SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
แบบเสนอโครงรางโครงงานคอมพิวเตอร
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร5
ปการศึกษา2562
ชื่อโครงงาน
จัดทําโดย
นายใบบุญ บุญมาปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่6/2เลขที่27
ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน
คุณครูเขื่อนทองครู มูลวรรณ
ระยะเวลาดำเนินงาน
ภาคเรียนที่1-2 ปการศึกษา 2562
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต34
ใบงาน
การจัดทําขอเสนอโครงงานคอมพิวเตอร
สมาชิกในกลุม
1. นายใบบุญ บุญมาปะ
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) อายุเทาไหรลูกใชมือถือได?
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) when should your child use phone?
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผูทำโครงงาน นายใบบุญ บุญมาปะ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ
ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่1
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
หลายทานคงเคยเห็นเด็กเล็ก วัยไมถึง 2 ขวบ บางคนยังพูดไมไดดวยซ้ําแตกลับใชมือปดหนาจอสมารทโฟน แท็บเบล็ต
หรือเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกสตางๆอยางคลองแคลว เห็นกันคุนตาในสมัยนี้
ขอมูลยังแสดงอีกวาคนจะหยิบมือถือขึ้นมาดูเฉลี่ยถึง 150 ครั้งตอวัน เทคโนโลยีใหมๆมีไวเพื่ออํานวยสะดวกและชวยแกไข
ปญหาเกาๆที มีขอบเขตการใชงานที่จํากัดแตขณะเดียวกันเทคโนโลยีเหลานี้ก็จะสรางปญหาใหมๆขึ้นเชนกันผูใหญตองไมติด
เทคโนโลยีเหลานี้เสียเองเพราะจะเปนแบบอยางใหแกเด็ก ทําใหเด็กมีพฤติกรรมเลียนแบบ เราคงเคยเห็นพอแมนั่งกด
โทรศัพทมือถือ คุยไลนหรือเลนเกมแทนที่จะพูดคุยหรือเลนกับลูกบางครั้ง พอ แม ลูก ตางคนตางกมหนากดมือถือของตนเองอยู
ในโลกเสมือนจริงของตัวเอง การไมมีปฏิสัมพันธกันจะทําใหพอแมลดความผูกพันและความสนใจในตัวลูกพอแมบางคนอาจคิดวา
การที่ลูกเลนเครื่องมือเหลานี้คงวาแสดงวาลูกเปนเด็กฉลาดหรือเมื่อเด็กอยูกับหนาจอ สมารทโฟน แท็บเบล็ตแลว เด็กจะไมซน
และอยูกับที่ ได พอแมก็สามารถทํากิจกรรมหรืองานอื่นๆ ไดโดยไมตองมัวพะวงกับลูก แตผูปกครองควรทราบวาเทคโนโลยี
เหลานี้ มีคุณอนันตและมีโทษ มหันต
วัตถุประสงค
1) ใหความเขาใจกับผูปกครองเด็กถึงขอเสียของการใหเด็กใชสมารทโฟน
2) เด็กยุคใหมเจริญเติบโตอยางสมบูรณ สุขภาพดี
ขอบเขตโครงงาน
1) ศึกษาขอเสียของการใชสมารทโฟนในเด็ก
2) สํารวจกลุมเปาหมายที่ควรใหความรั้
วิธีดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณที่ใช แบบสํารวจและคอมพิวเตอร
งบประมาณ
หลักการและทฤษฎี
จากการศึกษาของ Dr. Jenny Radesky กุมารแพทยแหงศูนยการแพทยบอสตันสหรัฐอเมริกาและ เปนผูเชี่ยวชาญ
ทางดานพัฒนาการของเด็กไดศึกษาพฤติกรรมของพอแมที่ มีลูกเล็ก ๆ ที รับประทานอาหาร ในรานอาหาร พบวาพอแม คนใช
สมารทโฟนในระหวางการรับประทานอาหาร แมวาเด็กจะรองไห หรือ แสดงพฤติกรรมที่เรียกรองความสนใจจากพอแมอยางไรก็
ตามแตพอแมจะสนใจการพูดคุยโทรศัพทมากกวาลูก
Dr. Radesky กลาววาเด็กเรียนรูภาษาเรียนรูเกี่ยวกับอารมณและการควบคุมอารมณของตนเองโดยการเฝาดู
อากัปกิริยา การสนทนาและการแสดงออกทางสีหนาของผูคนที่อยูรอบตัวหรือพอแมหากเด็กใชเวลาสวนใหญอยูกับหนาจอเด็ก
จะขาดการเรียนรูดังกลาวซึ่งสงผลตอพัฒนาการในดานตางๆ เด็กจะตองการใหผูอื่นตอบสนองตอตนเองในแบบอยางเดียวกับที
สมารทโฟนตอบสนองคือตองเคลื่อนไหวอยางรวดเร็ว มีสีสัน บางครั้งอาจถึงขั้นกาวราว
ในเรื่องของอันตรายจากรังสีที่แผจากหนาจอของเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกสผลการวิจัยตาง ๆ
ยังมีขอขัดแยงกันวารังสีมีผลตอสมองหรือไม บางรายงานกลาววารังสีจากหนาจอเครื่องมือดังกลาวไมมากพอที่จะเปนอันตราย
ตอสมองถึงกระนั้นก็ตามอยาเพิ่งรูสึกโลงใจ ดวยวามีความถี่การรายงานเรื่องคลื่นวิทยุที่ปลดปลอยออกมาอาจเปนอันตรายตอ
การพัฒนาสมองของเด็ก
สมองสวนfrontal lobe ทําหนาที่ควบคุมความคิดความจําสติปญญา บุคลิก ความรูสึก การรับรู ความเขาใจและการ
ใชเหตุผลการแกไขปญหาและความจําในระยะยาวและสวนtemporal ทําหนาที่ ควบคุมการมองเห็นการพูดการไดยินและ
ความจําเรื่องใหมๆ สมองทั้งสองสวนจะมีพัฒนาการไปเรื่อยๆ จนถึงชวงวัยรุนซึ่งเปนวัยที่ มีการพัฒนามากกวาวัยอื่นสมองสวน
ดังกลาอยูในบริเวณใกลเคียงกับสวน ของหู วัยรุนเปนวัยทีมักใชสมารทโฟนติดตอกันเปนเวลานานๆ จึงอาจมีผลตอสมองซึ่ง
เกี่ยวของการเรียนรู และการทํางานขั้นสูง
ตัวอยางผลเสียของการใหเด็กเลนสมารทโฟนมีดังนี้
ผลกระทบในระยะสั้น โรคเกี่ยวกับการปวด
เชน อาการปวดหู ปวดศีรษะ มึนงง ขาดสมาธิ และเครียด เนื่องจากระบบพลังงานในรางกายถูกรบกวน
ภาวะสมาธิสั้น (ADHD-Attention Deficit Hyperactivity Disorder) คือ
ภาวะผิดปกติทางจิตเวชที่สงผลใหมีสมาธิสั้นกวาปกติ ขาดการควบคุมการเคลื่อนไหว ทํา
ใหมีลักษณะอาการซุกซน วอกแวกงาย ไมเคยอยูนิ่ง เวลาที่พูดดวยจะไมตั้งใจฟงและเก็บ
รายละเอียดไมคอยได ขาดความรับผิดชอบ พบไดคอนขางบอยในเด็กที่มีชวงอายุระหวาง
3 - 7 ป
โรคเกี่ยวกับตา การจองหนาจอโทรทัศน คอมพิวเตอร เปนเวลานานเกินกวา 6 ชั่วโมงตอวัน จะทําใหตาขาดน้ําหลอ
เลี้ยงเกิดอาการระคายเคืองได และอาการไดตามมา คือ ตาพราและมองไมเห็นชั่วคราว ระบบประสาท การปรับแสงของเลนสตา
กลามเนื้อตาเกร็ง สายตาสั้น เพราะกลามเนื้อตาจะบีบรัดเลนสตาจนลา ถาระดับที่วางความสวางไมเหมาะสม อาจสงผลกระทบ
ตอระบบของการกลอกตา ระบบกลามเนื้อและประสาท ซึ่งจะเกิดหลังจากใชสายตานานผิดปกติ ทําใหเกิดอาการดวงตาลา
ดวงตาตึงเครียด ตาช้ํา ตาแดง แสบ
สําหรับเด็กเล็กรังสีที่มาจากจอโทรทัศน มีผลเสียตอสายตา เพราะจอรับภาพทางประสาทตาของเด็กเล็กยังพัฒนาไดไมเต็มที่
นอกจากนี้สายตาของเด็กกอนขวบปจะเห็นภาพและสีตาง ๆ ไดอยางลางเลือน และเหมือนคนสายตาสั้น
ภาวะเคาชโปเตโต(couch potato) หรือคนที่เอาแตนั่งๆ นอนๆ ดูทีวี
วิดีโอ หรือเลนเกมคอมพิวเตอร ไมเคลื่อนไหวทํากิจกรรม ทําใหเปนโรคอวน
เนื่องจากขาดการออกกําลังกาย จึงทําใหมีความเสี่ยงตอโรครายตางๆ มากมายใน
อนาคต เชน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ เบาหวาน รวมทั้งมีโอกาสที่จะมี
ปญหาดานบุคลิกภาพ การสื่อสาร การเขาสังคม และทํากิจกรรมรวมกับผูอื่นดวย
ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน
ผลที่คาดวาจะไดรับ
พอแมมีความเขาใจถึงผลเสียในการใชสมารทโฟนของเด็กทําใหเด็กเติบโตอยางสมวัย
กลุมสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของ
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพละศึกษา
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ลำดับ ขั้นตอน สัปดาหที่ ผูรับผิดชอบ
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวขอโครงงาน
2 ศึกษาและคาควาขอม
3 จัดทำโครงรางงาน
4 ปฏิบัติการสรางโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทำเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นำเสนอโครงงาน

More Related Content

What's hot

2562 final-project p
2562 final-project p2562 final-project p
2562 final-project p
Phansachon
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
TeerapatSrilom
 
The gift from natural v.2
The gift from natural v.2The gift from natural v.2
The gift from natural v.2
G'no Davichnee
 

What's hot (20)

2560 project (1) ใบงาน5
2560 project  (1) ใบงาน52560 project  (1) ใบงาน5
2560 project (1) ใบงาน5
 
2562 final-project p
2562 final-project p2562 final-project p
2562 final-project p
 
Final
Final Final
Final
 
2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)
 
2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond
 
2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond
 
2562 final-project 01...
2562 final-project 01...2562 final-project 01...
2562 final-project 01...
 
2562 final-project 01pond1
2562 final-project 01pond12562 final-project 01pond1
2562 final-project 01pond1
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project-32
2562 final-project-322562 final-project-32
2562 final-project-32
 
อาหารขยะ
อาหารขยะอาหารขยะ
อาหารขยะ
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32
 
แบบร าง2
แบบร าง2แบบร าง2
แบบร าง2
 
2562 final-project 01...
2562 final-project 01...2562 final-project 01...
2562 final-project 01...
 
2562 final-project 01..
2562 final-project 01..2562 final-project 01..
2562 final-project 01..
 
The gift from natural v.2
The gift from natural v.2The gift from natural v.2
The gift from natural v.2
 
Resume
ResumeResume
Resume
 
2559 project paradon
2559 project paradon2559 project paradon
2559 project paradon
 

Similar to Doc5

พฤติกรรมวัยรุ่น
พฤติกรรมวัยรุ่นพฤติกรรมวัยรุ่น
พฤติกรรมวัยรุ่น
JxyJxy
 
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
Phatchara Chanosot
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kittipong Laesunklang
 

Similar to Doc5 (20)

2562 final-project 12
2562 final-project 122562 final-project 12
2562 final-project 12
 
2562 final-project-39
2562 final-project-392562 final-project-39
2562 final-project-39
 
2559 project
2559 project2559 project
2559 project
 
2562 final-project 612-22
2562 final-project 612-222562 final-project 612-22
2562 final-project 612-22
 
2562 final-project 02
2562 final-project 022562 final-project 02
2562 final-project 02
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
work 1 fix
work 1 fixwork 1 fix
work 1 fix
 
พฤติกรรมวัยรุ่น
พฤติกรรมวัยรุ่นพฤติกรรมวัยรุ่น
พฤติกรรมวัยรุ่น
 
2558 project บันทึกอัตโนมัติ
2558 project  บันทึกอัตโนมัติ2558 project  บันทึกอัตโนมัติ
2558 project บันทึกอัตโนมัติ
 
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
 
615-14
615-14615-14
615-14
 
2562 final-project 12
2562 final-project 122562 final-project 12
2562 final-project 12
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project-615-33
2562 final-project-615-332562 final-project-615-33
2562 final-project-615-33
 
Com work
Com workCom work
Com work
 
Unsucceed work
Unsucceed workUnsucceed work
Unsucceed work
 
2562 final-project 615 12
2562 final-project 615 122562 final-project 615 12
2562 final-project 615 12
 
2562 final-project 615 12
2562 final-project 615 122562 final-project 615 12
2562 final-project 615 12
 
2562 final-project -1 finally
2562 final-project -1 finally2562 final-project -1 finally
2562 final-project -1 finally
 

Doc5

  • 1. แบบเสนอโครงรางโครงงานคอมพิวเตอร รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร5 ปการศึกษา2562 ชื่อโครงงาน จัดทําโดย นายใบบุญ บุญมาปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่6/2เลขที่27 ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูเขื่อนทองครู มูลวรรณ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต34
  • 2. ใบงาน การจัดทําขอเสนอโครงงานคอมพิวเตอร สมาชิกในกลุม 1. นายใบบุญ บุญมาปะ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) อายุเทาไหรลูกใชมือถือได? ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) when should your child use phone? ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผูทำโครงงาน นายใบบุญ บุญมาปะ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่1 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน หลายทานคงเคยเห็นเด็กเล็ก วัยไมถึง 2 ขวบ บางคนยังพูดไมไดดวยซ้ําแตกลับใชมือปดหนาจอสมารทโฟน แท็บเบล็ต หรือเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกสตางๆอยางคลองแคลว เห็นกันคุนตาในสมัยนี้ ขอมูลยังแสดงอีกวาคนจะหยิบมือถือขึ้นมาดูเฉลี่ยถึง 150 ครั้งตอวัน เทคโนโลยีใหมๆมีไวเพื่ออํานวยสะดวกและชวยแกไข ปญหาเกาๆที มีขอบเขตการใชงานที่จํากัดแตขณะเดียวกันเทคโนโลยีเหลานี้ก็จะสรางปญหาใหมๆขึ้นเชนกันผูใหญตองไมติด เทคโนโลยีเหลานี้เสียเองเพราะจะเปนแบบอยางใหแกเด็ก ทําใหเด็กมีพฤติกรรมเลียนแบบ เราคงเคยเห็นพอแมนั่งกด โทรศัพทมือถือ คุยไลนหรือเลนเกมแทนที่จะพูดคุยหรือเลนกับลูกบางครั้ง พอ แม ลูก ตางคนตางกมหนากดมือถือของตนเองอยู ในโลกเสมือนจริงของตัวเอง การไมมีปฏิสัมพันธกันจะทําใหพอแมลดความผูกพันและความสนใจในตัวลูกพอแมบางคนอาจคิดวา การที่ลูกเลนเครื่องมือเหลานี้คงวาแสดงวาลูกเปนเด็กฉลาดหรือเมื่อเด็กอยูกับหนาจอ สมารทโฟน แท็บเบล็ตแลว เด็กจะไมซน และอยูกับที่ ได พอแมก็สามารถทํากิจกรรมหรืองานอื่นๆ ไดโดยไมตองมัวพะวงกับลูก แตผูปกครองควรทราบวาเทคโนโลยี เหลานี้ มีคุณอนันตและมีโทษ มหันต วัตถุประสงค 1) ใหความเขาใจกับผูปกครองเด็กถึงขอเสียของการใหเด็กใชสมารทโฟน 2) เด็กยุคใหมเจริญเติบโตอยางสมบูรณ สุขภาพดี ขอบเขตโครงงาน 1) ศึกษาขอเสียของการใชสมารทโฟนในเด็ก 2) สํารวจกลุมเปาหมายที่ควรใหความรั้ วิธีดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณที่ใช แบบสํารวจและคอมพิวเตอร งบประมาณ
  • 3. หลักการและทฤษฎี จากการศึกษาของ Dr. Jenny Radesky กุมารแพทยแหงศูนยการแพทยบอสตันสหรัฐอเมริกาและ เปนผูเชี่ยวชาญ ทางดานพัฒนาการของเด็กไดศึกษาพฤติกรรมของพอแมที่ มีลูกเล็ก ๆ ที รับประทานอาหาร ในรานอาหาร พบวาพอแม คนใช สมารทโฟนในระหวางการรับประทานอาหาร แมวาเด็กจะรองไห หรือ แสดงพฤติกรรมที่เรียกรองความสนใจจากพอแมอยางไรก็ ตามแตพอแมจะสนใจการพูดคุยโทรศัพทมากกวาลูก Dr. Radesky กลาววาเด็กเรียนรูภาษาเรียนรูเกี่ยวกับอารมณและการควบคุมอารมณของตนเองโดยการเฝาดู อากัปกิริยา การสนทนาและการแสดงออกทางสีหนาของผูคนที่อยูรอบตัวหรือพอแมหากเด็กใชเวลาสวนใหญอยูกับหนาจอเด็ก จะขาดการเรียนรูดังกลาวซึ่งสงผลตอพัฒนาการในดานตางๆ เด็กจะตองการใหผูอื่นตอบสนองตอตนเองในแบบอยางเดียวกับที สมารทโฟนตอบสนองคือตองเคลื่อนไหวอยางรวดเร็ว มีสีสัน บางครั้งอาจถึงขั้นกาวราว ในเรื่องของอันตรายจากรังสีที่แผจากหนาจอของเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกสผลการวิจัยตาง ๆ ยังมีขอขัดแยงกันวารังสีมีผลตอสมองหรือไม บางรายงานกลาววารังสีจากหนาจอเครื่องมือดังกลาวไมมากพอที่จะเปนอันตราย ตอสมองถึงกระนั้นก็ตามอยาเพิ่งรูสึกโลงใจ ดวยวามีความถี่การรายงานเรื่องคลื่นวิทยุที่ปลดปลอยออกมาอาจเปนอันตรายตอ การพัฒนาสมองของเด็ก สมองสวนfrontal lobe ทําหนาที่ควบคุมความคิดความจําสติปญญา บุคลิก ความรูสึก การรับรู ความเขาใจและการ ใชเหตุผลการแกไขปญหาและความจําในระยะยาวและสวนtemporal ทําหนาที่ ควบคุมการมองเห็นการพูดการไดยินและ ความจําเรื่องใหมๆ สมองทั้งสองสวนจะมีพัฒนาการไปเรื่อยๆ จนถึงชวงวัยรุนซึ่งเปนวัยที่ มีการพัฒนามากกวาวัยอื่นสมองสวน ดังกลาอยูในบริเวณใกลเคียงกับสวน ของหู วัยรุนเปนวัยทีมักใชสมารทโฟนติดตอกันเปนเวลานานๆ จึงอาจมีผลตอสมองซึ่ง เกี่ยวของการเรียนรู และการทํางานขั้นสูง ตัวอยางผลเสียของการใหเด็กเลนสมารทโฟนมีดังนี้ ผลกระทบในระยะสั้น โรคเกี่ยวกับการปวด เชน อาการปวดหู ปวดศีรษะ มึนงง ขาดสมาธิ และเครียด เนื่องจากระบบพลังงานในรางกายถูกรบกวน ภาวะสมาธิสั้น (ADHD-Attention Deficit Hyperactivity Disorder) คือ ภาวะผิดปกติทางจิตเวชที่สงผลใหมีสมาธิสั้นกวาปกติ ขาดการควบคุมการเคลื่อนไหว ทํา ใหมีลักษณะอาการซุกซน วอกแวกงาย ไมเคยอยูนิ่ง เวลาที่พูดดวยจะไมตั้งใจฟงและเก็บ รายละเอียดไมคอยได ขาดความรับผิดชอบ พบไดคอนขางบอยในเด็กที่มีชวงอายุระหวาง 3 - 7 ป
  • 4. โรคเกี่ยวกับตา การจองหนาจอโทรทัศน คอมพิวเตอร เปนเวลานานเกินกวา 6 ชั่วโมงตอวัน จะทําใหตาขาดน้ําหลอ เลี้ยงเกิดอาการระคายเคืองได และอาการไดตามมา คือ ตาพราและมองไมเห็นชั่วคราว ระบบประสาท การปรับแสงของเลนสตา กลามเนื้อตาเกร็ง สายตาสั้น เพราะกลามเนื้อตาจะบีบรัดเลนสตาจนลา ถาระดับที่วางความสวางไมเหมาะสม อาจสงผลกระทบ ตอระบบของการกลอกตา ระบบกลามเนื้อและประสาท ซึ่งจะเกิดหลังจากใชสายตานานผิดปกติ ทําใหเกิดอาการดวงตาลา ดวงตาตึงเครียด ตาช้ํา ตาแดง แสบ สําหรับเด็กเล็กรังสีที่มาจากจอโทรทัศน มีผลเสียตอสายตา เพราะจอรับภาพทางประสาทตาของเด็กเล็กยังพัฒนาไดไมเต็มที่ นอกจากนี้สายตาของเด็กกอนขวบปจะเห็นภาพและสีตาง ๆ ไดอยางลางเลือน และเหมือนคนสายตาสั้น ภาวะเคาชโปเตโต(couch potato) หรือคนที่เอาแตนั่งๆ นอนๆ ดูทีวี วิดีโอ หรือเลนเกมคอมพิวเตอร ไมเคลื่อนไหวทํากิจกรรม ทําใหเปนโรคอวน เนื่องจากขาดการออกกําลังกาย จึงทําใหมีความเสี่ยงตอโรครายตางๆ มากมายใน อนาคต เชน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ เบาหวาน รวมทั้งมีโอกาสที่จะมี ปญหาดานบุคลิกภาพ การสื่อสาร การเขาสังคม และทํากิจกรรมรวมกับผูอื่นดวย
  • 5. ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน ผลที่คาดวาจะไดรับ พอแมมีความเขาใจถึงผลเสียในการใชสมารทโฟนของเด็กทําใหเด็กเติบโตอยางสมวัย กลุมสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของ กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพละศึกษา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ลำดับ ขั้นตอน สัปดาหที่ ผูรับผิดชอบ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวขอโครงงาน 2 ศึกษาและคาควาขอม 3 จัดทำโครงรางงาน 4 ปฏิบัติการสรางโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทำเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นำเสนอโครงงาน