SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
กฎหมายครอบครัว 
สุกิจ อยู่ในธรรม
การผิดสัญญาหมั้น 
อาจารย์สุกิจ อยู่ในธรรม 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 2
1.การหมั้นไม่เป็นเหตุฟ้องบังคับให้สมรส 
มาตรา 1438 การหมั้นไม่เป็นเหตุที่จะร้องขอให้ศาลบังคับให้สมรสได้ ถ้ามี 
ข้อตกลงกันไว้ว่าจะให้เบี้ยปรับในเมื่อผิดสัญญาหมั้น ข้อตกลงนั้นเป็นโมฆะ 
2.เมื่อมีการผิดสัญญาหมั้นจะต้องมีการชดใช้ค่าทดแทน 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 3
มาตรา 1439 บัญญัติว่า เมื่อมีการหมั้นแล้ว ถ้าฝ่ายใดผิดสัญญาหมั้นอีกฝ่ายหนึ่งมี 
สิทธิเรียกให้รับผิดใช้ค่าทดแทน ในกรณีที่ฝ่ายหญิงเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้นให้ 
คืนของหมั้นนั้นแก่ฝ่ายชาย 
การผิดสัญญาหมั้น คือ คู่หมั้นฝ่ายหนึ่งปฏิเสธไม่ยอมทา การสมรสกับคู่หมั้น 
อีกฝ่ายหนึ่ง 
การเรียกค่าทดแทนจะเรียกได้ต่อเมื่อมีการหมั้นหากไม่มีการหมั้นก็ไม่สามารถเรียกค่า 
ทดแทนได้ เช่น กรณีที่ชายหญิงตกลงว่าจะอยู่กินกันเฉย ๆ โดยไม่มีการหมั้น ฝ่ายหนึ่งผิด 
ข้อตกลงจะเรียกค่าทดแทนไม่ได้เพราะไม่มีการหมั้น คา พิพากษาฎีกาที่ 592/2540 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 4
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 592/2540 โจทก์ตกลงแต่งานกับจาเลยที่3โดยวิธีผูกข้อมือแสดงว่า 
โจทก์และจาเลยที่3มิได้มีเจตนาจะทาการสมรสโดยจดทะเบียนสมรสตามประมวล 
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1457ดังนั้นทรัพย์สินที่โจทก์มอบให้จา เลยทั้งสองจึงไม่ใช่ 
ของหมั้นเพราะไม่ใช่ทรัพย์สินที่โจทก์มอบให้จา เลยทั้งสามเพื่อเป็นหลักฐานการหมั้นและ 
ประกันว่าจะสมรสกับจาเลยที่3และไม่ใช่สินสอดเพราะไม่ใช่ทรัพย์สินที่โจทก์ให้แก่จาเลย 
ที่1และที่2บิดามารดาของจาเลยที่3เพื่อตอบแทนการที่จาเลยที่3ยอมสมรสตามมาตรา1437 
โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกคืน การที่จา เลยที่3ไม่ยอมให้โจทก์ร่วมหลับนอนนั้นเป็นสิทธิของ 
จาเลยที่3เพราะการสมรสระหว่างโจทก์และจาเลยที่3จะทาได้ต่อเมื่อจาเลยที่3ยินยอมเป็น 
สามีภริยากับโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1457การที่จาเลยที่3ไม่ 
ยินยอมหลับนอนกับโจทก์ไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์หรือผิดสัญญาหมั้นโจทก์จึงไม่มีสิทธิ 
เรียกค่าทดแทนหรือค่าเสียหายจากจา เลยทั้งสามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
มาตรา1439และมาตรา1440 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 5
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 83/2542 การที่โจทก์จะมีสิทธิเรียกค่าสินสอดทองหมั้นและ ค่า 
ทดแทนค่าใช้จ่ายในการแต่งงานคืนจากจา เลยได้นั้น ต้องเป็นกรณีที่มีการหมั้นแล้ว แต่ไม่มี 
การสมรส โดยเป็น ความผิดของจาเลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1437 
วรรคสาม,1439 และ 1440(2) เมื่อปรากฏว่า โจทก์จาเลยได้แต่งงานกันตามประเพณีและจด 
ทะเบียนสมรสกันแล้ว โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกค่าสินสอดทองหมั้นและค่าทดแทน ค่าใช้จ่าย 
ในการแต่งงานคือจากจา เลยได้เพราะมิใช่กรณี จา เลยผิดสัญญาหมั้น โจทก์กับจา เลยเป็น 
สามีภริยาโดยทา พิธีแต่งงานตามประเพณี จดทะเบียนสมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย และร่วม 
อยู่กิน ด้วยกันแล้ว เมื่อสาเหตุที่โจทก์จา เลยทะเลาะกัน เป็นเรื่องเงินทองภายในครอบครัว 
ซึ่งเป็นเรื่องปกติธรรมดา ทั่วไป มิใช่เป็นสาเหตุร้ายแรงและสามารถปรับความเข้าใจ 
ระหว่างกันได้ แต่กลับได้ความว่า โจทก์ไปอยู่ที่บ้านสวน ของโจทก์โดยไม่ยอมกลับไปหา 
จา เลย แม้โจทก์จะมีวันหยุด ในวันอาทิตย์ว่างอยู่ แต่ก็อ้างว่าจะต้องซักผ้าและ ทา ธุระ 
ส่วนตัว หากโจทก์จะไปพบจา เลยบ้างในวันธรรมดา เป็นบางครั้ง โจทก์ก็อาจกระทา ได้ 
เพราะโจทก์เคยอยู่บ้านจาเลย และเคยไปทางานโดยไปกลับมาแล้ว แต่โจทก์ก็มิได้ 
ขวนขวาย ที่จะกระทา ดังกล่าวหรือชักชวนให้จา เลยไปอยู่กับโจทก์ ข้อเท็จจริงจึงฟังไม่ได้ 
ว่าจา เลยจงใจละทิ้งโจทก์โจทก์จึงไม่มีเหตุที่จะฟ้องหย่า 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 6
ผลของการผิดสัญญาหมั้น 
๑.ฝ่ายหนึ่งที่ไม่ผิดสัญญาหมั้นมีสิทธิเรียกค่าทดแทน 
๒.การคืนของหมั้น 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 7
๑.ฝ่ายชายผิดสัญญาหมั้น ฝ่ายหญิงไม่ต้องคืนของหมั้น 
๒.ฝ่ายหญิงผิดสัญญาหมั้น ฝ่ายหญิงจะต้องคืนของหมั้น 
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 45/2532 การเรียกค่าทดแทนเนื่องจากผิด 
สัญญาหรือข้อตกลงเกี่ยวกับการสมรสนั้น ประมวลกฎหมายแพ่ง 
และพาณิชย์ มาตรา 1439 บัญญัติไว้เป็นพิเศษให้เรียกได้เฉพาะกรณี 
ที่มีการหมั้นเท่านั้น เมื่อโจทก์จา เลยตกลงจะสมรสกันโดยไม่มีการ 
หมั้น จึงนอกขอบเขตที่กฎหมายรับรอง แม้จา เลยไม่ปฏิบัติตามที่ตก 
ลงกันไว้ โจทก์ก็เรียกค่าทดแทนไม่ได้ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 8
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 5973/2533 การที่โจทก์หมั้นและแต่งงานตามประเพณี 
กับจา เลยที่ 1 โจทก์ย่อมต้องการอยู่กินฉันสามีภรรยากับจา เลยที่ 1 โดยชอบ 
ด้วยกฎหมายแม้จะไม่ปรากฏว่าได้พูดกันถึงเรื่องการจดทะเบียนสมรสก็ตาม 
เมื่อจา เลยที่ 1 อยู่กับโจทก์เพียงคืนเดียว โดยโจทก์ไม่ได้ร่วมประเวณีกับจา เลย 
ที่ 1 เพราะจา เลยที่ 1 อ้างว่าเหนื่อยขอผัดเป็นวันรุ่งขึ้นครั้นวันรุ่งขึ้นโจทก์ต้อง 
ช่วยนาสิ่งของที่ใช้ในงานแต่งงานส่งคืนเจ้าของ ไม่มีเวลาว่าง จึงให้จาเลยที่ 1 
นา ชุดสากลไปคืนที่ร้านในเมือง จา เลยที่ 1 ออกจากบ้านไปแล้วไม่กลับมาอยู่ 
กินกับโจทก์อีกโดยไม่ปรากฏสาเหตุโจทก์ได้ออกตามหาตลอดมา แต่ไม่พบ 
จา เลยที่ 1 ทั้งจา เลยที่ 1 เคยแสดงท่าทีไม่อยากกลับไปแต่งงานกับโจทก์ 
พฤติการณ์แสดงว่าจาเลยที่ 1 หลบหนีไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับโจทก์และ 
ไม่อาจถือได้ว่าโจทก์ไม่นา พาต่อการจดทะเบียนสมรสกับจา เลยที่1จา เลยทั้ง 
สามจึงเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น ต้องคืนของหมั้นและสินสอดแก่โจทก์. 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 9
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1034/2535 แม้กฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ 
ขณะมีการหมั้นจะมิได้บัญญัติว่า การหมั้นจะต้องมีของหมั้น 
แต่การหมั้นก็ควรจะต้องกระทา กันเป็นกิจจะลักษณะและ 
เปิดเผยให้เป็นที่รับรู้ของบุคคลทั่วไป การสู่ขอกันไม่อาจเรียก 
ได้ว่าเป็นการหมั้นกันตามกฎหมาย ดังนี้จา เลยผิดข้อตกลง 
โจทก์จะเรียกค่าทดแทนจากจา เลยหาได้ไม่. 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 10
คาพิพากษาฎีกาที่ 6157/2537 โจทก์และจา เลยที่ ๑ ทา การหมั้น และแต่งงาน 
ตามประเพณีอยู่กินกันที่บ้านของจา เลยที่ ๒ ซึ่งเป็นมารดาของจาเลยที่ ๑ 
หลังจากอยู่ด้วยกัน ๒๑ วัน โจทก์และจา เลยที่สองไปที่ว่าการอา เภอเพื่อจด 
ทะเบียนสมรส แต่เจ้าหน้าที่ไม่จดทะเบียนให้เพราะบิดาจา เลยที่ ๑ แยกกันอยู่ 
กับจาเลยที่ ๒ มิได้ไปให้ความยินยอม ต่อมาอีก ๓ เดือน โจทก์ขนย้าย 
ทรัพย์สินออกจาบ้านของจา เลยทั้งสอง แต่หลังจากนั้นโจทก์เขียนจดหมายถึง 
จา เลยที่ ๑ มีข้อความแสดงว่ายังรักและต้องการอยู่กินฉันสามมีภรรยากับจา เลย 
ที่ ๑ โดยไม่ได้กล่าวถึงการจดทะเบียนสมรสอันแสดงว่าโจทก์มิถือเอาการจด 
ทะเบียนสมรสเป็นข้อสา คัญแต่อย่างใด จึงฟังไม่ได้ว่าเหตุที่ไม่มีการจดทะเบียน 
สมรสระหว่างโจทก์กับจา เลยที่ ๑ นั้นเกิดจากฝ่ายจา เลยผิดสัญญาหมั้น โจทก์จึง 
ไม่มีสิทธิฟ้องเรียกของหมั้นและสินสอดคืน 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 11
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 2165/2538 การที่หญิงหมั้นกับชายโดยชอบ 
ด้วยกฎหมายและเมื่อแต่งงานตามประเพณีแล้วหญิงชวนชายไปจด 
ทะเบียนสมรสหลายครั้งหญิงย่อมต้องการอยู่กินกับชายโดยชอบด้วย 
กฎหมาย การที่บิดามารดาและพี่ของชายนั้นไล่หญิงออกจากบ้าน 
หลังจากนั้นชายก็มิได้กระทา การใดเพื่อให้หญิงกลับมาอยู่กินฉันสามี 
ภริยาชายนั้นจึงผิดสัญญาหมั้น หญิงและชายต่างมีฐานะดีในการจัด 
งานเลี้ยงแต่งงานมีการเชิญแขกประมาณ 600 คน และเลี้ยงโต๊ะจีนการ 
ที่หญิงซื้อ ชุดแต่งงานเพื่อเข้าพิธีจา นวน 4 ชุดเป็นเงิน 28,000 บาทเป็น 
การใช้จ่ายอันสมควรในการเตรียมการสมรสเรียกค่าทดแทนได้ หญิง 
ซื้อ ผ้ารับไหว้เพื่อให้ญาติผู้ใหญ่ฝ่ายชายตามประเพณีมิใช่ค่าใช้จ่ายใน 
การเตรียมการสมรสอันจะเรียกค่าทดแทนได้ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 12
มาตรา 1440 บัญญัติว่า ค่าทดแทนนั้นอาจเรียกได้ ดังต่อไปนี้ 
(1) ทดแทนความเสียหายต่อกายหรือชื่อเสียงแห่งชายหรือหญิงนั้น 
(2) ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้น บิดามารดาหรือบุคคล 
ผู้กระทา การในฐานะเช่นบิดามารดาได้ใช้จ่ายหรือต้องตกเป็นลูกหนี้ เนื่อง ใน 
การเตรียมการสมรสโดยสุจริตและตามสมควร 
(3) ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้นได้จัดการทรัพย์สิน หรือการ 
อื่นอันเกี่ยวแก่อาชีพหรือทางทา มาหาได้ของตนไปโดยสมควร ด้วยการ 
คาดหมายว่าจะได้มีการสมรส 
ในกรณีที่หญิงเป็นผู้มีสิทธิได้ค่าทดแทน ศาลอาจชี้ขาดว่าของหมั้นที่ ตก 
เป็นสิทธิแก่หญิงนั้นเป็นค่าทดแทนทั้งหมด หรือเป็นส่วนหนึ่งของ ค่าทดแทน 
ที่หญิงพึงได้รับ หรือศาลอาจให้ค่าทดแทนโดยไม่คา นึงถึง ของหมั้นที่ตกเป็น 
สิทธิแก่หญิงนั้นก็ได้ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 13
๑.ค่าทดแทนความเสียหายต่อกาย หรือชื่อเสียงแห่งชายหรือหญิงนั้น 
ค่าเสียหายต่อกาย คือ การที่หญิงคู่หมั้นถูกชายกอดจูบล่วงเกินทางชู้สาว เช่น 
หญิงคู่หมั้นถูกชายคู่หมั้นร่วมประเวณี หรือหญิงคู่หมั้นไปกินกับชายคู่หมั้น 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๒๖๒๖/๒๕๑๘ จา เลยได้ร่วมประเวณีกับ ร. และเป็นฝ่ายผิด 
สัญญาหมั้น ร. ย่อมต้องได้รับความเสียหายต่อกายและชื่อเสียง และมีสิทธิเรียก 
ค่าทดแทนได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1439(1) 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 14
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 982/2518 มูลชายหญิงหมั้นกันโดยตกลงว่า เมื่อ 
ทา พิธีแต่งงานกันแล้วจะไปจดทะเบียนสมรสภายใน 15 วัน แต่เมื่อได้ 
ทา พิธีแต่งงานและได้อยู่ร่วมกัน 46 วันแล้ว ชายไม่ยอมจดทะเบียน 
สมรสกับหญิงแต่กลับขับไล่หญิงให้กลับไปอยู่บ้านบิดาเช่นนี้ชายผิด 
สัญญาหมั้น เป็นเหตุให้หญิงต้องได้รับความอับอายขายหน้า เสื่อมเสีย 
เกียรติยศชื่อเสียงและร่างกายชายต้องรับผิดตาม ประมวลกฎหมายแพ่ง 
และพาณิชย์ มาตรา 1439(1) 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 15
๒.ความเสียหายต่อชื่อเสียง คือ การที่ชายคู่หมั้นหรือหญิงคู่หมั้นได้รับความอับอายขาย 
หน้า เสื่อมเสียเกียรติยศชื่อเสียง (ไม่รวมค่าเสียหายทางจิตใจ เช่น โศกเศร้า ร้องไห้ 
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1305/2514 ค่าทดแทนความเสียหายต่อกายหรือชื่อเสียงเมื่อมีการ 
ผิดสัญญาหมั้นนั้นลา พังแต่การที่ฝ่ายชายหรือฝ่ายหญิงผิดสัญญาหมั้น หาเป็นผล 
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่กายหรือชื่อเสียงของอีกฝ่ายหนึ่งเสมอไปไม่ (เป็นหน้าที่ของ 
ฝ่ายที่อ้างว่าเสียหายจะต้องนาสืบพิสูจน์) 
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายต่อชื่อเสียงจากจา เลยโดยอ้างว่า จา เลยผิดสัญญาหมั้น แต่ข้อ 
นาสืบของโจทก์ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าโจทก์ได้รับความเสียหายต่อชื่อเสียงในการที่ 
จา เลยผิดสัญญาหมั้นอย่างไรบ้างสาเหตุที่ทา ให้เกิดการถอนหมั้น ดังที่โจทก์นา สืบก็ไม่ 
ปรากฏว่าทาความเสียหายให้โจทก์แต่อย่างใด การที่โจทก์กล่าวลอย ๆ ว่าโจทก์ได้รับ 
ความเสียหายนั้น ยังไม่เพียงพอที่ศาลจะรับฟังว่า โจทก์ได้รับความเสียหายอันจะกา หนด 
จา นวนเงินให้จา เลยรับผิดใช้ค่าทดแทน 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 16
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 311/2522 ชายผิดสัญญาหมั้น ฝ่ายชายคือ 
ตัวชาย บิดาและมารดาซึ่งไปหมั้นหญิงต้องร่วมกันใช้ค่า 
ทดแทนความเสียหายต่อกาย โดยที่หญิงตกเป็นภริยาชายแม้ด้วย 
ความสมัครใจ ความเสียหายต่อชื่อเสียงและที่ได้เตรียมการ 
สมรส 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 17
คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ 3366/2525 จา เลยเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกให้ 
จา เลยรับผิดใช้ค่าทดแทนได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1439,1440 
การกา หนดค่าทดแทนความเสียหายต่อกายและชื่อเสียงของโจทก์นั้นต้องพิเคราะห์ถึง 
การศึกษาอาชีพและรายได้ของโจทก์ฐานะของครอบครัวของโจทก์และการที่โจทก์เป็น 
หญิงมาอยู่กินกับจา เลยจน มีบุตรแต่จา เลยไม่ยอมจดทะเบียนสมรสทา ให้โจทก์ได้รับความ 
อับอายเสียชื่อเสียงทั้งเป็นการยากที่จะทา การสมรสใหม่ 
ก่อนรับหมั้นจา เลย โจทก์ทา งานอยู่บริษัทฯ เมื่อแต่งงานแล้วโจทก์ได้ลาออกจากงาน 
เพื่อมาช่วยงานบ้านจาเลยถือได้ว่าโจทก์ได้จัดการเกี่ยวกับอาชีพโดยสมควรด้วยการ 
คาดหมายว่าจะได้มีการสมรสเมื่อจาเลยไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ โจทก์ย่อมมีสิทธิ 
เรียกค่าทดแทนความเสียหายส่วนนี้ได้แต่ต่อมาโจทก์ได้เข้าทา งานใหม่แม้จะลาออกจากงาน 
อีกครั้งหนึ่งก็มิใช่ด้วยการคาดหมายว่าจะได้มีการสมรสเพราะในระยะนั้นทั้งสองฝ่าย 
ขัดแย้งกันอย่างรุนแรงจนเป็นที่เห็นได้ว่าไม่อาจจะจดทะเบียนสมรสกันได้แน่นอน โจทก์ 
จึงเรียกไม่ได้ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 18
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 3868/2531 ชายหญิงตกลงกันในวันสู่ขอว่าจะไปจดทะเบียนสมรส 
หลังพิธีแต่งงานแล้ว ต่อมาชายเป็นฝ่ายที่ไม่ยอมจดทะเบียนสมรสอันเป็นการผิดสัญญาหมั้น 
ชายจะเรียกของหมั้นและสินสอดคืนไม่ได้ ทั้งไม่มีสิทธิเรียกค่าทดแทนความเสียหายที่ได้ใช้ 
จ่ายไปในการเตรียมการสมรส เงินที่ฝ่ายชายมอบให้แก่ฝ่ายหญิงเพื่อซื้อบ้านอยู่อาศัยไม่มี 
ลักษณะเป็นค่าใช้จ่ายในการเตรียมการสมรส แต่เป็นข้อตกลงนาเอามาเป็นเงินกองทุนเพื่อ 
ใช้เป็นที่อยู่และที่ทา มาหากินระหว่างชายกับหญิง หลังจากแต่งงานกันแล้ว เมื่อไม่มีการจด 
ทะเบียนสมรสกันฝ่ายหญิงต้องคืนเงินจา นวนนี้ให้ฝ่ายชาย หนี้เงินตามเช็คที่ชายหญิงยังมีข้อ 
ต่อสู้โต้เถียงกันอยู่จะนา มาหักกลบลบหนี้กับหนี้ที่ชายหญิงมีอยู่ต่อกันไม่ได้ หญิงฟ้องแย้ง 
เรียกค่าทดแทนความเสียหายเนื่องจากชายผิดสัญญาหมั้น แต่ข้อนา สืบของหญิงไม่ปรากฏ 
ข้อเท็จจริงว่าหญิงได้รับความเสียหายต่อชื่อเสียงในการที่ชายผิดสัญญาหมั้นอย่างไรบ้าง 
การที่หญิงกล่าวอ้างลอย ๆ ว่าได้รับความเสียหายยังไม่เพียงพอที่ศาลจะรับฟังว่าหญิงได้รับ 
ความเสียหายอันจะกา หนดให้ชายรับผิดชดใช้ค่าทดแทน 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 19
(๒) ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้น บิดามารดาหรือบุคคล 
ผู้กระทา การในฐานะเช่นบิดามารดาได้ใช้จ่ายหรือต้องตกเป็นลูกหนี้ เนื่อง ใน 
การเตรียมการสมรสโดยสุจริตและตามสมควร หมายความถึง ค่าใช้จ่ายอัน 
จา เป็นที่ชายหญิงต้องกระทา เพื่อเตรียมการที่ชายหญิงจะอยู่กินฉันสามีภริยา 
กันโดยตรง 
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1217/2496 ฝ่ายชายได้ดา เนินการสู่ขอฝ่ายหญิงจนได้มี 
การเหยียบเรือนตามประเพณีท้องถิ่นแล้ว คือฝ่ายชายได้นา หมากพลูและผ้าขาว 
ไปเคารพฝ่ายหญิง และได้กา หนดนัดวันทา พิธีสมรสแล้ว เช่นนี้ย่อมถือได้ว่า 
เป็นการตกลงโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยการหมั้น และการตกลงทา การ 
สมรสแล้วทุกประการเมื่อถึงวันกาหนดแต่งงานฝ่ายชายไม่มาตามกาหนด ฝ่าย 
หญิงย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกค่าทดแทนได้ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 20
ค่าใช้จ่ายในที่นี้ไม่รวมค่าใช้จ่ายในการหมั้นเฉพาะค่าใช้จ่ายในการสมรส 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๘๔/๒๔๕๗ โจทก์ปลูกสร้างเรือนหอตามสัญญาสิ้นเงิน 
๑๒๐๐ บาท จา เลยต้องชดใช้เงินจา นวนดังกล่าวให้โจทก์ แต่โจทก์ต้องมอบ 
เรือนหอให้กับจา เลย 
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 71/2493 ค่าหมากพลูและค่าขนมวันหมั้น ค่ารถไปหมั้น 
และค่าเลี้ยงแขกวันไปหมั้น ไม่เข้าอยู่ในข้อหนึ่งข้อใดของประมวลกฎหมาย 
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1439 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 21
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 311/2522 ชายผิดสัญญาหมั้น ฝ่ายชายคือตัวชาย 
บิดาและมารดาซึ่งไปหมั้นหญิงต้องร่วมกันใช้ค่าทดแทนความเสียหาย 
ต่อกาย โดยที่หญิงตกเป็นภริยาชายแม้ด้วยความสมัครใจ ความเสียหาย 
ต่อชื่อเสียงและที่ได้เตรียมการสมรส 
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 945/2491 ค่าใช้จ่ายที่เสียไปในงานแต่งงาน ไม่ถือว่าเป็น 
ค่าใช้จ่ายในการเตรียมการสมรส ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 
1439(2) 
คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ 90/2512 ค่าเลี้ยงดูในวันทา พิธีแต่งงานไม่ใช่เป็นค่าใช้จ่ายในการ 
เตรียมการสมรสอันจะเรียกค่าทดแทนกันได้ (เทียบฎีกาที่1166/2487) ค่าเสื้อผ้า(ชุด 
แต่งงาน) เป็นค่าใช้จ่ายในการเตรียมการสมรส เรียกค่าทดแทนได้ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 22
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ (ประชุมใหญ่) 2086/2518 ค่าอาหารเลี้ยงพระและแขกในวัน 
แต่งงาน ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายเนื่องในการเตรียมการสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและ 
พาณิชย์ มาตรา 1439(2) 
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 3868/2531 ชายหญิงตกลงกันในวันสู่ขอว่าจะไปจด 
ทะเบียนสมรสหลังพิธีแต่งงานแล้ว ต่อมาชายเป็นฝ่ายที่ไม่ยอมจดทะเบียน 
สมรสอันเป็นการผิดสัญญาหมั้น ชายจะเรียกของหมั้นและสินสอดคืนไม่ได้ ทั้ง 
ไม่มีสิทธิเรียกค่าทดแทนความเสียหายที่ได้ใช้จ่ายไปในการเตรียมการสมรส เงิน 
ที่ฝ่ายชายมอบให้แก่ฝ่ายหญิงเพื่อซื้อบ้านอยู่อาศัยไม่มีลักษณะเป็นค่าใช้จ่ายใน 
การเตรียมการสมรส แต่เป็นข้อตกลงนา เอามาเป็นเงินกองทุนเพื่อใช้เป็นที่อยู่ 
และที่ทา มาหากินระหว่างชายกับหญิง หลังจากแต่งงานกันแล้ว เมื่อไม่มีการจด 
ทะเบียนสมรสกันฝ่ายหญิงต้องคืนเงินจา นวนนี้ให้ฝ่ายชาย 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 23
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 2165/2538 การที่หญิงหมั้นกับชายโดยชอบด้วย 
กฎหมายและเมื่อแต่งงานตามประเพณีแล้วหญิงชวนชายไปจดทะเบียน 
สมรสหลายครั้งหญิงย่อมต้องการอยู่กินกับชายโดยชอบด้วยกฎหมาย 
การที่บิดามารดาและพี่ของชายนั้นไล่หญิงออกจากบ้านหลังจากนั้นชาย 
ก็มิได้กระทา การใดเพื่อให้หญิงกลับมาอยู่กินฉันสามีภริยาชายนั้นจึงผิด 
สัญญาหมั้น หญิงและชายต่างมีฐานะดีในการจัดงานเลี้ยงแต่งงานมีการ 
เชิญแขกประมาณ 600 คนและเลี้ยงโต๊ะจีนการที่หญิงซื้อ ชุดแต่งงาน 
เพื่อเข้าพิธีจา นวน 4 ชุดเป็นเงิน 28,000 บาทเป็นการใช้จ่ายอันสมควร 
ในการเตรียมการสมรสเรียกค่าทดแทนได้ หญิงซื้อ ผ้ารับไหว้เพื่อให้ 
ญาติผู้ใหญ่ฝ่ายชายตามประเพณีมิใช่ค่าใช้จ่ายในการเตรียมการสมรส 
อันจะเรียกค่าทดแทนได้ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 24
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 2165/2538 การที่หญิงหมั้นกับชายโดยชอบด้วย 
กฎหมายและเมื่อแต่งงานตามประเพณีแล้วหญิงชวนชายไปจดทะเบียนสมรส 
หลายครั้งหญิงย่อมต้องการอยู่กินกับชายโดยชอบด้วยกฎหมายการที่บิดา 
มารดาและพี่ของชายนั้นไล่หญิงออกจากบ้านหลังจากนั้นชายก็มิได้กระทา การ 
ใดเพื่อให้หญิงกลับมาอยู่กินฉันสามีภริยาชายนั้นจึงผิดสัญญาหมั้น 
หญิงและชายต่างมีฐานะดีในการจัดงานเลี้ยงแต่งงานมีการเชิญแขก 
ประมาณ 600 คนและเลี้ยงโต๊ะจีนการที่หญิงซื้อชุดแต่งงานเพื่อเข้าพิธีจา นวน 
4 ชุดเป็นเงิน 28,000 บาท เป็นการใช้จ่ายอันสมควรในการเตรียมการสมรส 
เรียกค่าทดแทนได้ 
หญิงซื้อผ้ารับไหว้เพื่อให้ญาติผู้ใหญ่ฝ่ายชายตามประเพณีมิใช่ค่าใช้จ่ายใน 
การเตรียมการสมรสอันจะเรียกค่าทดแทนได้ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 25
(3) ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้นได้จัดการทรัพย์สิน 
หรือการอื่นอันเกี่ยวแก่อาชีพหรือทางทามาหาได้ของตนไปโดย 
สมควร ด้วยการคาดหมายว่าจะได้มีการสมรส 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 26
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 3366/2525 จาเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกให้ 
จา เลยรับผิดใช้ค่าทดแทนได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1439,1440 
การกา หนดค่าทดแทนความเสียหายต่อกายและชื่อเสียงของโจทก์นั้นต้องพิเคราะห์ 
ถึงการศึกษาอาชีพและรายได้ของโจทก์ฐานะของครอบครัวของโจทก์และการที่โจทก์เป็น 
หญิงมาอยู่กินกับจา เลยจน มีบุตรแต่จา เลยไม่ยอมจดทะเบียนสมรสทา ให้โจทก์ได้รับความ 
อับอายเสียชื่อเสียงทั้งเป็นการยากที่จะทา การสมรสใหม่ 
ก่อนรับหมั้นจา เลย โจทก์ทา งานอยู่บริษัทฯ เมื่อแต่งงานแล้วโจทก์ได้ลาออกจาก 
งานเพื่อมาช่วยงานบ้านจาเลยถือได้ว่าโจทก์ได้จัดการเกี่ยวกับอาชีพโดยสมควรด้วยการ 
คาดหมายว่าจะได้มีการสมรสเมื่อจาเลยไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ โจทก์ย่อมมี 
สิทธิเรียกค่าทดแทนความเสียหายส่วนนี้ได้แต่ต่อมาโจทก์ได้เข้าทา งานใหม่แม้จะลาออก 
จากงานอีกครั้งหนึ่งก็มิใช่ด้วยการคาดหมายว่าจะได้มีการสมรสเพราะในระยะนั้นทั้งสอง 
ฝ่ายขัดแย้งกันอย่างรุนแรงจนเป็นที่เห็นได้ว่าไม่อาจจะจดทะเบียนสมรสกันได้แน่นอน 
โจทก์จึงเรียกไม่ได้ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 27
ของหมั้น 
กรณีฝ่ายชายผิดสัญญาหมั้น 
หญิงไม่ต้องคืนของหมั้นให้แก่ฝ่ายชาย 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 28
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 2086/2518 (ประชุมใหญ่) โจทก์ฟ้องว่าจาเลยผิดสัญญา 
หมั้น เรียกค่าทดแทนความเสียหายจากจา เลย 26,050 บาทจา เลยปฏิเสธ ศาล 
ชั้นต้นพิพากษาให้จา เลยใช้ค่าทดแทนความเสียหาย 4,320 บาท ศาลอุทธรณ์ 
พิพากษาแก้ให้จาเลยใช้ 1,220 บาท โจทก์ฎีกาขอให้จาเลยใช้ค่าทดแทนความ 
เสียหายตามคา พิพากษาศาลชั้นต้น ดังนี้ แม้ในชั้นฎีกา คดีจะมีทุนทรัพย์ 3,100 
บาท แต่จานวนทุนทรัพย์แห่งคดีที่จะพิจารณาว่าโจทก์ฎีกาในข้อเท็จจริงได้ 
หรือไม่ต้องถือตามทุนทรัพย์ที่พิพาทในศาลชั้นต้น มิใช่ถือตามทุนทรัพย์ที่ 
พิพาทกันในชั้นฎีกา เมื่อคดีนี้ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในศาลชั้นต้นจา นวน 26,050 
บาท โจทก์จึงฎีกาในข้อเท็จจริงได้ 
ค่าอาหารเลี้ยงพระและแขกในวันแต่งงาน ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายเนื่องในการ 
เตรียมการสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1439(2) 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 29
คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ 1223/2519 จา เลยได้หมั้นโจทก์และกา หนดจะ 
แต่งงานกันหลังจากโจทก์ไว้ทุกข์ให้บิดาโจทก์แล้ว 3 ปี ระหว่างนั้น 
โจทก์ตั้งครรภ์กับจา เลยจา เลยแนะนา ให้ทา แท้งเมื่อโจทก์ทา แท้งแล้ว 
เกิดป่วยหนัก จาเลยกลับหลบหน้าไปแต่งงานกับหญิงอื่น โจทก์ได้รับ 
ความเสียหายทางร่างกาย ชื่อเสียง และต้องเจ็บป่วยเสียเงินค่ารักษาโดย 
จาเลยมิได้สนใจเมื่อหายป่วยแล้ว ผู้ที่ทราบเรื่องไม่มีผู้ใดประสงค์จะ 
แต่งงานกับโจทก์อีกจาเลยจึงต้องใช้ค่าทดแทนความเสียหายดังกล่าว 
ส่วนของหมั้นอันมีราคาเพียงเล็กน้อยนั้นย่อมตกเป็นสิทธิแก่โจทก์ 
ผู้เสียหายอยู่แล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1439 
วรรคท้ายจา เลยจะอ้างว่าโจทก์ได้ของหมั้นเป็นการเพียงพอแล้วหาได้ 
ไม่ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 30
ฝ่ายหญิงผิดสัญญา 
ต้องคืนของหมั้นให้กับฝ่ายชาย 
คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ 483/2533 จา เลยที่ 3 ไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ที่ 
1 อ้างว่าเนื่องจากโจทก์ที่ 1 มีสติไม่บริบูรณ์เหมือนคนธรรมดาและคล้ายกับ 
ปัญญาอ่อน แต่พฤติการณ์ที่ปรากฏในสานวนยังไม่พอฟังว่าโจทก์ที่ 1เป็น 
เช่นนั้น อันจะเป็นข้ออ้างที่มีเหตุสาคัญในการไม่ยอมจดทะเบียนสมรส จา เลย 
จึงเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น จา เลยทั้งสามตกลงรับหมั้นจากฝ่ายโจทก์พร้อมทั้งรับ 
ของหมั้นไว้เรียบร้อยแล้ว แม้จา เลยที่ 1 ที่ 2 มอบของหมั้นทั้งหมดให้แก่จา เลยที่ 
3 เมื่อจาเลยที่ 3 ไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ที่ 1อันเป็นการผิดสัญญา 
หมั้น จา เลยทั้งสามซึ่งรับของหมั้นไว้ก็ต้องร่วมกันคืนของหมั้นแก่ฝ่ายโจทก์. 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 31
ความระงับของสัญญาหมั้น 
๑.คู่หมั้นทั้งสองฝ่ายยินยอมเลิกสัญญา 
๒.คู่หมั้นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตาย 
3.คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งบอกเลิกสัญญาหมั้น อันเนื่องมาก 
จากเหตุสา คัญอันเกิดแก่คู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่ง 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 32
๑.คู่หมั้นทั้งสองฝ่ายยินยอมเลิกสัญญา 
มาตรา ๓๙๑ 
คืนของหมั้นให้แก่ฝ่ายชาย 
ผู้เยาว์สามารถบอกเลิกสัญญาหมั้นได้โดยไม่ต้องขอความยินยอม เพราะเป็น 
เรื่องเฉพาะตัวผู้เยาว์ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 33
๒.คู่หมั้นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตาย 
มาตรา ๑๔๔๑ บัญญัติว่า ถ้าคู่หมั้นฝ่ายหนึ่งตายก่อนสมรสอีกฝ่ายหนึ่งจะ 
เรียกร้อง ค่าทดแทนมิได้ ส่วนของหมั้นหรือสินสอดนั้นไม่ว่าชายหรือหญิง 
ตาย หญิง หรือฝ่ายหญิงไม่ต้องคืนให้แก่ฝ่ายชาย 
การตายโดยธรรมชาติ ไม่รวมสาบสูญ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 34
๒.คู่หมั้นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตาย 
การตายโดยธรรมชาติไม่รวมสาบสูญ 
ไม่ถือว่าเป็นการผิดสัญญาหมั้นไม่ต้องคืนของหมั้น 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 35
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1089/2492 ของหมั้นต้องเป็นทรัพย์สินซึ่งฝ่าย 
ชายได้ให้แก่ฝ่ายหญิงไว้แล้ว ถ้าให้ทรัพย์สินไว้ส่วนหนึ่ง และสัญญา 
ว่า จะนา มามอบให้ในวันหลังอีก ก็คงเป็นของหมั้นเฉพาะส่วนที่ให้ไว้ 
แล้ว ส่วนที่ยังไม่ได้มอบให้ไม่เป็นของหมั้น ฉะนั้นในกรณีที่ชายตาย 
ของหมั้นที่มอบไว้ย่อมตกแก่หญิง แต่หญิงจะฟ้องเรียกทรัพย์ที่ฝ่าย 
ชายสัญญาจะมอบให้อีกนั้นไม่ได้ 
ถ้าฝ่ายชายได้มอบของหมั้นให้บ้างแล้ว และสัญญาว่าจะนา ของ 
หมั้นที่ยังขาดมามอบให้อีก ถ้าฝ่ายชายไม่นา มามอบให้ตามที่ตกลงกัน 
ฝ่ายหญิงจะปฏิเสธไม่ยอมสมรส โดยถือว่าฝ่ายชายผิดสัญญาหมั้นก็ได้ 
เอาโฉนดไปวางเป็นประกันหนี้ แต่ตามกฎหมายไม่มีหนี้ที่จะ 
เรียกร้องจากกันได้ เจ้าของโฉนดก็ย่อมฟ้องเรียกโฉนดคืนได้ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 36
๓.คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งบอกเลิกสัญญาหมั้น 
โดยมีเหตุสา คัญเกิดแก่หญิงคู่หมั้นหรือชายคู่หมั้น 
หมายถึงเหตุที่จะกระทบกระเทือนถึงการสมรสที่จะมีต่อไประหว่าง 
ชายหญิงคู่หมั้นอันจะก่อความไม่สงบในการสมรส 
ปรับกรณีเหตุหย่า ม.๑๕๑๖ 
เหตุอื่น ๆ เช่น ล้มละลาย 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 37
๑.เหตุสา คัญที่ไม่สามรถเรียกค่าทดแทนได้ 
เช่น กลายเป็นคนวิกลจริต 
๒.เหตุสา คัญที่เรียกค่าทดแทนได้ ม.๑๔๔๔ 
การประพฤติชั่วของอีกฝ่ายหนึ่ง 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 38
๓.๑ ชายบอกเลิกสัญญาหมั้นโดยมีโดยเหตุอันควรเกิดแก่หญิงคู่หมั้น 
มาตรา ๑๔๔๒ บัญญัติว่า ในกรณีมีเหตุสาคัญอันเกิดแก่หญิงคู่หมั้นทา ให้ชายไม่ 
สมควรสมรสกับหญิงนั้น ชายมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นได้และให้หญิงคืนของหมั้น 
แก่ชาย 
เช่น วิกลจริต เสียโฉม โรคติดต่ออย่างร้ายแรง ร่างกายพิการ เช่น แขนขาด ขาขาด 
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1036/2524 โจทก์เป็นโรคจิตประสาทอย่างอ่อน มีอาการเปลี่ยนแปลง 
ทางอารมณ์ สามารถรักษาให้หายได้ และผู้ที่เป็นโรคนี้สามารถแต่งงานได้ จา เลยเคยพา 
โจทก์ออกไปเที่ยวนอกบ้านทั้งในเวลาก่อนและหลังหมั้นและกว่าโจทก์จา เลยจะแต่งงานกัน 
ก็เป็นเวลาภายหลังหมั้นถึง 5 เดือนเศษ เมื่อจา เลยแต่งงานและอยู่กินกับโจทก์เป็นเวลา 3 
เดือนเศษแล้วจา เลยปฏิเสธไม่ยอมไปจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ ดังนี้ ถือไม่ได้ว่าเหตุที่ไม่มี 
การสมรสนั้นมีเหตุผลสา คัญอันเกิดแต่โจทก์ โจทก์จึงไม่ต้องคืนของหมั้น 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 39
พรมจารี(chaste) 
ของหญิงคู่หมั้น สันนิษฐานว่าบริสุทธ์ิ 
เว้นแต่จะทราบความจริงเป็นอย่างอื่น 
กรณีทราบภายหลังชายการหมั้นชายคู่หมั้นมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้น 
กรณีหญิงหย่าสามีแล้วใช้คา นา หน้านามว่า “นางสาว” กรณีชายไม่รู้ถือว่าเป็นเหตุสา คัญ 
อันเกิดแก่หญิงคู่หมั้นหรือไม่ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 40
คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ 640/2494 ชายหญิงทา พิธีแต่งงานกันตามประเพณี แต่ 
หญิงไม่ยอมหลับนอนร่วมประเวณีกับชายฉันสามีภริยาโดยแยกไปนอนเสียคน 
ละห้องกับชายอยู่มาประมาณ 10 วัน มารดาของหญิงบอกให้ชายพาหญิงเข้า 
ห้องเอาเองชายจึงเข้าไปจับเอวหญิงออกมาจากห้องที่หญิงนอน หญิงฉวยแจกัน 
ตีศีรษะชายแตกโลหิตออกแจกันหักแล้วยังใช้แจกันตีชายถูกโหนกแก้มเป็น 
บาดแผลต้องเย็บถึง 7 เข็ม ชายจึงกลับบ้านและไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับ 
หญิงดังนี้ถือว่าการกระทา ของหญิงเป็นเหตุผลสา คัญอันพอที่จะทา ให้ชาย 
ปฏิเสธไม่ยอมสมรสด้วยหญิงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 
1441 ได้ ชายจึงมีสิทธิเรียกของหมั้นคืนจากหญิงได้ 
โจทก์จา เลยร่วมกันนา สัมภาระและลงทุนปลูกสร้างเรือนขึ้น 1หลัง แต่ 
ไม่ได้ความพอจะชี้ได้ว่าสัมภาระชิ้นใดเป็นของผู้ใดได้ทุกชิ้น ทั้งไม่ได้ความว่า 
แต่ละฝ่ายได้มีส่วนเป็นเจ้าของอยู่เกินกว่าครึ่ง ดังนี้ ต้องถือว่า โจทก์และจา เลยมี 
ส่วนเป็นเจ้าของเรือนรายนี้เท่าๆกัน 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 41
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1235/2506 ชายคู่หมั้นตั้งรังเกียจหญิงคู่หมั้น 
โดยหญิงคู่หมั้นนั่งซ้อนท้ายรถจักรยานซึ่งชายอื่นขี่เพื่อไปดูภาพยนตร์ 
ในเวลากลางคืน มีเพื่อนไปด้วยกันรวม 7 คน แล้วชาวบ้านคิดเดาและ 
ลือกันว่าหญิงนั้นมีความสัมพันธ์ทางชู้สาวกับชายที่ขี่จักรยานนั้น การ 
ที่หญิงคู่หมั้นกระทา เพียงเท่านี้ แล้วต่อมาหญิงนั้นไม่ยอมสมรสกับชาย 
คู่หมั้น ก็จะถือว่าเพราะมีเหตุผลสาคัญอันเกิดแต่หญิงนั้นหาได้ไม่ 
หญิงนั้นจึงมิต้องคืนของหมั้นเพราะเหตุเช่นนี้ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 42
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1036/2524 โจทก์เป็นโรคจิตประสาท 
อย่างอ่อน มีอาการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ สามารถรักษาให้หาย 
ได้ และผู้ที่เป็นโรคนี้สามารถแต่งงานได้ จา เลยเคยพาโจทก์ 
ออกไปเที่ยวนอกบ้านทั้งในเวลาก่อนและหลังหมั้นและกว่า 
โจทก์จา เลยจะแต่งงานกันก็เป็นเวลาภายหลังหมั้นถึง 5 เดือนเศษ 
เมื่อจา เลยแต่งงานและอยู่กินกับโจทก์เป็นเวลา 3 เดือนเศษแล้ว 
จา เลยปฏิเสธไม่ยอมไปจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ ดังนี้ ถือ 
ไม่ได้ว่าเหตุที่ไม่มีการสมรสนั้นมีเหตุผลสา คัญอันเกิดแต่โจทก์ 
โจทก์จึงไม่ต้องคืนของหมั้น 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 43
๓.๒ หญิงบอกเลิกสัญญาหมั้นโดยมีเหตุสา คัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้น 
มาตรา ๑๔๔๓ บัญญัติว่า ในกรณีมีเหตุสา คัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้นทา ให้หญิง 
ไม่สมควรสมรสกับชายนั้น หญิงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นได้โดยมิต้องคืน 
ของหมั้นแก่ชาย 
เช่น ชายประสบอุบัติเหตุพิการ เป็นคนวิกลจริต ไร้สมรรถภาพทางเพศ 
หญิงบอกเลิกสัญญาหมั้นไม่ต้องคืนของหมั้นและสินสอดแก่ 
ชาย 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 44
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ ๑๒๓๕/๒๕๐๖ ชายคู่หมั้นหมิ่นประมาทหญิงคู่หมั้นซึ่ง 
เป็นการร้ายแรงย่อมเป็นเหตุผลอันสา คัญอันเกิดแต่ชายคู่หมั้นซึ่งหญิงคู่หมั้นจะ 
ไม่ยอมสมรสกับชายนั้นโดยมิต้องคืนของหมั้นได้ 
คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ ๒๓๔/ ๒๕๐๘ การที่ชายคู่หมั้นเลี้ยงโสเภณีไว้ 
เป็นภรรยาอยู่ในบ้านเป็นการกระทา ที่ปฏิปักษ์ต่อจิตใจหญิงคู่หมั้นอย่าง 
ร้ายแรง จึงเป็นเหตุสาคัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้น หญิงคู่หมั้นมีสิทธิขอ 
ถอนหมั้นและมีสิทธิจะไม่คืนของหมั้น 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 45
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 3731/2533 โจทก์ได้หญิงรับใช้ในบ้าน 
โจทก์เป็นภริยามาเป็นเวลานาน ถือได้ว่าโจทก์อุปการะเลี้ยงดู 
และยกย่องหญิงอื่นฉันภริยาอยู่ จึงมีเหตุสาคัญอันเกิดแก่ 
โจทก์ทา ให้จา เลยซึ่งเป็นคู่หมั้น ของโจทก์ไม่สมควรสมรส 
กับโจทก์ จา เลยมิใช่เป็นฝ่ายผิด สัญญาหมั้น จึงมีสิทธิบอก 
เลิกสัญญาหมั้นได้โดยไม่ต้องคืนของหมั้นให้แก่โจทก์ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 46
ค่าทดแทนในการเลิกสัญญาหมั้น 
ค่าทดแทนที่คู่หมั้นเรียกจากกันในกรณีบอกเลิกสัญญาหมั้นเพราะการ 
กระทา ชั่วอย่างร้ายแรงของคู่หมั้น 
มาตรา ๑๔๔๔ บัญญัติว่า ถ้าเหตุอันทา ให้คู่หมั้นบอกเลิกสัญญาหมั้นเป็นเพราะ 
การกระทา ชั่วอย่างร้ายแรงของคู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งได้กระทา ภายหลังการหมั้น 
คู่หมั้นผู้กระทา ชั่วอย่างร้ายแรงนั้น ต้องรับผิดใช้ค่าทดแทน แก่คู่หมั้นผู้ใช้สิทธิ 
บอกเลิกสัญญาหมั้นเสมือนเป็นผู้ผิดสัญญาหมั้น 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 47
ค่าทดแทนจากชายอื่นที่ล่วงเกินหญิงคู่หมั้นทางประเวณี 
หลัก ชายคู่หมั้นมีสิทธิในตัวหญิงคู่หมั้นที่จะไม่ให้ชายอื่นมา 
ล่วงเกินทางประเวณี 
การร่วมประเวณี คือ การร่วมเพศกันระหว่างชายกับหญิงตามวิธีทาง 
ธรรมชาติ คือ การที่ชายสอดใส่อวัยวะเพศของตนเข้าไปในช่อง 
คลอดของหญิง แต่ถ้าเป็นช่องทางอื่น ไม่ใช่การร่วมประเวณี 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 48
ป.อาญา มาตรา ๒๗๖ 
การร่วมประเวณี 
ข่มขืนกระทา การชา เรา 
การร่วมประเวณี หมายความถึง การเสพสังวาส 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 49
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 874/2491 ของลับของชายคงถูไถอยู่แต่ปากช่อง 
คลอดด้านนอกยังไม่เข้าไปข้างใน เป็นผิดฐานพยายามข่มขืนกระทา 
ชาเรา 
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1048/2518 การกระทาชาเราตามกฎหมาย 
จะต้องปรากฏว่าของลับหรืออวัยวะสืบพันธุ์ของชายล่วงล้า เข้าไปใน 
ช่องสังวาสหรืออวัยวะสืบพันธุ์ของหญิง การที่จาเลยขืนใจเด็กหญิง 
ผู้เสียหายโดยใช้ของลับของจาเลยใส่เข้าไปในทางทวารหนักของ 
ผู้เสียหายจึงไม่เป็นการกระทาชาเราคงมีความผิดฐานกระทาอนาจาร 
เท่านั้น 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 50
การร่วมประเวณี 
ศ.โชค จารุจินดา เห็นว่า ประเวณี ตามพจนานุกรม แปลว่าการเสพสังวาส การ 
ร่วมเพศกันระหว่างชายหญิงตามธรรมชาติ 
ศ.(พิเศษ)ประสพสุข บุญเดช การร่วมเพศกันระหว่างชายกับหญิงตามธรรมชาติ 
เท่านั้น 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 51
ศ.ไพโรจน์ กัมพูสิริ เห็นว่า การร่วมประเวณีตามธรรมชาติ คือ ชายสอดของลับ 
เข้าไปในอวัยวะเพศหญิงว่าจะมากน้อยเพียงใดก็ตาม จะสาเร็จความใคร่ 
หรือไม่ก็ตามไม่ใช่สาระสา คัญ เพราะฉะนั้น หากชายกระทา แก่หญิงด้วยวิธีอื่น 
อันผิดธรรมชาติก็ไม่ใช่การร่วมประเวณี 
อ.ชาติชาย อัครวิบูลย์ เห็นว่า ร่วมประเวณี คือ การเสพสังวาส ประพฤติผิดเมียผู้อื่น หรือ 
เป็นผัวเมียกัน จึงน่าจะเป็นการร่วมเพศระหว่างชายกับหญิง อันเป็นการกระทาตาม 
ธรรมชาติของการเป็นผัวเมีย ทั้งต้องใช้อวัยวะเพศของชายล่วงล้า เข้าไปในอวัยวะเพศหญิง 
มิใช่ทางทวารอื่นอันเป็นการผิดธรรมชาติ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 52
สรุป การร่วมประเวณีจะเกิดขึ้นต้องเป็นการกระทา ระหว่างชายกับหญิง กรณีที่เพศ 
เดียวกัน กรณีการผ่าตัดแปลงเพศ ไม่ถือว่าเป็นการร่วมประเวณี ไม่ว่าจะเป็นทางทวาร 
หนักหรือทางปากก็ตาม 
กรณีชายหรือหญิงคู่หมั้นไม่อาจเรียกค่าทดแทนกับผู้ซึ่งกระทา กับคู่หมั้นของตนตาม 
มาตรา ๑๔๔๕ ดังต่อไปนี้ 
๑.ชายอื่นใช้วัยวะเพศของตนกระทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากของชาย 
คู่หมั้น 
๒. ชายอื่นใช้วัยวะเพศของตนกระทา กับทวารหนัก หรือช่องปากของหญิงคู่หมั้นและ 
รวมถึงการกระทา กับอวัยวะเพศของหญิงคู่หมั้นโดยไม่มีการล่วงล้า 
๓.ชายอื่นใช้สิ่งอื่นที่ไม่ใช่อวัยวะเพศของตน เช่น อวัยวะเพศเทียม หรือนิ้วมือกระทา กับ 
อวัยวะเพศ กระทา กับอวัยวะเพศหรือทวารหนักของชายหรือหญิงคู่หมั้น 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 53
๔.หญิงอื่นซึ่งใช้อวัยวะเพศของตนกระทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่อง 
ปากของหญิงคู่หมั้น 
๕. หญิงอื่นซึ่งใช้อวัยวะเพศของตนกระทา กับทวารหนัก หรือช่องปาก ของชาย 
คู่หมั้น และรวมถึงการกระทา กับอวัยวะเพศของชายคู่หมั้นโดยไม่มีการล่วงล้า 
เข้าไป 
๖. หญิงอื่นซึ่งใช้สิ่งอื่นที่ไม่ใช่อวัยวะเพศของตน เช่น อวัยวะเพศเทียม หรือนิ้ว 
มือกระทา กับอวัยวะเพศ หรือทวารหนักของหญิงหรือชายคู่หมั้น 
คู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่งมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นตามมาตรา 
๑๔๔๒ หรือ ๑๔๔๓ ได้หรือไม่ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 54
ข่มขืนกระทา ชา เรา 
อาญา ม.๒๗๖ 
การกระทาชาเรา หมายความถึง การกระทาเพื่อสนองความใคร่ของ 
ผู้กระทา โดยใช่อวัยวะเพศของผู้กระทา กะทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก 
หรือช่องปากของผู้อื่น หรือการใช้สิ่งอื่นกระทา กับอวัยวะเพศหรือทาง 
ทวารหนักของผู้อื่น 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 55
กรณีเรียกค่าทดทนจากผู้ซึ่งมีเพศเดียวกันกับคู่หมั้นที่ข่มขืนกระทา 
ชา เราคู่หมั้นตามมาตรา ๑๔๔๖ 
๑.ใช้อวัยวะเพศของผู้กระทา กระทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือ 
ช่องปากของผู้อื่น หรือ 
๒.ใช้สิ่งอื่นที่ไม่ใช้อวัยวะเพศของผู้กระทา กระทา กับอวัยวะเพศหรือ 
ทวารหนักของผู้อื่น 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 56
กรณีชายคู่หมั้นเรียกค่าทดแทนจากผู้ซึ่งข่มขืนกระทา ชา เราหญิง 
คู่หมั้นของตนใน ๒ กรณี คือ 
๑.หญิงหรือชายใช้อวัยวะเพศของตนกระทา กับอวัยวะเพศ ทวาร 
หนัก หรือช่องปากของหญิงคู่หมั้น ไม่ว่าจะมีการล่วงล้า เข้าไป 
หรือไม่ก็ตาม 
๒.หญิงหรือชายอื่นซึ่งใช้สิ่งอื่นที่ไม่ใช่อวัยวะเพศของตน เช่น ของ 
เทียม นิ้วมือ กระทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากของ 
หญิงคู่หมั้น ไม่ว่าจะมีการล่วงล้า เข้าไปหรือไม่ก็ตาม 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 57
กรณีหญิงคู่หมั้นเรียกค่าทดแทนจากผู้ซึ่งข่มขืนกระทา ชา เราชายคู่หมั้น 
ของตนใน ๒ กรณี คือ 
๑.หญิงหรือชายใช้อวัยวะเพศของตนกระทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก 
หรือช่องปากของหญิงคู่หมั้น ไม่ว่าจะมีการล่วงล้า เข้าไปหรือไม่ก็ตาม 
๒.หญิงหรือชายอื่นซึ่งใช้สิ่งอื่นที่ไม่ใช่อวัยวะเพศของตน เช่น ของ 
เทียม นิ้วมือ กระทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากของหญิง 
คู่หมั้น ไม่ว่าจะมีการล่วงล้า เข้าไปหรือไม่ก็ตาม 
รายละเอียดเพิ่มเติม วรวุฒิ เทพทอง บทความเรื่อง ร่วมประเวณี กับ ข่มขืนกระทา ชา เรา คู่หมั้นตามกฎหมายครอบครัวหน้า 
๗๖-๙๑.ครอบครัว งานบริหาร อาจารย์ไพโรจน์.กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์เดือนตุลา ๒๕๕๓ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 58
การที่ชายอื่นร่วมประเวณีกับหญิงคู่หมั้นโดยหญิงยินยอม 
มาตรา ๑๔๔๕ ชายหรือหญิงคู่หมั้นอาจเรียกค่าทดแทนจากผู้ซึ่งได้ร่วม 
ประเวณีกับคู่หมั้น ของตนโดยรู้หรือควรจะรู้ถึงการหมั้นนั้น เมื่อได้บอกเลิก 
สัญญาหมั้นแล้วตาม มาตรา ๑๔๔๒ หรือ มาตรา ๑๔๔๓ แล้วแต่กรณี 
ชายอื่นจะต้องรู้ว่าหญิงนั้นหมั้นแล้วและรู้ว่าคู่หมั้นเป็นใครด้วย 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 59
มาตรา 1447 ค่าทดแทนอันจะพึงชดใช้แก่กันตามหมวดนี้ให้ 
ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์ 
สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตามหมวดนี้นอกจากค่าทดแทน 
ตาม มาตรา 1440 (2) ไม่อาจโอนกันได้และไม่ตกทอดไปถึง 
ทายาท เว้นแต่สิทธินั้น จะได้รับสภาพกันไว้เป็นหนังสือ หรือ 
ผู้เสียหายได้เริ่มฟ้องคดีตามสิทธินั้นแล้ว 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 60
การคา นวณค่าทดแทน 
เป็นค่าเสียหายที่เกิดขึ้นไม่ใช่ค่าขาดกา ไรอันควรจะได้ 
ตามควรแก่พฤติการณ์ 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 61
ไม่สามารถโอนสิทธิเรียกร้องกันได้ 
ไม่เป็นมรดก ข้อยกเว้น 
1มีการรับสภาพกันไว้เป็นหนังสือ หรือ 
2.ผู้เสียหายได้เริ่มฟ้องคดี 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 62
อายุความ 
มาตรา 1447/1 สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตาม มาตรา 1439 ให้มีอายุ ความหกเดือนนับแต่ 
วันที่ผิดสัญญาหมั้น 
สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตาม มาตรา 1444 ให้มีอายุความหกเดือนนับแต่ วันรู้ หรือ 
ควรรู้ถึงการกระทา ชั่วอย่างร้ายแรงอันเป็นเหตุให้บอกเลิกสัญญา หมั้น แต่ต้องไม่เกินห้าปี 
นับแต่วันกระทา การดังกล่าว 
สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตาม มาตรา 1445 และ มาตรา 1446 ให้มีอายุความหกเดือน 
นับแต่วันที่ชายหรือหญิงคู่หมั้นรู้หรือควรรู้ถึงการกระทา ของผู้อื่น อันจะเป็นเหตุให้เรียกค่า 
ทดแทนและรู้ตัวผู้จะพึงใช้ค่าทดแทนนั้น แต่ต้องไม่เกินห้าปีนับแต่วันที่ผู้อื่นนั้นได้กระทา 
การดังกล่าว 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 63
มาตรา 1447/2 สิทธิเรียกคืนของหมั้นตาม มาตรา 1439 ให้มีอายุความ 
หกเดือนนับแต่วันที่ผิดสัญญาหมั้น 
สิทธิเรียกคืนของหมั้นตาม มาตรา 1442 ให้มีอายุความหกเดือน 
นับแต่วัน ที่ได้บอกเลิกสัญญาหมั้น 
อายุความเรียกค่าสินสอดใช้อายุความทั่วไป 10 ปี 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 64
หนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน 
ประสพสุข บุญเดช. ๒๕๔๕ คำอธิบำยประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ว่ำด้วย 
ครอบครัว. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์นิติบรรณาการ 
ประสพสุข บุญเดช. ๒๕๕๔ รวมคำบรรยำย.กฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ว่ำด้วย 
ครอบครัว สมัยที่ ๖๔ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๔. กรุงเทพมหานคร : สานักอบรมศึกษา 
กฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา 
ไพโรจน์ กัมพูสิริ. ๒๕๔๐ คำอธิบำยประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ บรรพ ๕ ว่ำ 
ด้วยครอบครัว , กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์นิติธรรม 
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 65

More Related Content

What's hot

เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อNurat Puankhamma
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1Nurat Puankhamma
 
บทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญาบทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญาChi Wasana
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายNurat Puankhamma
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
ใบงานเรื่องสัมพันธภาพ
ใบงานเรื่องสัมพันธภาพใบงานเรื่องสัมพันธภาพ
ใบงานเรื่องสัมพันธภาพtassanee chaicharoen
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนอ งานนำเสนอ
งานนำเสนอ Hikaru NoSai
 
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...อ.เป้ สิททิกรณ์ สมาร์ทลอว์ติวเตอร์
 
บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)
บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)
บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วบุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วอ.เป้ สิททิกรณ์ สมาร์ทลอว์ติวเตอร์
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 

What's hot (20)

เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
 
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตายผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
 
บทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญาบทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
ใบงานเรื่องสัมพันธภาพ
ใบงานเรื่องสัมพันธภาพใบงานเรื่องสัมพันธภาพ
ใบงานเรื่องสัมพันธภาพ
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนอ งานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
 
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
 
บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)
บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)
บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วบุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 

Similar to กฎหมายครอบครัวหมั้น

การสิ้นสุดการสมรส
การสิ้นสุดการสมรสการสิ้นสุดการสมรส
การสิ้นสุดการสมรสbilly ratchadamri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวกฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวSukit U-naidhamma
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัวYosiri
 

Similar to กฎหมายครอบครัวหมั้น (7)

การสิ้นสุดการสมรส
การสิ้นสุดการสมรสการสิ้นสุดการสมรส
การสิ้นสุดการสมรส
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
การสมรส
การสมรสการสมรส
การสมรส
 
การสมรส
การสมรสการสมรส
การสมรส
 
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวกฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัว
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัว
 
กฎหมายครอบครัว การหมั้น
กฎหมายครอบครัว การหมั้นกฎหมายครอบครัว การหมั้น
กฎหมายครอบครัว การหมั้น
 

กฎหมายครอบครัวหมั้น

  • 3. 1.การหมั้นไม่เป็นเหตุฟ้องบังคับให้สมรส มาตรา 1438 การหมั้นไม่เป็นเหตุที่จะร้องขอให้ศาลบังคับให้สมรสได้ ถ้ามี ข้อตกลงกันไว้ว่าจะให้เบี้ยปรับในเมื่อผิดสัญญาหมั้น ข้อตกลงนั้นเป็นโมฆะ 2.เมื่อมีการผิดสัญญาหมั้นจะต้องมีการชดใช้ค่าทดแทน ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 3
  • 4. มาตรา 1439 บัญญัติว่า เมื่อมีการหมั้นแล้ว ถ้าฝ่ายใดผิดสัญญาหมั้นอีกฝ่ายหนึ่งมี สิทธิเรียกให้รับผิดใช้ค่าทดแทน ในกรณีที่ฝ่ายหญิงเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้นให้ คืนของหมั้นนั้นแก่ฝ่ายชาย การผิดสัญญาหมั้น คือ คู่หมั้นฝ่ายหนึ่งปฏิเสธไม่ยอมทา การสมรสกับคู่หมั้น อีกฝ่ายหนึ่ง การเรียกค่าทดแทนจะเรียกได้ต่อเมื่อมีการหมั้นหากไม่มีการหมั้นก็ไม่สามารถเรียกค่า ทดแทนได้ เช่น กรณีที่ชายหญิงตกลงว่าจะอยู่กินกันเฉย ๆ โดยไม่มีการหมั้น ฝ่ายหนึ่งผิด ข้อตกลงจะเรียกค่าทดแทนไม่ได้เพราะไม่มีการหมั้น คา พิพากษาฎีกาที่ 592/2540 ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 4
  • 5. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 592/2540 โจทก์ตกลงแต่งานกับจาเลยที่3โดยวิธีผูกข้อมือแสดงว่า โจทก์และจาเลยที่3มิได้มีเจตนาจะทาการสมรสโดยจดทะเบียนสมรสตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1457ดังนั้นทรัพย์สินที่โจทก์มอบให้จา เลยทั้งสองจึงไม่ใช่ ของหมั้นเพราะไม่ใช่ทรัพย์สินที่โจทก์มอบให้จา เลยทั้งสามเพื่อเป็นหลักฐานการหมั้นและ ประกันว่าจะสมรสกับจาเลยที่3และไม่ใช่สินสอดเพราะไม่ใช่ทรัพย์สินที่โจทก์ให้แก่จาเลย ที่1และที่2บิดามารดาของจาเลยที่3เพื่อตอบแทนการที่จาเลยที่3ยอมสมรสตามมาตรา1437 โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกคืน การที่จา เลยที่3ไม่ยอมให้โจทก์ร่วมหลับนอนนั้นเป็นสิทธิของ จาเลยที่3เพราะการสมรสระหว่างโจทก์และจาเลยที่3จะทาได้ต่อเมื่อจาเลยที่3ยินยอมเป็น สามีภริยากับโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1457การที่จาเลยที่3ไม่ ยินยอมหลับนอนกับโจทก์ไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์หรือผิดสัญญาหมั้นโจทก์จึงไม่มีสิทธิ เรียกค่าทดแทนหรือค่าเสียหายจากจา เลยทั้งสามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1439และมาตรา1440 ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 5
  • 6. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 83/2542 การที่โจทก์จะมีสิทธิเรียกค่าสินสอดทองหมั้นและ ค่า ทดแทนค่าใช้จ่ายในการแต่งงานคืนจากจา เลยได้นั้น ต้องเป็นกรณีที่มีการหมั้นแล้ว แต่ไม่มี การสมรส โดยเป็น ความผิดของจาเลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1437 วรรคสาม,1439 และ 1440(2) เมื่อปรากฏว่า โจทก์จาเลยได้แต่งงานกันตามประเพณีและจด ทะเบียนสมรสกันแล้ว โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกค่าสินสอดทองหมั้นและค่าทดแทน ค่าใช้จ่าย ในการแต่งงานคือจากจา เลยได้เพราะมิใช่กรณี จา เลยผิดสัญญาหมั้น โจทก์กับจา เลยเป็น สามีภริยาโดยทา พิธีแต่งงานตามประเพณี จดทะเบียนสมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย และร่วม อยู่กิน ด้วยกันแล้ว เมื่อสาเหตุที่โจทก์จา เลยทะเลาะกัน เป็นเรื่องเงินทองภายในครอบครัว ซึ่งเป็นเรื่องปกติธรรมดา ทั่วไป มิใช่เป็นสาเหตุร้ายแรงและสามารถปรับความเข้าใจ ระหว่างกันได้ แต่กลับได้ความว่า โจทก์ไปอยู่ที่บ้านสวน ของโจทก์โดยไม่ยอมกลับไปหา จา เลย แม้โจทก์จะมีวันหยุด ในวันอาทิตย์ว่างอยู่ แต่ก็อ้างว่าจะต้องซักผ้าและ ทา ธุระ ส่วนตัว หากโจทก์จะไปพบจา เลยบ้างในวันธรรมดา เป็นบางครั้ง โจทก์ก็อาจกระทา ได้ เพราะโจทก์เคยอยู่บ้านจาเลย และเคยไปทางานโดยไปกลับมาแล้ว แต่โจทก์ก็มิได้ ขวนขวาย ที่จะกระทา ดังกล่าวหรือชักชวนให้จา เลยไปอยู่กับโจทก์ ข้อเท็จจริงจึงฟังไม่ได้ ว่าจา เลยจงใจละทิ้งโจทก์โจทก์จึงไม่มีเหตุที่จะฟ้องหย่า ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 6
  • 8. ๑.ฝ่ายชายผิดสัญญาหมั้น ฝ่ายหญิงไม่ต้องคืนของหมั้น ๒.ฝ่ายหญิงผิดสัญญาหมั้น ฝ่ายหญิงจะต้องคืนของหมั้น คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 45/2532 การเรียกค่าทดแทนเนื่องจากผิด สัญญาหรือข้อตกลงเกี่ยวกับการสมรสนั้น ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 1439 บัญญัติไว้เป็นพิเศษให้เรียกได้เฉพาะกรณี ที่มีการหมั้นเท่านั้น เมื่อโจทก์จา เลยตกลงจะสมรสกันโดยไม่มีการ หมั้น จึงนอกขอบเขตที่กฎหมายรับรอง แม้จา เลยไม่ปฏิบัติตามที่ตก ลงกันไว้ โจทก์ก็เรียกค่าทดแทนไม่ได้ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 8
  • 9. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 5973/2533 การที่โจทก์หมั้นและแต่งงานตามประเพณี กับจา เลยที่ 1 โจทก์ย่อมต้องการอยู่กินฉันสามีภรรยากับจา เลยที่ 1 โดยชอบ ด้วยกฎหมายแม้จะไม่ปรากฏว่าได้พูดกันถึงเรื่องการจดทะเบียนสมรสก็ตาม เมื่อจา เลยที่ 1 อยู่กับโจทก์เพียงคืนเดียว โดยโจทก์ไม่ได้ร่วมประเวณีกับจา เลย ที่ 1 เพราะจา เลยที่ 1 อ้างว่าเหนื่อยขอผัดเป็นวันรุ่งขึ้นครั้นวันรุ่งขึ้นโจทก์ต้อง ช่วยนาสิ่งของที่ใช้ในงานแต่งงานส่งคืนเจ้าของ ไม่มีเวลาว่าง จึงให้จาเลยที่ 1 นา ชุดสากลไปคืนที่ร้านในเมือง จา เลยที่ 1 ออกจากบ้านไปแล้วไม่กลับมาอยู่ กินกับโจทก์อีกโดยไม่ปรากฏสาเหตุโจทก์ได้ออกตามหาตลอดมา แต่ไม่พบ จา เลยที่ 1 ทั้งจา เลยที่ 1 เคยแสดงท่าทีไม่อยากกลับไปแต่งงานกับโจทก์ พฤติการณ์แสดงว่าจาเลยที่ 1 หลบหนีไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับโจทก์และ ไม่อาจถือได้ว่าโจทก์ไม่นา พาต่อการจดทะเบียนสมรสกับจา เลยที่1จา เลยทั้ง สามจึงเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น ต้องคืนของหมั้นและสินสอดแก่โจทก์. ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 9
  • 10. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1034/2535 แม้กฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ ขณะมีการหมั้นจะมิได้บัญญัติว่า การหมั้นจะต้องมีของหมั้น แต่การหมั้นก็ควรจะต้องกระทา กันเป็นกิจจะลักษณะและ เปิดเผยให้เป็นที่รับรู้ของบุคคลทั่วไป การสู่ขอกันไม่อาจเรียก ได้ว่าเป็นการหมั้นกันตามกฎหมาย ดังนี้จา เลยผิดข้อตกลง โจทก์จะเรียกค่าทดแทนจากจา เลยหาได้ไม่. ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 10
  • 11. คาพิพากษาฎีกาที่ 6157/2537 โจทก์และจา เลยที่ ๑ ทา การหมั้น และแต่งงาน ตามประเพณีอยู่กินกันที่บ้านของจา เลยที่ ๒ ซึ่งเป็นมารดาของจาเลยที่ ๑ หลังจากอยู่ด้วยกัน ๒๑ วัน โจทก์และจา เลยที่สองไปที่ว่าการอา เภอเพื่อจด ทะเบียนสมรส แต่เจ้าหน้าที่ไม่จดทะเบียนให้เพราะบิดาจา เลยที่ ๑ แยกกันอยู่ กับจาเลยที่ ๒ มิได้ไปให้ความยินยอม ต่อมาอีก ๓ เดือน โจทก์ขนย้าย ทรัพย์สินออกจาบ้านของจา เลยทั้งสอง แต่หลังจากนั้นโจทก์เขียนจดหมายถึง จา เลยที่ ๑ มีข้อความแสดงว่ายังรักและต้องการอยู่กินฉันสามมีภรรยากับจา เลย ที่ ๑ โดยไม่ได้กล่าวถึงการจดทะเบียนสมรสอันแสดงว่าโจทก์มิถือเอาการจด ทะเบียนสมรสเป็นข้อสา คัญแต่อย่างใด จึงฟังไม่ได้ว่าเหตุที่ไม่มีการจดทะเบียน สมรสระหว่างโจทก์กับจา เลยที่ ๑ นั้นเกิดจากฝ่ายจา เลยผิดสัญญาหมั้น โจทก์จึง ไม่มีสิทธิฟ้องเรียกของหมั้นและสินสอดคืน ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 11
  • 12. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 2165/2538 การที่หญิงหมั้นกับชายโดยชอบ ด้วยกฎหมายและเมื่อแต่งงานตามประเพณีแล้วหญิงชวนชายไปจด ทะเบียนสมรสหลายครั้งหญิงย่อมต้องการอยู่กินกับชายโดยชอบด้วย กฎหมาย การที่บิดามารดาและพี่ของชายนั้นไล่หญิงออกจากบ้าน หลังจากนั้นชายก็มิได้กระทา การใดเพื่อให้หญิงกลับมาอยู่กินฉันสามี ภริยาชายนั้นจึงผิดสัญญาหมั้น หญิงและชายต่างมีฐานะดีในการจัด งานเลี้ยงแต่งงานมีการเชิญแขกประมาณ 600 คน และเลี้ยงโต๊ะจีนการ ที่หญิงซื้อ ชุดแต่งงานเพื่อเข้าพิธีจา นวน 4 ชุดเป็นเงิน 28,000 บาทเป็น การใช้จ่ายอันสมควรในการเตรียมการสมรสเรียกค่าทดแทนได้ หญิง ซื้อ ผ้ารับไหว้เพื่อให้ญาติผู้ใหญ่ฝ่ายชายตามประเพณีมิใช่ค่าใช้จ่ายใน การเตรียมการสมรสอันจะเรียกค่าทดแทนได้ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 12
  • 13. มาตรา 1440 บัญญัติว่า ค่าทดแทนนั้นอาจเรียกได้ ดังต่อไปนี้ (1) ทดแทนความเสียหายต่อกายหรือชื่อเสียงแห่งชายหรือหญิงนั้น (2) ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้น บิดามารดาหรือบุคคล ผู้กระทา การในฐานะเช่นบิดามารดาได้ใช้จ่ายหรือต้องตกเป็นลูกหนี้ เนื่อง ใน การเตรียมการสมรสโดยสุจริตและตามสมควร (3) ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้นได้จัดการทรัพย์สิน หรือการ อื่นอันเกี่ยวแก่อาชีพหรือทางทา มาหาได้ของตนไปโดยสมควร ด้วยการ คาดหมายว่าจะได้มีการสมรส ในกรณีที่หญิงเป็นผู้มีสิทธิได้ค่าทดแทน ศาลอาจชี้ขาดว่าของหมั้นที่ ตก เป็นสิทธิแก่หญิงนั้นเป็นค่าทดแทนทั้งหมด หรือเป็นส่วนหนึ่งของ ค่าทดแทน ที่หญิงพึงได้รับ หรือศาลอาจให้ค่าทดแทนโดยไม่คา นึงถึง ของหมั้นที่ตกเป็น สิทธิแก่หญิงนั้นก็ได้ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 13
  • 14. ๑.ค่าทดแทนความเสียหายต่อกาย หรือชื่อเสียงแห่งชายหรือหญิงนั้น ค่าเสียหายต่อกาย คือ การที่หญิงคู่หมั้นถูกชายกอดจูบล่วงเกินทางชู้สาว เช่น หญิงคู่หมั้นถูกชายคู่หมั้นร่วมประเวณี หรือหญิงคู่หมั้นไปกินกับชายคู่หมั้น คา พิพากษาฎีกาที่ ๒๖๒๖/๒๕๑๘ จา เลยได้ร่วมประเวณีกับ ร. และเป็นฝ่ายผิด สัญญาหมั้น ร. ย่อมต้องได้รับความเสียหายต่อกายและชื่อเสียง และมีสิทธิเรียก ค่าทดแทนได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1439(1) ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 14
  • 15. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 982/2518 มูลชายหญิงหมั้นกันโดยตกลงว่า เมื่อ ทา พิธีแต่งงานกันแล้วจะไปจดทะเบียนสมรสภายใน 15 วัน แต่เมื่อได้ ทา พิธีแต่งงานและได้อยู่ร่วมกัน 46 วันแล้ว ชายไม่ยอมจดทะเบียน สมรสกับหญิงแต่กลับขับไล่หญิงให้กลับไปอยู่บ้านบิดาเช่นนี้ชายผิด สัญญาหมั้น เป็นเหตุให้หญิงต้องได้รับความอับอายขายหน้า เสื่อมเสีย เกียรติยศชื่อเสียงและร่างกายชายต้องรับผิดตาม ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 1439(1) ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 15
  • 16. ๒.ความเสียหายต่อชื่อเสียง คือ การที่ชายคู่หมั้นหรือหญิงคู่หมั้นได้รับความอับอายขาย หน้า เสื่อมเสียเกียรติยศชื่อเสียง (ไม่รวมค่าเสียหายทางจิตใจ เช่น โศกเศร้า ร้องไห้ คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1305/2514 ค่าทดแทนความเสียหายต่อกายหรือชื่อเสียงเมื่อมีการ ผิดสัญญาหมั้นนั้นลา พังแต่การที่ฝ่ายชายหรือฝ่ายหญิงผิดสัญญาหมั้น หาเป็นผล ก่อให้เกิดความเสียหายแก่กายหรือชื่อเสียงของอีกฝ่ายหนึ่งเสมอไปไม่ (เป็นหน้าที่ของ ฝ่ายที่อ้างว่าเสียหายจะต้องนาสืบพิสูจน์) โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายต่อชื่อเสียงจากจา เลยโดยอ้างว่า จา เลยผิดสัญญาหมั้น แต่ข้อ นาสืบของโจทก์ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าโจทก์ได้รับความเสียหายต่อชื่อเสียงในการที่ จา เลยผิดสัญญาหมั้นอย่างไรบ้างสาเหตุที่ทา ให้เกิดการถอนหมั้น ดังที่โจทก์นา สืบก็ไม่ ปรากฏว่าทาความเสียหายให้โจทก์แต่อย่างใด การที่โจทก์กล่าวลอย ๆ ว่าโจทก์ได้รับ ความเสียหายนั้น ยังไม่เพียงพอที่ศาลจะรับฟังว่า โจทก์ได้รับความเสียหายอันจะกา หนด จา นวนเงินให้จา เลยรับผิดใช้ค่าทดแทน ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 16
  • 17. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 311/2522 ชายผิดสัญญาหมั้น ฝ่ายชายคือ ตัวชาย บิดาและมารดาซึ่งไปหมั้นหญิงต้องร่วมกันใช้ค่า ทดแทนความเสียหายต่อกาย โดยที่หญิงตกเป็นภริยาชายแม้ด้วย ความสมัครใจ ความเสียหายต่อชื่อเสียงและที่ได้เตรียมการ สมรส ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 17
  • 18. คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ 3366/2525 จา เลยเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกให้ จา เลยรับผิดใช้ค่าทดแทนได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1439,1440 การกา หนดค่าทดแทนความเสียหายต่อกายและชื่อเสียงของโจทก์นั้นต้องพิเคราะห์ถึง การศึกษาอาชีพและรายได้ของโจทก์ฐานะของครอบครัวของโจทก์และการที่โจทก์เป็น หญิงมาอยู่กินกับจา เลยจน มีบุตรแต่จา เลยไม่ยอมจดทะเบียนสมรสทา ให้โจทก์ได้รับความ อับอายเสียชื่อเสียงทั้งเป็นการยากที่จะทา การสมรสใหม่ ก่อนรับหมั้นจา เลย โจทก์ทา งานอยู่บริษัทฯ เมื่อแต่งงานแล้วโจทก์ได้ลาออกจากงาน เพื่อมาช่วยงานบ้านจาเลยถือได้ว่าโจทก์ได้จัดการเกี่ยวกับอาชีพโดยสมควรด้วยการ คาดหมายว่าจะได้มีการสมรสเมื่อจาเลยไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ โจทก์ย่อมมีสิทธิ เรียกค่าทดแทนความเสียหายส่วนนี้ได้แต่ต่อมาโจทก์ได้เข้าทา งานใหม่แม้จะลาออกจากงาน อีกครั้งหนึ่งก็มิใช่ด้วยการคาดหมายว่าจะได้มีการสมรสเพราะในระยะนั้นทั้งสองฝ่าย ขัดแย้งกันอย่างรุนแรงจนเป็นที่เห็นได้ว่าไม่อาจจะจดทะเบียนสมรสกันได้แน่นอน โจทก์ จึงเรียกไม่ได้ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 18
  • 19. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 3868/2531 ชายหญิงตกลงกันในวันสู่ขอว่าจะไปจดทะเบียนสมรส หลังพิธีแต่งงานแล้ว ต่อมาชายเป็นฝ่ายที่ไม่ยอมจดทะเบียนสมรสอันเป็นการผิดสัญญาหมั้น ชายจะเรียกของหมั้นและสินสอดคืนไม่ได้ ทั้งไม่มีสิทธิเรียกค่าทดแทนความเสียหายที่ได้ใช้ จ่ายไปในการเตรียมการสมรส เงินที่ฝ่ายชายมอบให้แก่ฝ่ายหญิงเพื่อซื้อบ้านอยู่อาศัยไม่มี ลักษณะเป็นค่าใช้จ่ายในการเตรียมการสมรส แต่เป็นข้อตกลงนาเอามาเป็นเงินกองทุนเพื่อ ใช้เป็นที่อยู่และที่ทา มาหากินระหว่างชายกับหญิง หลังจากแต่งงานกันแล้ว เมื่อไม่มีการจด ทะเบียนสมรสกันฝ่ายหญิงต้องคืนเงินจา นวนนี้ให้ฝ่ายชาย หนี้เงินตามเช็คที่ชายหญิงยังมีข้อ ต่อสู้โต้เถียงกันอยู่จะนา มาหักกลบลบหนี้กับหนี้ที่ชายหญิงมีอยู่ต่อกันไม่ได้ หญิงฟ้องแย้ง เรียกค่าทดแทนความเสียหายเนื่องจากชายผิดสัญญาหมั้น แต่ข้อนา สืบของหญิงไม่ปรากฏ ข้อเท็จจริงว่าหญิงได้รับความเสียหายต่อชื่อเสียงในการที่ชายผิดสัญญาหมั้นอย่างไรบ้าง การที่หญิงกล่าวอ้างลอย ๆ ว่าได้รับความเสียหายยังไม่เพียงพอที่ศาลจะรับฟังว่าหญิงได้รับ ความเสียหายอันจะกา หนดให้ชายรับผิดชดใช้ค่าทดแทน ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 19
  • 20. (๒) ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้น บิดามารดาหรือบุคคล ผู้กระทา การในฐานะเช่นบิดามารดาได้ใช้จ่ายหรือต้องตกเป็นลูกหนี้ เนื่อง ใน การเตรียมการสมรสโดยสุจริตและตามสมควร หมายความถึง ค่าใช้จ่ายอัน จา เป็นที่ชายหญิงต้องกระทา เพื่อเตรียมการที่ชายหญิงจะอยู่กินฉันสามีภริยา กันโดยตรง คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1217/2496 ฝ่ายชายได้ดา เนินการสู่ขอฝ่ายหญิงจนได้มี การเหยียบเรือนตามประเพณีท้องถิ่นแล้ว คือฝ่ายชายได้นา หมากพลูและผ้าขาว ไปเคารพฝ่ายหญิง และได้กา หนดนัดวันทา พิธีสมรสแล้ว เช่นนี้ย่อมถือได้ว่า เป็นการตกลงโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยการหมั้น และการตกลงทา การ สมรสแล้วทุกประการเมื่อถึงวันกาหนดแต่งงานฝ่ายชายไม่มาตามกาหนด ฝ่าย หญิงย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกค่าทดแทนได้ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 20
  • 21. ค่าใช้จ่ายในที่นี้ไม่รวมค่าใช้จ่ายในการหมั้นเฉพาะค่าใช้จ่ายในการสมรส คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๘๔/๒๔๕๗ โจทก์ปลูกสร้างเรือนหอตามสัญญาสิ้นเงิน ๑๒๐๐ บาท จา เลยต้องชดใช้เงินจา นวนดังกล่าวให้โจทก์ แต่โจทก์ต้องมอบ เรือนหอให้กับจา เลย คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 71/2493 ค่าหมากพลูและค่าขนมวันหมั้น ค่ารถไปหมั้น และค่าเลี้ยงแขกวันไปหมั้น ไม่เข้าอยู่ในข้อหนึ่งข้อใดของประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1439 ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 21
  • 22. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 311/2522 ชายผิดสัญญาหมั้น ฝ่ายชายคือตัวชาย บิดาและมารดาซึ่งไปหมั้นหญิงต้องร่วมกันใช้ค่าทดแทนความเสียหาย ต่อกาย โดยที่หญิงตกเป็นภริยาชายแม้ด้วยความสมัครใจ ความเสียหาย ต่อชื่อเสียงและที่ได้เตรียมการสมรส คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 945/2491 ค่าใช้จ่ายที่เสียไปในงานแต่งงาน ไม่ถือว่าเป็น ค่าใช้จ่ายในการเตรียมการสมรส ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1439(2) คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ 90/2512 ค่าเลี้ยงดูในวันทา พิธีแต่งงานไม่ใช่เป็นค่าใช้จ่ายในการ เตรียมการสมรสอันจะเรียกค่าทดแทนกันได้ (เทียบฎีกาที่1166/2487) ค่าเสื้อผ้า(ชุด แต่งงาน) เป็นค่าใช้จ่ายในการเตรียมการสมรส เรียกค่าทดแทนได้ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 22
  • 23. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ (ประชุมใหญ่) 2086/2518 ค่าอาหารเลี้ยงพระและแขกในวัน แต่งงาน ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายเนื่องในการเตรียมการสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ มาตรา 1439(2) คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 3868/2531 ชายหญิงตกลงกันในวันสู่ขอว่าจะไปจด ทะเบียนสมรสหลังพิธีแต่งงานแล้ว ต่อมาชายเป็นฝ่ายที่ไม่ยอมจดทะเบียน สมรสอันเป็นการผิดสัญญาหมั้น ชายจะเรียกของหมั้นและสินสอดคืนไม่ได้ ทั้ง ไม่มีสิทธิเรียกค่าทดแทนความเสียหายที่ได้ใช้จ่ายไปในการเตรียมการสมรส เงิน ที่ฝ่ายชายมอบให้แก่ฝ่ายหญิงเพื่อซื้อบ้านอยู่อาศัยไม่มีลักษณะเป็นค่าใช้จ่ายใน การเตรียมการสมรส แต่เป็นข้อตกลงนา เอามาเป็นเงินกองทุนเพื่อใช้เป็นที่อยู่ และที่ทา มาหากินระหว่างชายกับหญิง หลังจากแต่งงานกันแล้ว เมื่อไม่มีการจด ทะเบียนสมรสกันฝ่ายหญิงต้องคืนเงินจา นวนนี้ให้ฝ่ายชาย ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 23
  • 24. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 2165/2538 การที่หญิงหมั้นกับชายโดยชอบด้วย กฎหมายและเมื่อแต่งงานตามประเพณีแล้วหญิงชวนชายไปจดทะเบียน สมรสหลายครั้งหญิงย่อมต้องการอยู่กินกับชายโดยชอบด้วยกฎหมาย การที่บิดามารดาและพี่ของชายนั้นไล่หญิงออกจากบ้านหลังจากนั้นชาย ก็มิได้กระทา การใดเพื่อให้หญิงกลับมาอยู่กินฉันสามีภริยาชายนั้นจึงผิด สัญญาหมั้น หญิงและชายต่างมีฐานะดีในการจัดงานเลี้ยงแต่งงานมีการ เชิญแขกประมาณ 600 คนและเลี้ยงโต๊ะจีนการที่หญิงซื้อ ชุดแต่งงาน เพื่อเข้าพิธีจา นวน 4 ชุดเป็นเงิน 28,000 บาทเป็นการใช้จ่ายอันสมควร ในการเตรียมการสมรสเรียกค่าทดแทนได้ หญิงซื้อ ผ้ารับไหว้เพื่อให้ ญาติผู้ใหญ่ฝ่ายชายตามประเพณีมิใช่ค่าใช้จ่ายในการเตรียมการสมรส อันจะเรียกค่าทดแทนได้ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 24
  • 25. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 2165/2538 การที่หญิงหมั้นกับชายโดยชอบด้วย กฎหมายและเมื่อแต่งงานตามประเพณีแล้วหญิงชวนชายไปจดทะเบียนสมรส หลายครั้งหญิงย่อมต้องการอยู่กินกับชายโดยชอบด้วยกฎหมายการที่บิดา มารดาและพี่ของชายนั้นไล่หญิงออกจากบ้านหลังจากนั้นชายก็มิได้กระทา การ ใดเพื่อให้หญิงกลับมาอยู่กินฉันสามีภริยาชายนั้นจึงผิดสัญญาหมั้น หญิงและชายต่างมีฐานะดีในการจัดงานเลี้ยงแต่งงานมีการเชิญแขก ประมาณ 600 คนและเลี้ยงโต๊ะจีนการที่หญิงซื้อชุดแต่งงานเพื่อเข้าพิธีจา นวน 4 ชุดเป็นเงิน 28,000 บาท เป็นการใช้จ่ายอันสมควรในการเตรียมการสมรส เรียกค่าทดแทนได้ หญิงซื้อผ้ารับไหว้เพื่อให้ญาติผู้ใหญ่ฝ่ายชายตามประเพณีมิใช่ค่าใช้จ่ายใน การเตรียมการสมรสอันจะเรียกค่าทดแทนได้ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 25
  • 27. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 3366/2525 จาเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกให้ จา เลยรับผิดใช้ค่าทดแทนได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1439,1440 การกา หนดค่าทดแทนความเสียหายต่อกายและชื่อเสียงของโจทก์นั้นต้องพิเคราะห์ ถึงการศึกษาอาชีพและรายได้ของโจทก์ฐานะของครอบครัวของโจทก์และการที่โจทก์เป็น หญิงมาอยู่กินกับจา เลยจน มีบุตรแต่จา เลยไม่ยอมจดทะเบียนสมรสทา ให้โจทก์ได้รับความ อับอายเสียชื่อเสียงทั้งเป็นการยากที่จะทา การสมรสใหม่ ก่อนรับหมั้นจา เลย โจทก์ทา งานอยู่บริษัทฯ เมื่อแต่งงานแล้วโจทก์ได้ลาออกจาก งานเพื่อมาช่วยงานบ้านจาเลยถือได้ว่าโจทก์ได้จัดการเกี่ยวกับอาชีพโดยสมควรด้วยการ คาดหมายว่าจะได้มีการสมรสเมื่อจาเลยไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ โจทก์ย่อมมี สิทธิเรียกค่าทดแทนความเสียหายส่วนนี้ได้แต่ต่อมาโจทก์ได้เข้าทา งานใหม่แม้จะลาออก จากงานอีกครั้งหนึ่งก็มิใช่ด้วยการคาดหมายว่าจะได้มีการสมรสเพราะในระยะนั้นทั้งสอง ฝ่ายขัดแย้งกันอย่างรุนแรงจนเป็นที่เห็นได้ว่าไม่อาจจะจดทะเบียนสมรสกันได้แน่นอน โจทก์จึงเรียกไม่ได้ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 27
  • 29. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 2086/2518 (ประชุมใหญ่) โจทก์ฟ้องว่าจาเลยผิดสัญญา หมั้น เรียกค่าทดแทนความเสียหายจากจา เลย 26,050 บาทจา เลยปฏิเสธ ศาล ชั้นต้นพิพากษาให้จา เลยใช้ค่าทดแทนความเสียหาย 4,320 บาท ศาลอุทธรณ์ พิพากษาแก้ให้จาเลยใช้ 1,220 บาท โจทก์ฎีกาขอให้จาเลยใช้ค่าทดแทนความ เสียหายตามคา พิพากษาศาลชั้นต้น ดังนี้ แม้ในชั้นฎีกา คดีจะมีทุนทรัพย์ 3,100 บาท แต่จานวนทุนทรัพย์แห่งคดีที่จะพิจารณาว่าโจทก์ฎีกาในข้อเท็จจริงได้ หรือไม่ต้องถือตามทุนทรัพย์ที่พิพาทในศาลชั้นต้น มิใช่ถือตามทุนทรัพย์ที่ พิพาทกันในชั้นฎีกา เมื่อคดีนี้ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในศาลชั้นต้นจา นวน 26,050 บาท โจทก์จึงฎีกาในข้อเท็จจริงได้ ค่าอาหารเลี้ยงพระและแขกในวันแต่งงาน ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายเนื่องในการ เตรียมการสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1439(2) ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 29
  • 30. คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ 1223/2519 จา เลยได้หมั้นโจทก์และกา หนดจะ แต่งงานกันหลังจากโจทก์ไว้ทุกข์ให้บิดาโจทก์แล้ว 3 ปี ระหว่างนั้น โจทก์ตั้งครรภ์กับจา เลยจา เลยแนะนา ให้ทา แท้งเมื่อโจทก์ทา แท้งแล้ว เกิดป่วยหนัก จาเลยกลับหลบหน้าไปแต่งงานกับหญิงอื่น โจทก์ได้รับ ความเสียหายทางร่างกาย ชื่อเสียง และต้องเจ็บป่วยเสียเงินค่ารักษาโดย จาเลยมิได้สนใจเมื่อหายป่วยแล้ว ผู้ที่ทราบเรื่องไม่มีผู้ใดประสงค์จะ แต่งงานกับโจทก์อีกจาเลยจึงต้องใช้ค่าทดแทนความเสียหายดังกล่าว ส่วนของหมั้นอันมีราคาเพียงเล็กน้อยนั้นย่อมตกเป็นสิทธิแก่โจทก์ ผู้เสียหายอยู่แล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1439 วรรคท้ายจา เลยจะอ้างว่าโจทก์ได้ของหมั้นเป็นการเพียงพอแล้วหาได้ ไม่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 30
  • 31. ฝ่ายหญิงผิดสัญญา ต้องคืนของหมั้นให้กับฝ่ายชาย คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ 483/2533 จา เลยที่ 3 ไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ที่ 1 อ้างว่าเนื่องจากโจทก์ที่ 1 มีสติไม่บริบูรณ์เหมือนคนธรรมดาและคล้ายกับ ปัญญาอ่อน แต่พฤติการณ์ที่ปรากฏในสานวนยังไม่พอฟังว่าโจทก์ที่ 1เป็น เช่นนั้น อันจะเป็นข้ออ้างที่มีเหตุสาคัญในการไม่ยอมจดทะเบียนสมรส จา เลย จึงเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น จา เลยทั้งสามตกลงรับหมั้นจากฝ่ายโจทก์พร้อมทั้งรับ ของหมั้นไว้เรียบร้อยแล้ว แม้จา เลยที่ 1 ที่ 2 มอบของหมั้นทั้งหมดให้แก่จา เลยที่ 3 เมื่อจาเลยที่ 3 ไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ที่ 1อันเป็นการผิดสัญญา หมั้น จา เลยทั้งสามซึ่งรับของหมั้นไว้ก็ต้องร่วมกันคืนของหมั้นแก่ฝ่ายโจทก์. ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 31
  • 32. ความระงับของสัญญาหมั้น ๑.คู่หมั้นทั้งสองฝ่ายยินยอมเลิกสัญญา ๒.คู่หมั้นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตาย 3.คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งบอกเลิกสัญญาหมั้น อันเนื่องมาก จากเหตุสา คัญอันเกิดแก่คู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่ง ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 32
  • 33. ๑.คู่หมั้นทั้งสองฝ่ายยินยอมเลิกสัญญา มาตรา ๓๙๑ คืนของหมั้นให้แก่ฝ่ายชาย ผู้เยาว์สามารถบอกเลิกสัญญาหมั้นได้โดยไม่ต้องขอความยินยอม เพราะเป็น เรื่องเฉพาะตัวผู้เยาว์ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 33
  • 34. ๒.คู่หมั้นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตาย มาตรา ๑๔๔๑ บัญญัติว่า ถ้าคู่หมั้นฝ่ายหนึ่งตายก่อนสมรสอีกฝ่ายหนึ่งจะ เรียกร้อง ค่าทดแทนมิได้ ส่วนของหมั้นหรือสินสอดนั้นไม่ว่าชายหรือหญิง ตาย หญิง หรือฝ่ายหญิงไม่ต้องคืนให้แก่ฝ่ายชาย การตายโดยธรรมชาติ ไม่รวมสาบสูญ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 34
  • 36. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1089/2492 ของหมั้นต้องเป็นทรัพย์สินซึ่งฝ่าย ชายได้ให้แก่ฝ่ายหญิงไว้แล้ว ถ้าให้ทรัพย์สินไว้ส่วนหนึ่ง และสัญญา ว่า จะนา มามอบให้ในวันหลังอีก ก็คงเป็นของหมั้นเฉพาะส่วนที่ให้ไว้ แล้ว ส่วนที่ยังไม่ได้มอบให้ไม่เป็นของหมั้น ฉะนั้นในกรณีที่ชายตาย ของหมั้นที่มอบไว้ย่อมตกแก่หญิง แต่หญิงจะฟ้องเรียกทรัพย์ที่ฝ่าย ชายสัญญาจะมอบให้อีกนั้นไม่ได้ ถ้าฝ่ายชายได้มอบของหมั้นให้บ้างแล้ว และสัญญาว่าจะนา ของ หมั้นที่ยังขาดมามอบให้อีก ถ้าฝ่ายชายไม่นา มามอบให้ตามที่ตกลงกัน ฝ่ายหญิงจะปฏิเสธไม่ยอมสมรส โดยถือว่าฝ่ายชายผิดสัญญาหมั้นก็ได้ เอาโฉนดไปวางเป็นประกันหนี้ แต่ตามกฎหมายไม่มีหนี้ที่จะ เรียกร้องจากกันได้ เจ้าของโฉนดก็ย่อมฟ้องเรียกโฉนดคืนได้ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 36
  • 37. ๓.คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งบอกเลิกสัญญาหมั้น โดยมีเหตุสา คัญเกิดแก่หญิงคู่หมั้นหรือชายคู่หมั้น หมายถึงเหตุที่จะกระทบกระเทือนถึงการสมรสที่จะมีต่อไประหว่าง ชายหญิงคู่หมั้นอันจะก่อความไม่สงบในการสมรส ปรับกรณีเหตุหย่า ม.๑๕๑๖ เหตุอื่น ๆ เช่น ล้มละลาย ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 37
  • 38. ๑.เหตุสา คัญที่ไม่สามรถเรียกค่าทดแทนได้ เช่น กลายเป็นคนวิกลจริต ๒.เหตุสา คัญที่เรียกค่าทดแทนได้ ม.๑๔๔๔ การประพฤติชั่วของอีกฝ่ายหนึ่ง ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 38
  • 39. ๓.๑ ชายบอกเลิกสัญญาหมั้นโดยมีโดยเหตุอันควรเกิดแก่หญิงคู่หมั้น มาตรา ๑๔๔๒ บัญญัติว่า ในกรณีมีเหตุสาคัญอันเกิดแก่หญิงคู่หมั้นทา ให้ชายไม่ สมควรสมรสกับหญิงนั้น ชายมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นได้และให้หญิงคืนของหมั้น แก่ชาย เช่น วิกลจริต เสียโฉม โรคติดต่ออย่างร้ายแรง ร่างกายพิการ เช่น แขนขาด ขาขาด คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1036/2524 โจทก์เป็นโรคจิตประสาทอย่างอ่อน มีอาการเปลี่ยนแปลง ทางอารมณ์ สามารถรักษาให้หายได้ และผู้ที่เป็นโรคนี้สามารถแต่งงานได้ จา เลยเคยพา โจทก์ออกไปเที่ยวนอกบ้านทั้งในเวลาก่อนและหลังหมั้นและกว่าโจทก์จา เลยจะแต่งงานกัน ก็เป็นเวลาภายหลังหมั้นถึง 5 เดือนเศษ เมื่อจา เลยแต่งงานและอยู่กินกับโจทก์เป็นเวลา 3 เดือนเศษแล้วจา เลยปฏิเสธไม่ยอมไปจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ ดังนี้ ถือไม่ได้ว่าเหตุที่ไม่มี การสมรสนั้นมีเหตุผลสา คัญอันเกิดแต่โจทก์ โจทก์จึงไม่ต้องคืนของหมั้น ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 39
  • 40. พรมจารี(chaste) ของหญิงคู่หมั้น สันนิษฐานว่าบริสุทธ์ิ เว้นแต่จะทราบความจริงเป็นอย่างอื่น กรณีทราบภายหลังชายการหมั้นชายคู่หมั้นมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้น กรณีหญิงหย่าสามีแล้วใช้คา นา หน้านามว่า “นางสาว” กรณีชายไม่รู้ถือว่าเป็นเหตุสา คัญ อันเกิดแก่หญิงคู่หมั้นหรือไม่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 40
  • 41. คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ 640/2494 ชายหญิงทา พิธีแต่งงานกันตามประเพณี แต่ หญิงไม่ยอมหลับนอนร่วมประเวณีกับชายฉันสามีภริยาโดยแยกไปนอนเสียคน ละห้องกับชายอยู่มาประมาณ 10 วัน มารดาของหญิงบอกให้ชายพาหญิงเข้า ห้องเอาเองชายจึงเข้าไปจับเอวหญิงออกมาจากห้องที่หญิงนอน หญิงฉวยแจกัน ตีศีรษะชายแตกโลหิตออกแจกันหักแล้วยังใช้แจกันตีชายถูกโหนกแก้มเป็น บาดแผลต้องเย็บถึง 7 เข็ม ชายจึงกลับบ้านและไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับ หญิงดังนี้ถือว่าการกระทา ของหญิงเป็นเหตุผลสา คัญอันพอที่จะทา ให้ชาย ปฏิเสธไม่ยอมสมรสด้วยหญิงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1441 ได้ ชายจึงมีสิทธิเรียกของหมั้นคืนจากหญิงได้ โจทก์จา เลยร่วมกันนา สัมภาระและลงทุนปลูกสร้างเรือนขึ้น 1หลัง แต่ ไม่ได้ความพอจะชี้ได้ว่าสัมภาระชิ้นใดเป็นของผู้ใดได้ทุกชิ้น ทั้งไม่ได้ความว่า แต่ละฝ่ายได้มีส่วนเป็นเจ้าของอยู่เกินกว่าครึ่ง ดังนี้ ต้องถือว่า โจทก์และจา เลยมี ส่วนเป็นเจ้าของเรือนรายนี้เท่าๆกัน ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 41
  • 42. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1235/2506 ชายคู่หมั้นตั้งรังเกียจหญิงคู่หมั้น โดยหญิงคู่หมั้นนั่งซ้อนท้ายรถจักรยานซึ่งชายอื่นขี่เพื่อไปดูภาพยนตร์ ในเวลากลางคืน มีเพื่อนไปด้วยกันรวม 7 คน แล้วชาวบ้านคิดเดาและ ลือกันว่าหญิงนั้นมีความสัมพันธ์ทางชู้สาวกับชายที่ขี่จักรยานนั้น การ ที่หญิงคู่หมั้นกระทา เพียงเท่านี้ แล้วต่อมาหญิงนั้นไม่ยอมสมรสกับชาย คู่หมั้น ก็จะถือว่าเพราะมีเหตุผลสาคัญอันเกิดแต่หญิงนั้นหาได้ไม่ หญิงนั้นจึงมิต้องคืนของหมั้นเพราะเหตุเช่นนี้ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 42
  • 43. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1036/2524 โจทก์เป็นโรคจิตประสาท อย่างอ่อน มีอาการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ สามารถรักษาให้หาย ได้ และผู้ที่เป็นโรคนี้สามารถแต่งงานได้ จา เลยเคยพาโจทก์ ออกไปเที่ยวนอกบ้านทั้งในเวลาก่อนและหลังหมั้นและกว่า โจทก์จา เลยจะแต่งงานกันก็เป็นเวลาภายหลังหมั้นถึง 5 เดือนเศษ เมื่อจา เลยแต่งงานและอยู่กินกับโจทก์เป็นเวลา 3 เดือนเศษแล้ว จา เลยปฏิเสธไม่ยอมไปจดทะเบียนสมรสกับโจทก์ ดังนี้ ถือ ไม่ได้ว่าเหตุที่ไม่มีการสมรสนั้นมีเหตุผลสา คัญอันเกิดแต่โจทก์ โจทก์จึงไม่ต้องคืนของหมั้น ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 43
  • 44. ๓.๒ หญิงบอกเลิกสัญญาหมั้นโดยมีเหตุสา คัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้น มาตรา ๑๔๔๓ บัญญัติว่า ในกรณีมีเหตุสา คัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้นทา ให้หญิง ไม่สมควรสมรสกับชายนั้น หญิงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นได้โดยมิต้องคืน ของหมั้นแก่ชาย เช่น ชายประสบอุบัติเหตุพิการ เป็นคนวิกลจริต ไร้สมรรถภาพทางเพศ หญิงบอกเลิกสัญญาหมั้นไม่ต้องคืนของหมั้นและสินสอดแก่ ชาย ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 44
  • 45. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ ๑๒๓๕/๒๕๐๖ ชายคู่หมั้นหมิ่นประมาทหญิงคู่หมั้นซึ่ง เป็นการร้ายแรงย่อมเป็นเหตุผลอันสา คัญอันเกิดแต่ชายคู่หมั้นซึ่งหญิงคู่หมั้นจะ ไม่ยอมสมรสกับชายนั้นโดยมิต้องคืนของหมั้นได้ คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ ๒๓๔/ ๒๕๐๘ การที่ชายคู่หมั้นเลี้ยงโสเภณีไว้ เป็นภรรยาอยู่ในบ้านเป็นการกระทา ที่ปฏิปักษ์ต่อจิตใจหญิงคู่หมั้นอย่าง ร้ายแรง จึงเป็นเหตุสาคัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้น หญิงคู่หมั้นมีสิทธิขอ ถอนหมั้นและมีสิทธิจะไม่คืนของหมั้น ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 45
  • 46. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 3731/2533 โจทก์ได้หญิงรับใช้ในบ้าน โจทก์เป็นภริยามาเป็นเวลานาน ถือได้ว่าโจทก์อุปการะเลี้ยงดู และยกย่องหญิงอื่นฉันภริยาอยู่ จึงมีเหตุสาคัญอันเกิดแก่ โจทก์ทา ให้จา เลยซึ่งเป็นคู่หมั้น ของโจทก์ไม่สมควรสมรส กับโจทก์ จา เลยมิใช่เป็นฝ่ายผิด สัญญาหมั้น จึงมีสิทธิบอก เลิกสัญญาหมั้นได้โดยไม่ต้องคืนของหมั้นให้แก่โจทก์ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 46
  • 47. ค่าทดแทนในการเลิกสัญญาหมั้น ค่าทดแทนที่คู่หมั้นเรียกจากกันในกรณีบอกเลิกสัญญาหมั้นเพราะการ กระทา ชั่วอย่างร้ายแรงของคู่หมั้น มาตรา ๑๔๔๔ บัญญัติว่า ถ้าเหตุอันทา ให้คู่หมั้นบอกเลิกสัญญาหมั้นเป็นเพราะ การกระทา ชั่วอย่างร้ายแรงของคู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งได้กระทา ภายหลังการหมั้น คู่หมั้นผู้กระทา ชั่วอย่างร้ายแรงนั้น ต้องรับผิดใช้ค่าทดแทน แก่คู่หมั้นผู้ใช้สิทธิ บอกเลิกสัญญาหมั้นเสมือนเป็นผู้ผิดสัญญาหมั้น ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 47
  • 48. ค่าทดแทนจากชายอื่นที่ล่วงเกินหญิงคู่หมั้นทางประเวณี หลัก ชายคู่หมั้นมีสิทธิในตัวหญิงคู่หมั้นที่จะไม่ให้ชายอื่นมา ล่วงเกินทางประเวณี การร่วมประเวณี คือ การร่วมเพศกันระหว่างชายกับหญิงตามวิธีทาง ธรรมชาติ คือ การที่ชายสอดใส่อวัยวะเพศของตนเข้าไปในช่อง คลอดของหญิง แต่ถ้าเป็นช่องทางอื่น ไม่ใช่การร่วมประเวณี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 48
  • 49. ป.อาญา มาตรา ๒๗๖ การร่วมประเวณี ข่มขืนกระทา การชา เรา การร่วมประเวณี หมายความถึง การเสพสังวาส ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 49
  • 50. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 874/2491 ของลับของชายคงถูไถอยู่แต่ปากช่อง คลอดด้านนอกยังไม่เข้าไปข้างใน เป็นผิดฐานพยายามข่มขืนกระทา ชาเรา คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1048/2518 การกระทาชาเราตามกฎหมาย จะต้องปรากฏว่าของลับหรืออวัยวะสืบพันธุ์ของชายล่วงล้า เข้าไปใน ช่องสังวาสหรืออวัยวะสืบพันธุ์ของหญิง การที่จาเลยขืนใจเด็กหญิง ผู้เสียหายโดยใช้ของลับของจาเลยใส่เข้าไปในทางทวารหนักของ ผู้เสียหายจึงไม่เป็นการกระทาชาเราคงมีความผิดฐานกระทาอนาจาร เท่านั้น ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 50
  • 51. การร่วมประเวณี ศ.โชค จารุจินดา เห็นว่า ประเวณี ตามพจนานุกรม แปลว่าการเสพสังวาส การ ร่วมเพศกันระหว่างชายหญิงตามธรรมชาติ ศ.(พิเศษ)ประสพสุข บุญเดช การร่วมเพศกันระหว่างชายกับหญิงตามธรรมชาติ เท่านั้น ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 51
  • 52. ศ.ไพโรจน์ กัมพูสิริ เห็นว่า การร่วมประเวณีตามธรรมชาติ คือ ชายสอดของลับ เข้าไปในอวัยวะเพศหญิงว่าจะมากน้อยเพียงใดก็ตาม จะสาเร็จความใคร่ หรือไม่ก็ตามไม่ใช่สาระสา คัญ เพราะฉะนั้น หากชายกระทา แก่หญิงด้วยวิธีอื่น อันผิดธรรมชาติก็ไม่ใช่การร่วมประเวณี อ.ชาติชาย อัครวิบูลย์ เห็นว่า ร่วมประเวณี คือ การเสพสังวาส ประพฤติผิดเมียผู้อื่น หรือ เป็นผัวเมียกัน จึงน่าจะเป็นการร่วมเพศระหว่างชายกับหญิง อันเป็นการกระทาตาม ธรรมชาติของการเป็นผัวเมีย ทั้งต้องใช้อวัยวะเพศของชายล่วงล้า เข้าไปในอวัยวะเพศหญิง มิใช่ทางทวารอื่นอันเป็นการผิดธรรมชาติ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 52
  • 53. สรุป การร่วมประเวณีจะเกิดขึ้นต้องเป็นการกระทา ระหว่างชายกับหญิง กรณีที่เพศ เดียวกัน กรณีการผ่าตัดแปลงเพศ ไม่ถือว่าเป็นการร่วมประเวณี ไม่ว่าจะเป็นทางทวาร หนักหรือทางปากก็ตาม กรณีชายหรือหญิงคู่หมั้นไม่อาจเรียกค่าทดแทนกับผู้ซึ่งกระทา กับคู่หมั้นของตนตาม มาตรา ๑๔๔๕ ดังต่อไปนี้ ๑.ชายอื่นใช้วัยวะเพศของตนกระทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากของชาย คู่หมั้น ๒. ชายอื่นใช้วัยวะเพศของตนกระทา กับทวารหนัก หรือช่องปากของหญิงคู่หมั้นและ รวมถึงการกระทา กับอวัยวะเพศของหญิงคู่หมั้นโดยไม่มีการล่วงล้า ๓.ชายอื่นใช้สิ่งอื่นที่ไม่ใช่อวัยวะเพศของตน เช่น อวัยวะเพศเทียม หรือนิ้วมือกระทา กับ อวัยวะเพศ กระทา กับอวัยวะเพศหรือทวารหนักของชายหรือหญิงคู่หมั้น ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 53
  • 54. ๔.หญิงอื่นซึ่งใช้อวัยวะเพศของตนกระทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่อง ปากของหญิงคู่หมั้น ๕. หญิงอื่นซึ่งใช้อวัยวะเพศของตนกระทา กับทวารหนัก หรือช่องปาก ของชาย คู่หมั้น และรวมถึงการกระทา กับอวัยวะเพศของชายคู่หมั้นโดยไม่มีการล่วงล้า เข้าไป ๖. หญิงอื่นซึ่งใช้สิ่งอื่นที่ไม่ใช่อวัยวะเพศของตน เช่น อวัยวะเพศเทียม หรือนิ้ว มือกระทา กับอวัยวะเพศ หรือทวารหนักของหญิงหรือชายคู่หมั้น คู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่งมีสิทธิบอกเลิกสัญญาหมั้นตามมาตรา ๑๔๔๒ หรือ ๑๔๔๓ ได้หรือไม่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 54
  • 55. ข่มขืนกระทา ชา เรา อาญา ม.๒๗๖ การกระทาชาเรา หมายความถึง การกระทาเพื่อสนองความใคร่ของ ผู้กระทา โดยใช่อวัยวะเพศของผู้กระทา กะทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากของผู้อื่น หรือการใช้สิ่งอื่นกระทา กับอวัยวะเพศหรือทาง ทวารหนักของผู้อื่น ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 55
  • 56. กรณีเรียกค่าทดทนจากผู้ซึ่งมีเพศเดียวกันกับคู่หมั้นที่ข่มขืนกระทา ชา เราคู่หมั้นตามมาตรา ๑๔๔๖ ๑.ใช้อวัยวะเพศของผู้กระทา กระทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือ ช่องปากของผู้อื่น หรือ ๒.ใช้สิ่งอื่นที่ไม่ใช้อวัยวะเพศของผู้กระทา กระทา กับอวัยวะเพศหรือ ทวารหนักของผู้อื่น ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 56
  • 57. กรณีชายคู่หมั้นเรียกค่าทดแทนจากผู้ซึ่งข่มขืนกระทา ชา เราหญิง คู่หมั้นของตนใน ๒ กรณี คือ ๑.หญิงหรือชายใช้อวัยวะเพศของตนกระทา กับอวัยวะเพศ ทวาร หนัก หรือช่องปากของหญิงคู่หมั้น ไม่ว่าจะมีการล่วงล้า เข้าไป หรือไม่ก็ตาม ๒.หญิงหรือชายอื่นซึ่งใช้สิ่งอื่นที่ไม่ใช่อวัยวะเพศของตน เช่น ของ เทียม นิ้วมือ กระทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากของ หญิงคู่หมั้น ไม่ว่าจะมีการล่วงล้า เข้าไปหรือไม่ก็ตาม ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 57
  • 58. กรณีหญิงคู่หมั้นเรียกค่าทดแทนจากผู้ซึ่งข่มขืนกระทา ชา เราชายคู่หมั้น ของตนใน ๒ กรณี คือ ๑.หญิงหรือชายใช้อวัยวะเพศของตนกระทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากของหญิงคู่หมั้น ไม่ว่าจะมีการล่วงล้า เข้าไปหรือไม่ก็ตาม ๒.หญิงหรือชายอื่นซึ่งใช้สิ่งอื่นที่ไม่ใช่อวัยวะเพศของตน เช่น ของ เทียม นิ้วมือ กระทา กับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากของหญิง คู่หมั้น ไม่ว่าจะมีการล่วงล้า เข้าไปหรือไม่ก็ตาม รายละเอียดเพิ่มเติม วรวุฒิ เทพทอง บทความเรื่อง ร่วมประเวณี กับ ข่มขืนกระทา ชา เรา คู่หมั้นตามกฎหมายครอบครัวหน้า ๗๖-๙๑.ครอบครัว งานบริหาร อาจารย์ไพโรจน์.กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์เดือนตุลา ๒๕๕๓ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 58
  • 59. การที่ชายอื่นร่วมประเวณีกับหญิงคู่หมั้นโดยหญิงยินยอม มาตรา ๑๔๔๕ ชายหรือหญิงคู่หมั้นอาจเรียกค่าทดแทนจากผู้ซึ่งได้ร่วม ประเวณีกับคู่หมั้น ของตนโดยรู้หรือควรจะรู้ถึงการหมั้นนั้น เมื่อได้บอกเลิก สัญญาหมั้นแล้วตาม มาตรา ๑๔๔๒ หรือ มาตรา ๑๔๔๓ แล้วแต่กรณี ชายอื่นจะต้องรู้ว่าหญิงนั้นหมั้นแล้วและรู้ว่าคู่หมั้นเป็นใครด้วย ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 59
  • 60. มาตรา 1447 ค่าทดแทนอันจะพึงชดใช้แก่กันตามหมวดนี้ให้ ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์ สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตามหมวดนี้นอกจากค่าทดแทน ตาม มาตรา 1440 (2) ไม่อาจโอนกันได้และไม่ตกทอดไปถึง ทายาท เว้นแต่สิทธินั้น จะได้รับสภาพกันไว้เป็นหนังสือ หรือ ผู้เสียหายได้เริ่มฟ้องคดีตามสิทธินั้นแล้ว ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 60
  • 61. การคา นวณค่าทดแทน เป็นค่าเสียหายที่เกิดขึ้นไม่ใช่ค่าขาดกา ไรอันควรจะได้ ตามควรแก่พฤติการณ์ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 61
  • 62. ไม่สามารถโอนสิทธิเรียกร้องกันได้ ไม่เป็นมรดก ข้อยกเว้น 1มีการรับสภาพกันไว้เป็นหนังสือ หรือ 2.ผู้เสียหายได้เริ่มฟ้องคดี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 62
  • 63. อายุความ มาตรา 1447/1 สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตาม มาตรา 1439 ให้มีอายุ ความหกเดือนนับแต่ วันที่ผิดสัญญาหมั้น สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตาม มาตรา 1444 ให้มีอายุความหกเดือนนับแต่ วันรู้ หรือ ควรรู้ถึงการกระทา ชั่วอย่างร้ายแรงอันเป็นเหตุให้บอกเลิกสัญญา หมั้น แต่ต้องไม่เกินห้าปี นับแต่วันกระทา การดังกล่าว สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนตาม มาตรา 1445 และ มาตรา 1446 ให้มีอายุความหกเดือน นับแต่วันที่ชายหรือหญิงคู่หมั้นรู้หรือควรรู้ถึงการกระทา ของผู้อื่น อันจะเป็นเหตุให้เรียกค่า ทดแทนและรู้ตัวผู้จะพึงใช้ค่าทดแทนนั้น แต่ต้องไม่เกินห้าปีนับแต่วันที่ผู้อื่นนั้นได้กระทา การดังกล่าว ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 63
  • 64. มาตรา 1447/2 สิทธิเรียกคืนของหมั้นตาม มาตรา 1439 ให้มีอายุความ หกเดือนนับแต่วันที่ผิดสัญญาหมั้น สิทธิเรียกคืนของหมั้นตาม มาตรา 1442 ให้มีอายุความหกเดือน นับแต่วัน ที่ได้บอกเลิกสัญญาหมั้น อายุความเรียกค่าสินสอดใช้อายุความทั่วไป 10 ปี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 64
  • 65. หนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน ประสพสุข บุญเดช. ๒๕๔๕ คำอธิบำยประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ว่ำด้วย ครอบครัว. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์นิติบรรณาการ ประสพสุข บุญเดช. ๒๕๕๔ รวมคำบรรยำย.กฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ว่ำด้วย ครอบครัว สมัยที่ ๖๔ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๔. กรุงเทพมหานคร : สานักอบรมศึกษา กฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ไพโรจน์ กัมพูสิริ. ๒๕๔๐ คำอธิบำยประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ บรรพ ๕ ว่ำ ด้วยครอบครัว , กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์นิติธรรม ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ 65