SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
หนา ๙
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๐๒ ง                     ราชกิจจานุเบกษา                     ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๐

            ประกาศกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
                      เรื่อง หลักเกณฑเกี่ยวกับคุณสมบัติของพนักงานเจาหนาที่
                   ตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
                                            พ.ศ. ๒๕๕๐

          เพื่อใหการแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ มีความชัดเจนและเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
          อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๘ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิ ว เตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร
จึงไดกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับคุณสมบัตของพนักงานเจาหนาที่ ดังตอไปนี้
                                             ิ
          ขอ ๑ ในประกาศนี้
          “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวาดวย
การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐
          “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
          ขอ ๒ พนักงานเจาหนาที่ ตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้
          (๑) มีความรูและความชํานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร
          (๒) สํ า เร็ จ การศึ ก ษาไม น อ ยกว า ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ท างวิ ศ วกรรมศาสตร วิ ท ยาศาสตร
วิทยาการคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ สถิติศาสตร นิติศาสตร รัฐศาสตร หรือรัฐประศาสนศาสตร
          (๓) ผ า นการอบรมทางด า นความมั่ น คงปลอดภั ย ของระบบสารสนเทศ (Information
Security) สื บ สวน สอบสวน และการพิ สู จ น ห ลั ก ฐานทางคอมพิ ว เตอร (Computer Forensics)
ตามภาคผนวกทายประกาศนี้ และ
          (๔) มีคุณสมบัติอื่นอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้
                 ก. รั บราชการหรื อเคยรั บราชการไม น อยกว าสองป ในตํ าแหน งเจ าหน าที่ ตรวจพิ สู จน
พยานหลักฐานที่เปนขอมูลคอมพิวเตอรหรือพยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส
                 ข. สําเร็จการศึกษาตามขอ ๒ (๒) ในระดับปริญญาตรี และมีประสบการณที่เปนประโยชน
ตอการปฏิบัตงานตามพระราชบัญญัตินี้นับแตสําเร็จการศึกษาดังกลาวไมนอยกวาสี่ป
               ิ
หนา ๑๐
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๐๒ ง                        ราชกิจจานุเบกษา                        ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๐
                 ค. สําเร็จการศึกษาตามขอ ๒ (๒) ในระดับปริญญาโท หรือสอบไลไดเปนเนติบัณฑิต
ตามหลักสูตรของสํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา และมีประสบการณที่เปนประโยชน
ตอการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัตินี้นับแตสําเร็จการศึกษาดังกลาวไมนอยกวาสามป
                   ง. สําเร็จการศึกษาตามขอ ๒ (๒) ในระดับปริญญาเอก หรือมีประสบการณที่เปน
ประโยชนตอการปฏิบัติงาน ตามพระราชบัญญัตินี้นับแตสําเร็จการศึกษาดังกลาวไมนอยกวาสองป
                   จ. เปนบุคคลที่ทํางานเกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ การตรวจพิสูจน
หลั ก ฐานทางคอมพิ ว เตอร หรื อ มี ป ระสบการณ ใ นการดํ า เนิ น คดี เ กี่ ย วกั บ การกระทํ า ความผิ ด
ทางคอมพิวเตอรไมนอยกวาสองป
           ขอ ๓ ในกรณีที่มีความจําเปนเพื่อประโยชนของทางราชการในการสืบสวนและสอบสวน
การกระทํ า ความผิ ดเกี่ ย วกับ คอมพิว เตอร จํ าเป น ตอ งมี บุ คลากรซึ่ง มี ค วามรู ความชํ า นาญ หรื อ
ประสบการณ สู ง เพื่ อ ดํ า เนิ น การสื บ สวนและสอบสวนการกระทํ า ผิ ด หรื อ คดี เ ช น ว า นั้ น หรื อ
เปนบุคลากรในสาขาที่ขาดแคลน รัฐมนตรีอาจยกเวนคุณสมบัติตามขอ ๒ ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน
สําหรับการบรรจุและแตงตั้งบุคคลใดเปนการเฉพาะก็ได
           ขอ ๔ การแต ง ตั้ งบุ คคลหนึ่ งบุ คคลใดเป น พนั กงานเจ าหน า ที่ ใ ห แ ต ง ตั้ งจากบุ คคลซึ่ ง มี
คุณสมบัติตามขอ ๒ หรือขอ ๓ โดยบุคคลดังกลาวตองผานการประเมิน ความรูความสามารถหรือ
ทดสอบตามหลักสูตรและหลักเกณฑที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
           การแตงตั้งบุคคลใดเปนพนักงานเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่ง ใหพนักงานเจาหนาที่ ดํารงตําแหนง
ในวาระคราวละ ๔ ป และการแตงตั้งใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา
           ขอ ๕ พนักงานเจาหนาที่ตองไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้
           (๑) เปนบุคคลลมละลาย บุคคลไรความสามารถ หรือบุคคลเสมือนไรความสามารถ
           (๒) เปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ขาราชการการเมือง สมาชิกสภาทองถิ่น
ผู บริ หารท องถิ่ น กรรมการหรื อผู ดํ ารงตํ าแหน งที่ รั บผิ ดชอบในการบริ หารพรรคการเมื อง ที่ ปรึ กษา
พรรคการเมือง หรือเจาหนาที่ในพรรคการเมือง
           (๓) เปนผูอยูระหวางถูกสั่งใหพักราชการหรือถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอน
           (๔) ถูก ไลอ อก ปลดออก หรือ ใหอ อกจากราชการ หน ว ยงานของรั ฐ หรื อ รัฐ วิ สาหกิ จ
เพราะทําผิดวินัย หรือรัฐมนตรีใหออกจากการเปนพนักงานเจาหนาที่ เพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย
บกพรองหรือไมสุจริตตอหนาที่หรือหยอนความสามารถ
หนา ๑๑
เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๐๒ ง                   ราชกิจจานุเบกษา                   ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๐
          (๕) ไดรับ โทษจํ าคุก โดยคํ าพิพากษาถึงที่สุ ดให จําคุก เว น แต เปน โทษ สําหรับความผิ ด
ที่กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
          (๖) ตองคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลใหทรัพยสินตกเปนของแผนดิน เพราะร่ํารวยผิดปกติ
หรือมีทรัพยสินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
          ขอ ๖ พนักงานเจาหนาที่พนจากตําแหนงเมื่อ
                                       
          (๑) ตาย
          (๒) ลาออก
          (๓) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก
          (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามขอ ๕
          (๕) รัฐ มนตรีใ ห ออก เพราะมีความประพฤติ เสื่อมเสีย บกพรองหรือไมสุจ ริตตอหนา ที่
หรือหยอนความสามารถ
          (๖) ครบวาระการดํารงตําแหนง
          ขอ ๗ ประกาศนี้มีผลใชบังคับตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

                                    ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
                                                สิทธิชัย โภไคยอุดม
                              รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ภาคผนวก
                    ประกาศกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
                  เรื่อง หลักเกณฑเกียวกับคุณสมบัติของพนักงานเจาหนาที่
                                     ่
         ตามพระราชบัญญัตวาดวยการกระทําความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐
                           ิ                        ่
                             …………………………………………..

       ผูที่จ ะได รับการแตงตั้ งใหเป นพนั กงานเจ า หนาที่ ต ามพระราชบัญ ญัติวา ดว ยการกระทํ า
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ จะตองผานการอบรมดานจริยธรรม สืบสวน สอบสวน
ความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ (Information Security) และการพิ สูจนหลักฐานทาง
คอมพิวเตอร (Computer Forensics) แลวแตกรณี ดังตอไปนี้

       ๑. หลักสูตรมาตรฐานสากล (International Standard Courses)
        วัตถุประสงค : เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดอบรมใหกับบุคคลซึ่งจะไดรับการแตงตั้งเปน
พนักงานเจาหนาที่ในกรณีทั่วไป (หลักสูตรเต็มเวลาประมาณ ๑ เดือน ทังภาคทฤษฎีและปฏิบติ ทังนี้
                                                                    ้              ั ้
ไมรวมดานที่สาม ข. และดานที่สี่ ข. ซึ่งเปนหลักสูตรความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง)
       เนื้อหาหลักสูตรที่อบรม :
       ดานแรก          การอบรมดานจริยธรรม/จรรยาบรรณที่พงมีในบทบาทและ
                                                                ึ
                        อํานาจหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่

        ดานที่สอง   ความรูพื้นฐานดานการสืบสวนและสอบสวนเพือการบังคับ
                                                               ่
                     ใชกฎหมาย (Law Enforcement)
 ลําดับ                            เนื้อหาหลักสูตร (ภาคบังคับ)
                                        Compulsory Course
   ๑. กฎหมายวาดวยการกระทําความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร
                                            ่
   ๒. กฎหมายอาญาและวิธีพิจารณาความอาญาที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
        คอมพิวเตอร
   ๓. รูปแบบการกระทําความผิดและกรณีศึกษา (Case Studies)
   ๔. การสืบสวนทางเทคนิค เชน การตรวจสอบหมายเลข IP Address หรือแหลงที่มาของ
        การกระทําความผิด การขอขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร (Traffic Data) จากผูใหบริการ
        การวิเคราะหและเชื่อมโยงขอมูล/พยานหลักฐานขางตน
๒
  ๕.     แนวทางปฏิบัติในการดําเนินคดี/การทําสํานวนคดี เชน การรองทุกขกลาวโทษ
         (การแจงความ) การประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ การรวบรวมพยาน
         หลักฐาน และแสวงหาขอเท็จจริง การตรวจสถานที่เกิดเหตุ การยื่นคํารองตอศาล
         การยึดอายัดและคืนพยานหลักฐาน การเก็บรักษาพยานหลักฐาน การเก็บรักษา
         พยานหลั กฐานให คงความน าเชื่ อถื อ ในกระบวนการ การเปรีย บเที ยบปรั บและการ
         ดําเนินคดี เปนตน
  ๖.     การบริหารจัดการคดีใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

        ดานที่สามความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ (Information Security)
                  ก. เนื้อหาหลักสูตรภาคบังคับสําหรับพนักงานเจาหนาที่
ลําดับ                         เนื้อหาหลักสูตร (ภาคบังคับ)
                                    Compulsory Course
  ๑. General security concepts
  ๒. Security Architecture
  ๓. Access Controls
  ๔. Applications Security
  ๕. Operation Security
  ๖. Security Management
  ๗. Cryptography
  ๘. Physical Security
  ๙. Telecommunications and Network Security
 ๑๐. Business Continuity Planning
 ๑๑. Law, Investigations, and Ethics

                         ข. หลักสูตรความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศขั้นสูง (Advanced
Information Security Course) สําหรับพนักงานเจาหนาทีสายผูเชียวชาญดานเทคนิค
                                                     ่        ่
 ลําดับ                       เนื้อหาหลักสูตร (ความชํานาญเฉพาะทาง)
   ๑. Audit and Monitoring
   ๒. Risk, Response and Recovery
   ๓. Malicious Code Analysis
   ๔. Vulnerabilities Assessment & Penetration Testing
๓

       ดานที่สี่   การพิสจนหลักฐานทางคอมพิวเตอร (Computer Forensics)
                            ู
                    ก.ความรูดานการพิสจนหลักฐานทางคอมพิวเตอร (Computer Forensics)
                                        ู
ลําดับ                           เนื้อหาหลักสูตร (ภาคบังคับ)
                                      Compulsory Course
  ๑. The needs for Computer Forensics
  ๒. Principles of Computer Forensics and Digital/Electronic Evidence
  ๓. Crime scene, Digital/Electronic Evidence and Chain of Custody
  ๔. Capturing the Data Image and Volatile Data
  ๕. Extracting Information from Captured Data
  ๖. Breaking Password and Encryption
  ๗. Using Computer Forensics Tools
  ๘. Investigation and Interrogation
  ๙. Digital/Electronic Evidence Analysis and Synthesis
 ๑๐. Testify in Court, Admissibility requirements
 ๑๑. Different between Computer Forensics and Network/Internet Forensics
 ๑๒. Network/Internet Forensics
 ๑๓. Using Network/Internet Forensics Tools

                     ข.ความเชียวชาญเฉพาะทางดานการพิสูจนหลักฐานทางคอมพิวเตอร
                                ่
(Professional Computer Forensics และ Certified Forensic Computer Examiner (CFCE))
 ลําดับ                    เนื้อหาหลักสูตร (ความชํานาญเฉพาะทาง)
 ๑.     Using Computer Forensic Tools เชน Encase, Forensics Toolkits, ILook
 ๒.     Using Network / Internet Forensic Tools เชน Encase Field Intelligence Model
        (FIM)
 ๓.     Wireless Forensic Tools เชน Netstumbler, Kismet, Aircrack
 ๔.     Using Handheld Forensics Tools (Cell & PDA) Paraben, MobilEdit, Vogon
 ๕.     Cryptology ไดแก Cryptography และ Cryptanalysis
๔

        ๒. หลักสูตรเรงรัด (Intensive Courses) (๕ วัน)
        วัตถุประสงค : เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดการอบรมระยะสั้นแบบเรงรัดใหกับบุคคลซึ่งจะ
ไดรับการแตงตั้งเปนพนักงานเจาหนาที่ในกรณีพิเศษ ซึ่งไดรับการยกเวนตามหลักเกณฑในการ
กําหนดคุณสมบัติของพนักงานเจาหนาที่ตามปกติทั่วไป
        เนื้อหาหลักสูตรที่อบรม :
        ดานแรก         การอบรมดานจริยธรรม/จรรยาบรรณที่พงมีในบทบาทและ
                                                              ึ
                        อํานาจหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่
        ดานที่สอง ความรูพื้นฐานดานการสืบสวนและสอบสวนเพือการบังคับ
                                                                 ่
                        ใชกฎหมาย (Law Enforcement)

 ลําดับ                             เนื้อหาหลักสูตร (ภาคบังคับ)
                                         Compulsory Course
  ๑.      กฎหมายวาดวยการกระทําความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร
                                              ่
  ๒.      กฎหมายอาญาและวิธีพจารณาความอาญาที่เกียวของกับการกระทําความผิดเกียวกับ
                                ิ                     ่                          ่
          คอมพิวเตอร
  ๓.      รูปแบบการกระทําความผิดและกรณีศึกษา (Case Studies)
  ๔.      การสืบสวนทางเทคนิค เชน การตรวจสอบหมายเลข IP Address หรือแหลงทีมาของ่
          การกระทําความผิด การขอขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร (Traffic Data) จากผู
          ใหบริการ การวิเคราะหและเชื่อมโยงขอมูล/ พยานหลักฐานขางตน
  ๕.      แนวทางปฏิบติในการดําเนินคดี/การทําสํานวนคดี เชน การรองทุกขกลาวโทษ
                      ั
          (การแจงความ) การประสานความรวมมือกับหนวยงานทีเกี่ยวของ การรวบรวม
                                                              ่
          พยาน หลักฐาน และแสวงหาขอเท็จจริง การตรวจสถานที่เกิดเหตุ การยื่นคํารอง
          ตอศาล การยึดอายัดและคืนพยานหลักฐาน การเก็บรักษาพยานหลักฐาน การเก็บ
          รักษาพยานหลักฐานใหคงความนาเชือถือในกระบวนการ การเปรียบเทียบปรับและ
                                            ่
          การดําเนินคดี เปนตน
  ๖.      การบริหารจัดการคดีใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
๕

     ดานที่สาม    การพิสจนหลักฐานทางคอมพิวเตอร (Computer Forensics)
                         ู
ลําดับ                            เนื้อหาหลักสูตรภาคบังคับ
                                    Compulsory Course
 ๑. The needs for Computer Forensics
 ๒. Principles of Computer Forensics and Digital/Electronic Evidence
 ๓. Crime scene, Digital/Electronic Evidence and Chain of Custody
 ๔. Capturing the Data Image and Volatile Data
 ๕. Extracting Information from Captured Data
 ๖. Breaking Password and Encryption
 ๗. Using Computer Forensics Tools
 ๘. Investigation and Interrogation
 ๙. Digital/Electronic Evidence Analysis and Synthesis
๑๐. Testify in Court, Admissibility requirements
๑๑. Different between Computer Forensics and Network/Internet Forensics
๑๒. Network/Internet Forensics
๑๓. Using Network/Internet Forensics Tools

More Related Content

What's hot (8)

ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
 
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
 
2
22
2
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Week 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Week 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Week 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Week 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
บทที่+1 3..
บทที่+1 3..บทที่+1 3..
บทที่+1 3..
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to 41 2

หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการหลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการSatapon Yosakonkun
 
Computer law 2550_sm
Computer law 2550_smComputer law 2550_sm
Computer law 2550_smAj'wow Bc
 
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐kanidta vatanyoo
 
พรบคอมพิวเตอร์50
พรบคอมพิวเตอร์50พรบคอมพิวเตอร์50
พรบคอมพิวเตอร์50Krookhuean Moonwan
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550พระราชบัญญัติว่าด้วยการทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550Satapon Yosakonkun
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1Nukaem Ayoyo
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1Kamonchapat Boonkua
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์Kannaree Jar
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอHatairat Srisawat
 
Computer And Network Forensics
Computer And Network ForensicsComputer And Network Forensics
Computer And Network ForensicsPituphong Yavirach
 
บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
บทท   11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษาบทท   11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษาJ-Kitipat Vatinivijet
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องKamonchapat Boonkua
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องKamonchapat Boonkua
 
อาชญากรรม1
อาชญากรรม1อาชญากรรม1
อาชญากรรม1Sp'z Puifai
 
อาชญากรรม1
อาชญากรรม1อาชญากรรม1
อาชญากรรม1Sp'z Puifai
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์Chutima Tongnork
 

Similar to 41 2 (20)

Computer Traffic 2550
Computer Traffic 2550Computer Traffic 2550
Computer Traffic 2550
 
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการหลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ
 
Thailand ICT Law 2550
Thailand ICT Law 2550Thailand ICT Law 2550
Thailand ICT Law 2550
 
Computer law 2550_sm
Computer law 2550_smComputer law 2550_sm
Computer law 2550_sm
 
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐
 
พรบคอมพิวเตอร์50
พรบคอมพิวเตอร์50พรบคอมพิวเตอร์50
พรบคอมพิวเตอร์50
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550พระราชบัญญัติว่าด้วยการทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอ
 
Computer And Network Forensics
Computer And Network ForensicsComputer And Network Forensics
Computer And Network Forensics
 
บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
บทท   11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษาบทท   11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
อาชญากรรม1
อาชญากรรม1อาชญากรรม1
อาชญากรรม1
 
อาชญากรรม1
อาชญากรรม1อาชญากรรม1
อาชญากรรม1
 
Computer law
Computer lawComputer law
Computer law
 
พอน1ok
พอน1okพอน1ok
พอน1ok
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 

41 2

  • 1. หนา ๙ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๐๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๐ ประกาศกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่อง หลักเกณฑเกี่ยวกับคุณสมบัติของพนักงานเจาหนาที่ ตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ เพื่อใหการแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ มีความชัดเจนและเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๘ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิ ว เตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร จึงไดกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับคุณสมบัตของพนักงานเจาหนาที่ ดังตอไปนี้ ิ ขอ ๑ ในประกาศนี้ “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวาดวย การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ขอ ๒ พนักงานเจาหนาที่ ตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ (๑) มีความรูและความชํานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร (๒) สํ า เร็ จ การศึ ก ษาไม น อ ยกว า ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ท างวิ ศ วกรรมศาสตร วิ ท ยาศาสตร วิทยาการคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ สถิติศาสตร นิติศาสตร รัฐศาสตร หรือรัฐประศาสนศาสตร (๓) ผ า นการอบรมทางด า นความมั่ น คงปลอดภั ย ของระบบสารสนเทศ (Information Security) สื บ สวน สอบสวน และการพิ สู จ น ห ลั ก ฐานทางคอมพิ ว เตอร (Computer Forensics) ตามภาคผนวกทายประกาศนี้ และ (๔) มีคุณสมบัติอื่นอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ ก. รั บราชการหรื อเคยรั บราชการไม น อยกว าสองป ในตํ าแหน งเจ าหน าที่ ตรวจพิ สู จน พยานหลักฐานที่เปนขอมูลคอมพิวเตอรหรือพยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส ข. สําเร็จการศึกษาตามขอ ๒ (๒) ในระดับปริญญาตรี และมีประสบการณที่เปนประโยชน ตอการปฏิบัตงานตามพระราชบัญญัตินี้นับแตสําเร็จการศึกษาดังกลาวไมนอยกวาสี่ป ิ
  • 2. หนา ๑๐ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๐๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๐ ค. สําเร็จการศึกษาตามขอ ๒ (๒) ในระดับปริญญาโท หรือสอบไลไดเปนเนติบัณฑิต ตามหลักสูตรของสํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา และมีประสบการณที่เปนประโยชน ตอการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัตินี้นับแตสําเร็จการศึกษาดังกลาวไมนอยกวาสามป ง. สําเร็จการศึกษาตามขอ ๒ (๒) ในระดับปริญญาเอก หรือมีประสบการณที่เปน ประโยชนตอการปฏิบัติงาน ตามพระราชบัญญัตินี้นับแตสําเร็จการศึกษาดังกลาวไมนอยกวาสองป จ. เปนบุคคลที่ทํางานเกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ การตรวจพิสูจน หลั ก ฐานทางคอมพิ ว เตอร หรื อ มี ป ระสบการณ ใ นการดํ า เนิ น คดี เ กี่ ย วกั บ การกระทํ า ความผิ ด ทางคอมพิวเตอรไมนอยกวาสองป ขอ ๓ ในกรณีที่มีความจําเปนเพื่อประโยชนของทางราชการในการสืบสวนและสอบสวน การกระทํ า ความผิ ดเกี่ ย วกับ คอมพิว เตอร จํ าเป น ตอ งมี บุ คลากรซึ่ง มี ค วามรู ความชํ า นาญ หรื อ ประสบการณ สู ง เพื่ อ ดํ า เนิ น การสื บ สวนและสอบสวนการกระทํ า ผิ ด หรื อ คดี เ ช น ว า นั้ น หรื อ เปนบุคลากรในสาขาที่ขาดแคลน รัฐมนตรีอาจยกเวนคุณสมบัติตามขอ ๒ ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน สําหรับการบรรจุและแตงตั้งบุคคลใดเปนการเฉพาะก็ได ขอ ๔ การแต ง ตั้ งบุ คคลหนึ่ งบุ คคลใดเป น พนั กงานเจ าหน า ที่ ใ ห แ ต ง ตั้ งจากบุ คคลซึ่ ง มี คุณสมบัติตามขอ ๒ หรือขอ ๓ โดยบุคคลดังกลาวตองผานการประเมิน ความรูความสามารถหรือ ทดสอบตามหลักสูตรและหลักเกณฑที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด การแตงตั้งบุคคลใดเปนพนักงานเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่ง ใหพนักงานเจาหนาที่ ดํารงตําแหนง ในวาระคราวละ ๔ ป และการแตงตั้งใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา ขอ ๕ พนักงานเจาหนาที่ตองไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้ (๑) เปนบุคคลลมละลาย บุคคลไรความสามารถ หรือบุคคลเสมือนไรความสามารถ (๒) เปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ขาราชการการเมือง สมาชิกสภาทองถิ่น ผู บริ หารท องถิ่ น กรรมการหรื อผู ดํ ารงตํ าแหน งที่ รั บผิ ดชอบในการบริ หารพรรคการเมื อง ที่ ปรึ กษา พรรคการเมือง หรือเจาหนาที่ในพรรคการเมือง (๓) เปนผูอยูระหวางถูกสั่งใหพักราชการหรือถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอน (๔) ถูก ไลอ อก ปลดออก หรือ ใหอ อกจากราชการ หน ว ยงานของรั ฐ หรื อ รัฐ วิ สาหกิ จ เพราะทําผิดวินัย หรือรัฐมนตรีใหออกจากการเปนพนักงานเจาหนาที่ เพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย บกพรองหรือไมสุจริตตอหนาที่หรือหยอนความสามารถ
  • 3. หนา ๑๑ เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๐๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๐ (๕) ไดรับ โทษจํ าคุก โดยคํ าพิพากษาถึงที่สุ ดให จําคุก เว น แต เปน โทษ สําหรับความผิ ด ที่กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๖) ตองคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลใหทรัพยสินตกเปนของแผนดิน เพราะร่ํารวยผิดปกติ หรือมีทรัพยสินเพิ่มขึ้นผิดปกติ ขอ ๖ พนักงานเจาหนาที่พนจากตําแหนงเมื่อ  (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามขอ ๕ (๕) รัฐ มนตรีใ ห ออก เพราะมีความประพฤติ เสื่อมเสีย บกพรองหรือไมสุจ ริตตอหนา ที่ หรือหยอนความสามารถ (๖) ครบวาระการดํารงตําแหนง ขอ ๗ ประกาศนี้มีผลใชบังคับตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ สิทธิชัย โภไคยอุดม รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 4. ภาคผนวก ประกาศกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่อง หลักเกณฑเกียวกับคุณสมบัติของพนักงานเจาหนาที่ ่ ตามพระราชบัญญัตวาดวยการกระทําความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ิ ่ ………………………………………….. ผูที่จ ะได รับการแตงตั้ งใหเป นพนั กงานเจ า หนาที่ ต ามพระราชบัญ ญัติวา ดว ยการกระทํ า ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ จะตองผานการอบรมดานจริยธรรม สืบสวน สอบสวน ความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ (Information Security) และการพิ สูจนหลักฐานทาง คอมพิวเตอร (Computer Forensics) แลวแตกรณี ดังตอไปนี้ ๑. หลักสูตรมาตรฐานสากล (International Standard Courses) วัตถุประสงค : เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดอบรมใหกับบุคคลซึ่งจะไดรับการแตงตั้งเปน พนักงานเจาหนาที่ในกรณีทั่วไป (หลักสูตรเต็มเวลาประมาณ ๑ เดือน ทังภาคทฤษฎีและปฏิบติ ทังนี้ ้ ั ้ ไมรวมดานที่สาม ข. และดานที่สี่ ข. ซึ่งเปนหลักสูตรความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง) เนื้อหาหลักสูตรที่อบรม : ดานแรก การอบรมดานจริยธรรม/จรรยาบรรณที่พงมีในบทบาทและ ึ อํานาจหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ ดานที่สอง ความรูพื้นฐานดานการสืบสวนและสอบสวนเพือการบังคับ ่ ใชกฎหมาย (Law Enforcement) ลําดับ เนื้อหาหลักสูตร (ภาคบังคับ) Compulsory Course ๑. กฎหมายวาดวยการกระทําความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร ่ ๒. กฎหมายอาญาและวิธีพิจารณาความอาญาที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร ๓. รูปแบบการกระทําความผิดและกรณีศึกษา (Case Studies) ๔. การสืบสวนทางเทคนิค เชน การตรวจสอบหมายเลข IP Address หรือแหลงที่มาของ การกระทําความผิด การขอขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร (Traffic Data) จากผูใหบริการ การวิเคราะหและเชื่อมโยงขอมูล/พยานหลักฐานขางตน
  • 5. ๒ ๕. แนวทางปฏิบัติในการดําเนินคดี/การทําสํานวนคดี เชน การรองทุกขกลาวโทษ (การแจงความ) การประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ การรวบรวมพยาน หลักฐาน และแสวงหาขอเท็จจริง การตรวจสถานที่เกิดเหตุ การยื่นคํารองตอศาล การยึดอายัดและคืนพยานหลักฐาน การเก็บรักษาพยานหลักฐาน การเก็บรักษา พยานหลั กฐานให คงความน าเชื่ อถื อ ในกระบวนการ การเปรีย บเที ยบปรั บและการ ดําเนินคดี เปนตน ๖. การบริหารจัดการคดีใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ดานที่สามความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ (Information Security) ก. เนื้อหาหลักสูตรภาคบังคับสําหรับพนักงานเจาหนาที่ ลําดับ เนื้อหาหลักสูตร (ภาคบังคับ) Compulsory Course ๑. General security concepts ๒. Security Architecture ๓. Access Controls ๔. Applications Security ๕. Operation Security ๖. Security Management ๗. Cryptography ๘. Physical Security ๙. Telecommunications and Network Security ๑๐. Business Continuity Planning ๑๑. Law, Investigations, and Ethics ข. หลักสูตรความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Security Course) สําหรับพนักงานเจาหนาทีสายผูเชียวชาญดานเทคนิค ่ ่ ลําดับ เนื้อหาหลักสูตร (ความชํานาญเฉพาะทาง) ๑. Audit and Monitoring ๒. Risk, Response and Recovery ๓. Malicious Code Analysis ๔. Vulnerabilities Assessment & Penetration Testing
  • 6. ดานที่สี่ การพิสจนหลักฐานทางคอมพิวเตอร (Computer Forensics) ู ก.ความรูดานการพิสจนหลักฐานทางคอมพิวเตอร (Computer Forensics) ู ลําดับ เนื้อหาหลักสูตร (ภาคบังคับ) Compulsory Course ๑. The needs for Computer Forensics ๒. Principles of Computer Forensics and Digital/Electronic Evidence ๓. Crime scene, Digital/Electronic Evidence and Chain of Custody ๔. Capturing the Data Image and Volatile Data ๕. Extracting Information from Captured Data ๖. Breaking Password and Encryption ๗. Using Computer Forensics Tools ๘. Investigation and Interrogation ๙. Digital/Electronic Evidence Analysis and Synthesis ๑๐. Testify in Court, Admissibility requirements ๑๑. Different between Computer Forensics and Network/Internet Forensics ๑๒. Network/Internet Forensics ๑๓. Using Network/Internet Forensics Tools ข.ความเชียวชาญเฉพาะทางดานการพิสูจนหลักฐานทางคอมพิวเตอร ่ (Professional Computer Forensics และ Certified Forensic Computer Examiner (CFCE)) ลําดับ เนื้อหาหลักสูตร (ความชํานาญเฉพาะทาง) ๑. Using Computer Forensic Tools เชน Encase, Forensics Toolkits, ILook ๒. Using Network / Internet Forensic Tools เชน Encase Field Intelligence Model (FIM) ๓. Wireless Forensic Tools เชน Netstumbler, Kismet, Aircrack ๔. Using Handheld Forensics Tools (Cell & PDA) Paraben, MobilEdit, Vogon ๕. Cryptology ไดแก Cryptography และ Cryptanalysis
  • 7. ๒. หลักสูตรเรงรัด (Intensive Courses) (๕ วัน) วัตถุประสงค : เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดการอบรมระยะสั้นแบบเรงรัดใหกับบุคคลซึ่งจะ ไดรับการแตงตั้งเปนพนักงานเจาหนาที่ในกรณีพิเศษ ซึ่งไดรับการยกเวนตามหลักเกณฑในการ กําหนดคุณสมบัติของพนักงานเจาหนาที่ตามปกติทั่วไป เนื้อหาหลักสูตรที่อบรม : ดานแรก การอบรมดานจริยธรรม/จรรยาบรรณที่พงมีในบทบาทและ ึ อํานาจหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ ดานที่สอง ความรูพื้นฐานดานการสืบสวนและสอบสวนเพือการบังคับ ่ ใชกฎหมาย (Law Enforcement) ลําดับ เนื้อหาหลักสูตร (ภาคบังคับ) Compulsory Course ๑. กฎหมายวาดวยการกระทําความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร ่ ๒. กฎหมายอาญาและวิธีพจารณาความอาญาที่เกียวของกับการกระทําความผิดเกียวกับ ิ ่ ่ คอมพิวเตอร ๓. รูปแบบการกระทําความผิดและกรณีศึกษา (Case Studies) ๔. การสืบสวนทางเทคนิค เชน การตรวจสอบหมายเลข IP Address หรือแหลงทีมาของ่ การกระทําความผิด การขอขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร (Traffic Data) จากผู ใหบริการ การวิเคราะหและเชื่อมโยงขอมูล/ พยานหลักฐานขางตน ๕. แนวทางปฏิบติในการดําเนินคดี/การทําสํานวนคดี เชน การรองทุกขกลาวโทษ ั (การแจงความ) การประสานความรวมมือกับหนวยงานทีเกี่ยวของ การรวบรวม ่ พยาน หลักฐาน และแสวงหาขอเท็จจริง การตรวจสถานที่เกิดเหตุ การยื่นคํารอง ตอศาล การยึดอายัดและคืนพยานหลักฐาน การเก็บรักษาพยานหลักฐาน การเก็บ รักษาพยานหลักฐานใหคงความนาเชือถือในกระบวนการ การเปรียบเทียบปรับและ ่ การดําเนินคดี เปนตน ๖. การบริหารจัดการคดีใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
  • 8. ดานที่สาม การพิสจนหลักฐานทางคอมพิวเตอร (Computer Forensics) ู ลําดับ เนื้อหาหลักสูตรภาคบังคับ Compulsory Course ๑. The needs for Computer Forensics ๒. Principles of Computer Forensics and Digital/Electronic Evidence ๓. Crime scene, Digital/Electronic Evidence and Chain of Custody ๔. Capturing the Data Image and Volatile Data ๕. Extracting Information from Captured Data ๖. Breaking Password and Encryption ๗. Using Computer Forensics Tools ๘. Investigation and Interrogation ๙. Digital/Electronic Evidence Analysis and Synthesis ๑๐. Testify in Court, Admissibility requirements ๑๑. Different between Computer Forensics and Network/Internet Forensics ๑๒. Network/Internet Forensics ๑๓. Using Network/Internet Forensics Tools