายเกี่ย วกับ การพัฒ นาโครงสร้า งพื้น
ฐานสารสนเทศให้ท ว ถึง และเท่า เทีย มกัน
ั่
(National Information Infrastructure Law)
เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนา

4. กฎหมายเกี่ย วกับ การคุ้ม ครองข้อ มูล ส่ว น
บุค คล (Data Protection Law)
เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิและให้ความคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
 5. กฎหมายเกี่ย วกับ การกระทำา ความผิด เกีย ว
่
กับ คอมพิว เตอร์ (Computer Crime Law)
เพื่อกำาหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทำา
ผิดต่อระบบการทำางานของคอมพิวเตอร์ ระบบข้อมูล
และระบบเครือข่าย
 6. กฎหมายเกี่ย วกับ การโอนเงิน ทาง
อิเ ล็ก ทรอนิก ส์ (Electronic Funds Transfer
Law)
เพื่อกำาหนดกลไกสำาคัญทางกฎหมายในการรองรับ













1. การขโมยข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
รวมถึงการขโมยประโยชน์ในการลักลอบใช้บริการ
2. การปกปิดความผิดของตัวเอง โดยใช้ระบบการสือสาร
่
3. การละเมิดลิขสิทธิ์ ปลอมแปลงรูปแบบเลียนแบระบบ
ซอฟแวร์โดยมิชอบ
4. การเผยแพร่ภาพ เสียง ลามก อนาจาร และข้อมูลที่ไม่
เหมาะสม
5. การฟอกเงิน
6. การก่อกวน ระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ทำาลายระบบ
สาธารณูปโภค เช่น
ระบบจ่ายนำ้า จ่ายไฟ จราจร
7. การหลอกลวงให้ร่วมค้าขาย หรือ ลงทุนปลอม (การทำา
ธุรกิจที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย)
8. การลักลอบใช้ข้อมูลเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ในทางมิ
ชอบ
เช่น การขโมยรหัสบัตรเครดิต
9. การใช้คอมพิวเตอร์ในการโอนบัญชีผู้อื่นเป็นของตัวเอง
1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice)
 2. พวกวิกลจริต (Deranged persons)
 3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทำาผิด (Organized crime)
 4. อาชญากรอาชีพ (Career)
 5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists)
 6. พวกคลั่งลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่าง
ฝัน(Ideologues)
 7. ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี
(Hacker/Cracker )

การใช้ Username หรือ User ID และรหัส
ผ่าน (Password)
 2. การใช้วัตถุใดๆ เพื่อการเข้าสูระบบ
่
 3. การใช้อุปกรณ์ทางชีวภาพ (Biometric
Devices)
 4. การเรียกกลับ (Callback System)
 1.


ลักษณะคุณธรรมทีได้รวบรวมจากผล “การประชุม ทาง
่
วิช าการเกีย วกับ จริย ธรรมไทย ”ในส่วนนโยบายและ
่
การพัฒนาระยะยาวด้านจริยธรรม จากแนวคิดของ
ศ.ดร.สาโรช บัวศรี และพระราชวรมุนี ดังต่อไปนี้

1. ความมีเหตุผล
10. ความรู้จักพอ
(rationality)
(satisfaction)
2. ความซื่อสัตย์สุจริต
11. ความมีสติสัมปชัญญะ
(honesty)
(awareness)
ั
3. ความอุตสาหะ หรือการมี 12. ความมีระเบียบวินย
(discipline)
ความตั้งใจ
อันแน่วแน่ (resolution) 13. ความยุติธรรม (fairness)
4. ความเมตตากรุณา
(compassion)
14. ความอดทนอดกลั้น
5. ความเสียสละ (devotion)
(endurance)
6. ความสามัคคี
15. ความเคารพนับถือผู้อื่น
(cooperation)
(consideration)
1)

2)
3)

4)
5)

ประเด็น ด้า นทรัพ ย์ส ิน ทางปัญ ญา ไทยมีกฎหมาย
ลิขสิทธิ์ที่ให้ความคุ้มครองโปรแกรมเทคโนโลยี
สารสนเทศแล้ว
ประเด็น ด้า นข้อ มูล การดุแลข้อมูล,การเก็บบันทึก
ข้อมูลให้ถูกต้อง,ตรวจสอบว่าใครคือผู้ใช้ เป็นต้น
ประเด็น ด้า นเครือ ข่า ย สิ่ง ที่ต ้อ งพิจ ารณา คือ
ตรวจสอบการแพร่กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ ซึ่ง
ปัจจุบันได้เริ่มระบาด ฯลฯ
ตัว พนัก งานเอง พนักงานอาจทำางานอยู่ดกๆ เพือ
ึ
่
อาศัยระบบอินเตอร์เน็ตสร้างความเดือดร้อนให้แก่ผู้อน
ื่
เอกสารต่า งๆตลอดจนอีเ มล์ หน่อยงานห้างร้าน
ต่างๆ มักไมค่อยเข้มงวดในด้านการรักษาความ
5)
-

จริยธรรมและกฎหมาย (Ethics and Laws)
การสร้างความเป็นระเบียบและความเรียบร้อย
กาคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลในระบบสารสนเทศ

ภาพที่ 2 ความแตกต่างระหว่างกฎหมายและจริย
6)

จรรณยาบรรณ (Ethics)

เป็นสิ่งทีทำาให้สังคมอินเทอร์เน็ตเป็นระเบียบ ความรับผิดชอบต่อ
่
สังคมเป็นเรื่องทีจะต้องปลูกฝังกฎเกณฑ์ ของแต่ละ เครือข่าย
่
จะต้องมีการวางระเบียบ เพื่อให้การดำาเนินงานเป็นไปอย่างมี
ระบบ และเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน บางเครือข่ายมีบท
ลงโทษที่ชัดเจน เช่น การปฏิบัติผิดกฎเกณฑ์ของเครือข่าย จะ
ต้องตัดสิทธิ์การเป็นผู้ใช้ของเครือข่าย

ภาพที่ 3 ความแตกต่างระหว่างกฎหมายและจรรย


1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำาร้าย หรือละเมิดผู้อน
ื่
2.ต้องไม่รบกวนการทำางานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพือการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
่
5.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6.ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลขสิทธิ์
ิ
7.ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่
ตนเองไม่มีสิทธิ์
8.ต้องไม่นำาเอาผลงานของผู้อนมาเป็นของตน
ื่
9.ต้องคำานึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจาก
การกระทำาของท่าน
10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และ
มีมารยาท

More Related Content

What's hot

การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1จ๊อบ พชร
 
จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555wandee8167
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ กฤษฎิ์
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ กฤษฎิ์การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ กฤษฎิ์
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ กฤษฎิ์คิง เกอร์
 
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550Ch Khankluay
 
งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007Sugapor
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศออ' เอ ฟอ
 
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์Naruepon Seenoilkhaw
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และmildthebest
 
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้apisak smutpha
 

What's hot (14)

Computer crime law
Computer crime law Computer crime law
Computer crime law
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
 
จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555
 
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ กฤษฎิ์
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ กฤษฎิ์การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ กฤษฎิ์
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ กฤษฎิ์
 
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
 
Health IT Laws and PDPA (October 12, 2021)
Health IT Laws and PDPA (October 12, 2021)Health IT Laws and PDPA (October 12, 2021)
Health IT Laws and PDPA (October 12, 2021)
 
งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
 
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
2.2.4 : การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
 
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
 
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
 

Similar to บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา

Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์Kannaree Jar
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์Kannaree Jar
 
Ethics
EthicsEthics
Ethicssa
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอHatairat Srisawat
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Thalatchanan Netboot
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์KruKaiNui
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรมJariya Huangjing
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯKannaree Jar
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์Kannaree Jar
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1Nukaem Ayoyo
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1Kamonchapat Boonkua
 

Similar to บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา (20)

Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
Ethics
EthicsEthics
Ethics
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอ
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
Poopdf
PoopdfPoopdf
Poopdf
 
ครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdfครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdf
 
ครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdfครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdf
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรม
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอม12
รายงานคอม12รายงานคอม12
รายงานคอม12
 
รายงานเจียบ
รายงานเจียบรายงานเจียบ
รายงานเจียบ
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 

More from J-Kitipat Vatinivijet

More from J-Kitipat Vatinivijet (13)

บทท 4
บทท    4บทท    4
บทท 4
 
จรรยาบรรณของน กคอมพ วเตอร_
จรรยาบรรณของน กคอมพ วเตอร_จรรยาบรรณของน กคอมพ วเตอร_
จรรยาบรรณของน กคอมพ วเตอร_
 
โครงการโตไปไม โกง
โครงการโตไปไม โกงโครงการโตไปไม โกง
โครงการโตไปไม โกง
 
บทท 8
บทท   8บทท   8
บทท 8
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
 
บทท 9
บทท   9บทท   9
บทท 9
 
Aec
AecAec
Aec
 
บทท 3 การดำเน_นการตรวจสอบระบบสารสนเทศ
บทท   3 การดำเน_นการตรวจสอบระบบสารสนเทศบทท   3 การดำเน_นการตรวจสอบระบบสารสนเทศ
บทท 3 การดำเน_นการตรวจสอบระบบสารสนเทศ
 
บทท 6 การควบค_มและตรวจสอบสอบ
บทท   6 การควบค_มและตรวจสอบสอบบทท   6 การควบค_มและตรวจสอบสอบ
บทท 6 การควบค_มและตรวจสอบสอบ
 
บทท 10
บทท   10บทท   10
บทท 10
 
บทท 2
บทท   2บทท   2
บทท 2
 
บทท 5
บทท   5บทท   5
บทท 5
 
บทท 1
บทท   1บทท   1
บทท 1
 

บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา

  • 1. วัต ถุป ระสงค์เ พือ ให้ผ ู้เ รีย นสามารถ ่ 1. อธิบายหน้าที่บุคลากรเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. อธิบายจริยธรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. อธิบายอาชญากรเทคโนโลยีสารสนเทศ คือใคร และจำาแนก 4. บอกลักษณะคุณธรรมเกี่ยวกับจริยธรรมไทย 5. อธิบายหัวข้อความแตกต่างระหว่างกฎหมาย และจริยธรรม 6. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างกฎหมายและ จรรยาบรรณ
  • 2.  ระบบสารสนเทศนั้นจำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการดูแล รักษาความปลอดภัยของข้อมูล รวมทั้งสภาพแวดล้อมที่ เกียวข้องด้วย แผนกสารสนเทศเพื่อการจัดการมีนโย ่ บายที่แน่นอนในการจัดการจัดการข้อมูลให้เกิดความ ปลอดภัย ใช้อย่างถูกต้อง และเป็นประโยชน์ ซึ่ง จริยธรรมก็เป็นสิ่งสำาคัญของผู้ที่ทำางานและผู้ที่เกียวข้อง ่ กับเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึงถือว่าเป็นสิ่งที่ต้องตระหนัก ่ ไว้และให้ความสำาคัญ
  • 3.  บุค ลากร เทคโนโลยีส ารสนเทศ หมายถึง ผู้ที่ เกี่ยวข้องกับการใช้งาน การดูแลและควบคุมระบบ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล กระบวนวิธี และเครือ ข่ายและการสือสาร อาจเป็นบุคคลเดียวหรือกลุมบุคคล ่ ่ ตามการจัดแบ่งโครงสร้างขององค์กร ภาพที่ 1 จัดแบ่งโคร้างสร้าง
  • 4. แบ่ง ได้เ ป็น 3 กลุม ใหญ่ คือ ่ 1) ผู้ใ ช้ง าน จะเป็นบุคลที่เข้าถึงสารสนเทศที่ได้จากระบบ คอมพิวเตอร์ไปใช่ เช่น รายงานลูกค้าค้างชำาระ 2) ผู้ใ ช้ง านแลระบบ เป็นผู้ทำาหน้าที่ ควบคุมระบบ เช่น ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่น เป็นต้น 3) ผู้ป ฏิบ ัต ิง าน เป็นผู้ที่ทำาหน้าที่ นำาข้อมูลเข้าสู้ระบบ คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้อ าจจะมีเ พิม เติม คือ ่ - ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ - ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ - ผู้ดูแลและซ่อมบำารุงเครื่องคอมพิวเตอร์ 
  • 6. หมายถึงธรรมที่เป็นข้อประพฤติศีลธรรมอันดีตาม ธรรมเนียม  จริยธรรม มาจากคำา 2 คำาคือ จริย และ ธรรม  จริย แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ  ธรรม แปลว่า คุณความดี คำาสั่งสอนในศาสนา หลัก ปฏิบัติในทางศาสนา ความจริง ความยุติธรรม ความ ถูกต้อง กฎเกณฑ์  เมื่อนำา จริย มาต่อกับ ธรรม เป็น จริยธรรม ได้ความ หมายว่า 1) กฎเกณฑ์แห่งความความประพฤติ 2) หลักความจริงที่เป็นแนวทางแห่งความประพฤติปฏิบัติ 
  • 7. จริยธรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ หลักศีล ธรรมจรรยาที่กำาหนดขึ้น เพือใช้เป็นแนวทางปฏิบัติหรือ ่ ควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศ ตัว อย่า งการกระทำา ผิด จริย ธรรมเทคโนโลยี สารสนเทศ 1) การใช้คอมพิวเตอร์ทำาร้ายผู้อนให้เกิดความเสียหายหรือ ื่ ก่อความรำาคาญ 2) การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล 3) การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้ รับอนุญาต 4) การละเมินลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ 
  • 8. 1. 2. 3. 4. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) ความถูกต้อง (Information Accuracy) ความเป็นเจ้าของ (Intellectual Property) การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
  • 9. 1. กฎหมายเกี่ย วกับ ธุร กรรมทางอิเ ล็ก ทรอนิก ส์ (Electronic Transactions Law) เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ อันเป็นการรองรับ นิติสัมพันธ์ต่าง ๆ  2. กฎหมายเกี่ย วกับ ลายมือ ชือ อิเ ล็ก ทรอนิก ส์ ่ (Electronic Signatures Law) เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วย กระบวนการใด ๆ  3. กฎหมายเกี่ย วกับ การพัฒ นาโครงสร้า งพื้น ฐานสารสนเทศให้ท ว ถึง และเท่า เทีย มกัน ั่ (National Information Infrastructure Law) เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนา 
  • 10. 4. กฎหมายเกี่ย วกับ การคุ้ม ครองข้อ มูล ส่ว น บุค คล (Data Protection Law) เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิและให้ความคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคล  5. กฎหมายเกี่ย วกับ การกระทำา ความผิด เกีย ว ่ กับ คอมพิว เตอร์ (Computer Crime Law) เพื่อกำาหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทำา ผิดต่อระบบการทำางานของคอมพิวเตอร์ ระบบข้อมูล และระบบเครือข่าย  6. กฎหมายเกี่ย วกับ การโอนเงิน ทาง อิเ ล็ก ทรอนิก ส์ (Electronic Funds Transfer Law) เพื่อกำาหนดกลไกสำาคัญทางกฎหมายในการรองรับ 
  • 11.            1. การขโมยข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต รวมถึงการขโมยประโยชน์ในการลักลอบใช้บริการ 2. การปกปิดความผิดของตัวเอง โดยใช้ระบบการสือสาร ่ 3. การละเมิดลิขสิทธิ์ ปลอมแปลงรูปแบบเลียนแบระบบ ซอฟแวร์โดยมิชอบ 4. การเผยแพร่ภาพ เสียง ลามก อนาจาร และข้อมูลที่ไม่ เหมาะสม 5. การฟอกเงิน 6. การก่อกวน ระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ทำาลายระบบ สาธารณูปโภค เช่น ระบบจ่ายนำ้า จ่ายไฟ จราจร 7. การหลอกลวงให้ร่วมค้าขาย หรือ ลงทุนปลอม (การทำา ธุรกิจที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย) 8. การลักลอบใช้ข้อมูลเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ในทางมิ ชอบ เช่น การขโมยรหัสบัตรเครดิต 9. การใช้คอมพิวเตอร์ในการโอนบัญชีผู้อื่นเป็นของตัวเอง
  • 12. 1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice)  2. พวกวิกลจริต (Deranged persons)  3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทำาผิด (Organized crime)  4. อาชญากรอาชีพ (Career)  5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists)  6. พวกคลั่งลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่าง ฝัน(Ideologues)  7. ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker ) 
  • 13. การใช้ Username หรือ User ID และรหัส ผ่าน (Password)  2. การใช้วัตถุใดๆ เพื่อการเข้าสูระบบ ่  3. การใช้อุปกรณ์ทางชีวภาพ (Biometric Devices)  4. การเรียกกลับ (Callback System)  1.
  • 14.  ลักษณะคุณธรรมทีได้รวบรวมจากผล “การประชุม ทาง ่ วิช าการเกีย วกับ จริย ธรรมไทย ”ในส่วนนโยบายและ ่ การพัฒนาระยะยาวด้านจริยธรรม จากแนวคิดของ ศ.ดร.สาโรช บัวศรี และพระราชวรมุนี ดังต่อไปนี้ 1. ความมีเหตุผล 10. ความรู้จักพอ (rationality) (satisfaction) 2. ความซื่อสัตย์สุจริต 11. ความมีสติสัมปชัญญะ (honesty) (awareness) ั 3. ความอุตสาหะ หรือการมี 12. ความมีระเบียบวินย (discipline) ความตั้งใจ อันแน่วแน่ (resolution) 13. ความยุติธรรม (fairness) 4. ความเมตตากรุณา (compassion) 14. ความอดทนอดกลั้น 5. ความเสียสละ (devotion) (endurance) 6. ความสามัคคี 15. ความเคารพนับถือผู้อื่น (cooperation) (consideration)
  • 15. 1) 2) 3) 4) 5) ประเด็น ด้า นทรัพ ย์ส ิน ทางปัญ ญา ไทยมีกฎหมาย ลิขสิทธิ์ที่ให้ความคุ้มครองโปรแกรมเทคโนโลยี สารสนเทศแล้ว ประเด็น ด้า นข้อ มูล การดุแลข้อมูล,การเก็บบันทึก ข้อมูลให้ถูกต้อง,ตรวจสอบว่าใครคือผู้ใช้ เป็นต้น ประเด็น ด้า นเครือ ข่า ย สิ่ง ที่ต ้อ งพิจ ารณา คือ ตรวจสอบการแพร่กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ ซึ่ง ปัจจุบันได้เริ่มระบาด ฯลฯ ตัว พนัก งานเอง พนักงานอาจทำางานอยู่ดกๆ เพือ ึ ่ อาศัยระบบอินเตอร์เน็ตสร้างความเดือดร้อนให้แก่ผู้อน ื่ เอกสารต่า งๆตลอดจนอีเ มล์ หน่อยงานห้างร้าน ต่างๆ มักไมค่อยเข้มงวดในด้านการรักษาความ
  • 16. 5) - จริยธรรมและกฎหมาย (Ethics and Laws) การสร้างความเป็นระเบียบและความเรียบร้อย กาคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลในระบบสารสนเทศ ภาพที่ 2 ความแตกต่างระหว่างกฎหมายและจริย
  • 17. 6) จรรณยาบรรณ (Ethics) เป็นสิ่งทีทำาให้สังคมอินเทอร์เน็ตเป็นระเบียบ ความรับผิดชอบต่อ ่ สังคมเป็นเรื่องทีจะต้องปลูกฝังกฎเกณฑ์ ของแต่ละ เครือข่าย ่ จะต้องมีการวางระเบียบ เพื่อให้การดำาเนินงานเป็นไปอย่างมี ระบบ และเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน บางเครือข่ายมีบท ลงโทษที่ชัดเจน เช่น การปฏิบัติผิดกฎเกณฑ์ของเครือข่าย จะ ต้องตัดสิทธิ์การเป็นผู้ใช้ของเครือข่าย ภาพที่ 3 ความแตกต่างระหว่างกฎหมายและจรรย
  • 18.  1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำาร้าย หรือละเมิดผู้อน ื่ 2.ต้องไม่รบกวนการทำางานของผู้อื่น 3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น 4.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพือการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร ่ 5.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ 6.ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลขสิทธิ์ ิ 7.ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ ตนเองไม่มีสิทธิ์ 8.ต้องไม่นำาเอาผลงานของผู้อนมาเป็นของตน ื่ 9.ต้องคำานึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจาก การกระทำาของท่าน 10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และ มีมารยาท