SlideShare a Scribd company logo
1 of 84
Download to read offline
เทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
(วิทยาการคานวณ)
นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ของเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
แผนผังหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ของเทคโนโลยี
นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน
เทคโนโลยีเกิดใหม่
ระดับของเทคโนโลยี
นวัตกรรม (lnnovation)
บริการคลาวด์
(Cloud Service)
บล็อกเชน
(Blockchain)
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
ของ เทคโนโลยีในอนาคต
ตัวชี้วัด
• ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอ และแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย
มีจริยธรรม และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม (ว 4.2 ม.6/1)
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เพิ่มความสะดวกสบาย เพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน ต่อยอดทางธุรกิจ
ความต้องการสิ่งที่ดีที่สุดของมนุษย์
เกิดเป็นเทคโนโลยี
พัฒนาสิ่งที่มีอยู่เดิม
สร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่
คอมพิวเตอร์
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เทคโนโลยี
ระดับสูงมาก
ระดับของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี
ระดับสูง
เทคโนโลยี
ระดับกลาง
เทคโนโลยี
ระดับเบื้องต้น
เสารับ - ส่งสัญญาณ โน๊ตบุ๊ค
โทรทัศน์
เครื่องเสียง
ตู้เย็น
โทรศัพท์เคลื่อนที่
ระดับของเทคโนโลยี
จานดาวเทียม
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผลิตภัณฑ์ บริการ กระบวนการ
คือ การใช้ความรู้ ทักษะประสบการณ์
ความคิดสร้างสรรค์
เกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
พัฒนาต่อยอดสิ่งที่มีอยู่เดิม
สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ
นวัตกรรม
(Innovation)
นวัตกรรม (Innovation)
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ความใหม่
(Newness)
ประโยชน์ ในเชิงเศรษฐกิจ
(Economic Benefits)
การใช้ความรู้และ
ความคิดสร้างสรรค์
(Knowledge and Creativity Idea)
องค์ประกอบ
ของนวัตกรรม
ปรับปรุงจากเดิม
พัฒนาขึ้นมาใหม่
เกิดมูลค่าเพิ่ม
ใช้ความรู้และ
ความคิดสร้างสรรค์
ไม่ลอกเลียนแบบผู้อื่น
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน
o เทคโนโลยี 5G และเทคโนโลยีคลาวด์ รวมทั้ง Internet of Things (IoT)
• สามารถส่ง-รับข้อมูลด้วยความเร็วมากกว่าระบบ4G
อยู่ที่ประมาณ 10 - 100 เท่าหรือมากกว่า
• สามารถส่ง-รับข้อมูลในปริมาณที่มากขึ้นในระยะเวลาที่สั้นลง
• สามารถถ่ายเทข้อมูลถึงกันได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
• จะได้บริการที่มีประสิทธิภาพและสามารถรองรับเนื้อหาสาระ
ในรูปแบบต่าง ๆ ได้มากขึ้น
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
การผสมผสานเทคโนโลยี 5G เข้ากับด้านต่าง ๆ
ด้านอุตสาหกรรม ด้านเกษตรกรรม
การพัฒนาระบบสมาร์ตฟาร์ม
(Smart Farming) มาช่วยในการทางาน
ทาการเกษตรออนไลน์ และนาอุปกรณ์ IoT
มาติดตั้ง เพื่อการดูแลจัดการฟาร์มและ
ระบบปัญญาประดิษฐ์เพื่อช่วยตัดสินใจ
ในการดาเนินกิจการ
การใช้ระบบอัตโนมัติเข้ามาช่วยในการ
จัดการ การควบคุม ตรวจสอบการทางาน
มีความปลอดภัย เกิดความผิดพลาดน้อย
การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ด้านการขนส่ง ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
การสื่อสารข้อมูลทางการแพทย์โดย
ให้บริการผ่านทางไกล สามารถใช้การส่ง
ข้อมูล สภาวะของผู้ป่วย ข้อมูลทางกายภาพ
ต่าง ๆ ผ่านเครื่องมือวัดหรือการถ่ายทอด
ภาพสู่ผู้เชี่ยวชาญเพื่อการวินิจฉัยได้
ทันท่วงที
สามารถส่งข้อมูลเส้นทางหรือตาแหน่งพิกัด
ต่าง ๆ แบบออนไลน์ รวมทั้งการติดตาม
สินค้าแบบออนไลน์ ภาพสตรีมสดด้านการ
ขนส่ง ภาพสดของการจราจรและการ
แก้ปัญหาจราจร
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ด้านสื่อสารมวลชน โทรทัศน์และสื่อดิจิทัล ภาครัฐและหน่วยงานรัฐ
การรายงานข่าวสารสารสนเทศสามารถกระทา
ได้ทุกที่และให้ความละเอียดสูง อีกทั้ง
ประชาชนสามารถเข้าถึงเนื้อหาที่ทันเหตุการณ์
ได้มากขึ้นและสามารถแลกเปลี่ยนทัศนคติ
ความคิดเห็นได้กว้างขวางอย่างมีประสิทธิผล
การบริหารจัดการและการสั่งการสามารถ
กระทาได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งการขยายความเจริญ
ด้านการสื่อสารไปยังพื้นที่ห่างไกลเป็นโอกาส
ในการส่งเสริมและสร้างธุรกิจหรือการประกอบ
กิจการใหม่ ๆ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเอกชนและสถาบันการเงิน ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยว
สามารถใช้สมาร์ตโฟนเป็นตัวกลางในการ
ทาธุรกรรมต่าง ๆ การขยายการบริการใหม่ ๆ
มีช่องทางสาหรับการทาธุรกิจในรูปแบบใหม่ ๆ
การบริการข้อมูลที่พร้อมเพรียง
การแสดงเนื้อหาที่สมบูรณ์ ความละเอียดสูง
ภาพและเสียง พร้อมทั้งบริการการจองที่พัก
การวางแผนเส้นทางการเดินทาง พร้อมแผนที่
และระบบความช่วยเหลือแบบออนไลน์
พร้อมด้วยเทคโนโลยีที่เสริมความน่าสนใจ
เช่น VR/AR/MR
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และแชตบอต
แชตบอต เป็นการสื่อสารกับผู้ใช้แบบอัตโนมัติ เช่น ห้องสนทนาที่สามารถ
สนทนาโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ในลักษณะแบบมนุษย์เขียนโต้ตอบกัน
ซึ่งผู้ใช้สามารถเขียนสอบถามสิ่งที่ต้องการทราบ ระบบจะทาการหาข้อมูล
และวิเคราะห์ให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ได้เช่น การสอบถามราคาสินค้า
และเปรียบเทียบสเปกสินค้า
เป็นเทคโนโลยีที่ผสมระหว่าง
VR กับ AR เข้าด้วยกัน สามารถ
แสดงภาพซ้อนแบบ AR ผ่าน
การสวมแว่นตาที่มองทะลุเห็น
ภาพด้านหน้าและจะเห็นภาพที่
ซ้อนขึ้นพร้อม ๆ กัน
เป็นเทคโนโลยีที่จะมีการ
ซ้อนภาพกราฟิกขึ้นมากับ
ภาพจริง เช่น คาอธิบาย
รายละเอียดของสิ่งของ หรือ
สถานที่
เป็นเทคโนโลยีที่สร้างภาพ
เสมือนในลักษณะ 3 มิติ
เมื่อใส่แว่นตา VR จะเห็น
ภาพกราฟิกที่ถูกสร้างขึ้นมา
เหมือนเข้าไปในอีกโลกหนึ่ง
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยีมิติซ้อน
VR (Virtual Reality) AR (Augmented Reality) MR (Mixed Reality)
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยี loT (Internet of Things)
อินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง หมายถึง การที่อุปกรณ์ต่าง ๆ รอบตัวเราสามารถ
เชื่อมโยง และสื่อสารกันผ่านระบบเครือข่ายหรืออินเทอร์เน็ตได้ ทาให้เราสามารถ
ควบคุมอุปกรณ์หรือตรวจสอบสถานะต่าง ๆ ผ่านอุปกรณ์นั้นได้
เปิด – ปิดประตูบ้าน
ผ่านสมาร์ตโฟน
เปิด – ปิด
ไฟด้วยคาสั่งเสียง
เครื่องให้อาหารสัตว์
ทางไกลผ่านสมาร์ตโฟน
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยีหุ่นยนต์และออโตเมชัน และระบบอัตโนมัติในที่พักอาศัย เทคโนโลยีหุ่นยนต์
กับระบบออโตเมชันต่างกันในลักษณะของกระบวนการทางาน ดังนี้
การพัฒนาหุ่นยนต์เพื่อใช้เข้ามาช่วยในการทางานต่าง ๆ
เทคโนโลยีหุ่นยนต์
เก็บผลผลิตทางการเกษตร หุ่นยนต์เชื่อมโลหะใน
โรงงานผลิตรถยนต์
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คือ กระบวนการที่ใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ มาช่วยเพื่อให้งานนั้นสาเร็จลุล่วง
เป็นการนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทางานของมนุษย์
ระบบออโตเมชัน
เครื่องผลิตคุกกี้อัตโนมัติ เครื่องบรรจุหีบห่ออัตโนมัติ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยียานยนต์และการขนส่ง และเมืองอัจฉริยะ (Smart Vehicles/Smart City)
ใช้ระบบเซนเซอร์ต่าง ๆ เข้ามาตรวจจับและควบคุมการทางานของรถยนต์
และอุปกรณ์ต่าง ๆ
รถยนต์ไร้คนขับ การแสดงผลแบบAR/MR
บนกระจกหน้ารถยนต์
การสื่อสารระหว่างรถยนต์กับรถยนต์ด้วยกัน
เพื่อความปลอดภัยในการใช้เส้นทาง
ช่วยกระจายความหนาแน่นคับคั่งของการจราจร
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้านสิ่งแวดล้อม เป็นการใช้เทคโนโลยีที่ใช้ในการ
ติดตาม ตรวจสอบ ดูแล บาบัด ฟื้นฟู สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ลดปัญหามลพิษที่
ส่งผลกระทบต่อสภาพสิ่งแวดล้อม ได้แก่
• เทคโนโลยีที่ใช้ควบคุมและบาบัดมลพิษ
• เทคโนโลยีชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อม
• เทคโนโลยีภูมิปัญญาด้านสิ่งแวดล้อม
• เทคโนโลยีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
• เทคโนโลยีด้านพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์พลังงาน
และพลังงานทดแทน
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยีด้านการผลิตและเทคโนโลยีด้านพลังงาน (Supply-Side Technology)
เป็นการทาฟาร์มแบบแนวตั้งซึ่งจะประหยัดพื้นที่และสามารถปลูกพืชได้ภายในที่พักอาศัย
โดยใช้วัสดุโครงสร้างที่เบาและแข็งแรง เทคโนโลยี LED และวงจรเซนเซอร์ต่าง ๆ มาช่วยในการจัดการ
ด้านการให้แสงสว่างที่เหมาะสมแก่การเจริญเติบโต
เทคโนโลยีด้านการเกษตร การทาฟาร์มแบบแนวตั้ง (Vertical Farming)
LED
พืชใบเขียว
ส่วนควบคุม
น้าและแร่ธาตุ
ผ้าซับรักษาความชื้น
ถาดเพาะชาพืช
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
การจัดการสินค้าบริโภคที่เหลือหรือมีการคัดออกด้วยความไม่สวยงามแต่ให้ประโยชน์
เท่าเทียมและบริโภคได้ รวมทั้งการยืดอายุของการเน่าเสีย (Food Waste Management)
• การเปิดตลาดออนไลน์สาหรับสินค้าการเกษตรที่ไม่ผ่านมาตรฐาน แต่ให้คุณค่าทางโภชนาการ
เท่าเทียมกันเพียงแต่ขนาดหรือรูปลักษณะไม่สวยงาม ซึ่งมีราคาถูกกว่า
• การใช้เทคโนโลยีที่สามารถพ่นสารเคลือบผิวของพืชผักและผลไม้โดยที่สารนี้สามารถรับประทานได้
อย่างปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายและยังสามารถยืดอายุหรือการเสื่อมสภาพของพืชผักและ
ผลไม้ได้นานขึ้น
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
การเทียมเนื้อสัตว์จากพืช (Plant-based Meat)
การวิจัยและพัฒนาหาสารอาหารที่ได้คุณค่าทางโปรตีนเหมือนโปรตีนที่ได้จาก
เนื้อสัตว์เพื่อใช้ทดแทนเนื้อสัตว์คือ การนาพืชที่สามารถให้คุณค่าทางโปรตีนได้เหมือน
โปรตีนที่ได้จากเนื้อสัตว์มาทาการแปรรูปเพื่อใช้ทดแทนเนื้อสัตว์ และได้ความรู้สึก
ด้านการมองเห็นรูปลักษณ์ สีสัน และรสชาติที่เหมือนกับเนื้อสัตว์ต่าง ๆ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยีการพิมพ์แบบสามมิติ (3D Printing)
เป็นเทคโนโลยีในการสร้างต้นแบบเร่งด่วน (Rapid Prototype) ซึ่งเรียกว่า 3D Printer
เป็นเครื่องพิมพ์ชิ้นงานต้นแบบในลักษณะสามมิติ โดยใช้วิธีการหลอมวัตถุดิบและฉีด
วัตถุดิบเป็นเส้นบาง ๆ ขึ้นรูปจากฐานทีละขั้นขึ้นไปจนได้ชิ้นงานที่สมบูรณ์
มีน้าหนักเบากว่าเหล็ก
แต่แข็งแรงกว่าเหล็ก
เป็น 100 เท่า
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยีวัสดุ รวมทั้งวัสดุที่ใช้ในทางการแพทย์
เป็นการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีวัสดุ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งาน
ที่เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เกิดความประหยัด ทดแทนวัสดุหรือวัตถุดิบที่หายาก
กราฟีน (Graphene) ผ้า Karta-Pack
มีลักษณะเหมือนฝ้าย
แต่คงรูปได้เหมือน
พลาสติก
หมอนรองกระดูกเทียม
ข้อเทียม คางเทียม
ดั้งจมูกเทียม
อวัยวะเทียมต่าง ๆ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยีด้านพลังงานสะอาด (Green energy technology)
ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยีด้านพลังงานไฟฟ้าไร้สาย (Wireless Energy Transfer)
หรือ (Inductive Power Transfer)
หลักการของการจ่ายพลังงานไฟฟ้าโดยไม่ต้องเสียบต่อสายไฟฟ้าให้กับ
อุปกรณ์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้านั้น
เทคโนโลยีนี้อยู่ในระหว่างการวิจัยและพัฒนาเพื่อให้สามารถนาไปใช้งาน
กับอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าที่สูงขึ้น และทาให้ระยะห่างในการชาร์จไฟฟ้ามีระยะ
ที่ไกลขึ้น
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยีด้านธุรกรรมการเงินหรือธุรกรรมเอกสารสัญญาที่ต้องการความเสถียรภาพ
ความปลอดภัย และความมั่นคง
Fintech
คือ การที่นาเทคโนโลยีสารสนเทศหรือเทคโนโลยีอื่น ๆ มาประยุกต์เข้ากับ
ระบบการเงินและการทาธุรกรรมการเงินและหลักทรัพย์เพื่อลดต้นทุน แล้วเพิ่มช่องทาง
รายรับและลดขั้นตอนในการดาเนินการ
แอปพลิเคชันเพย์พาว (Paypal) แอปพลิเคชันไลน์เพย์(Line pay)
ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศจีน
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
TechFin
คือผู้ที่พัฒนาและให้บริการระบบเทคโนโลยีด้านการเงิน โดยดาเนินการเป็น
ฐานรากหรืออยู่เบื้องหลังของการดาเนินงานของบริษัทต่าง ๆ ที่ใช้บริการ โดยเน้นระบบ
การให้บริการลูกค้าและเทคโนโลยีด้านจัดการการเงินเป็นศูนย์กลาง
เทคโนโลยีเกิดใหม่
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ประเภทของการให้บริการคลาวด์
Software as a Service
(SaaS)
Platform as a Service
(PaaS)
Infrastructureas a Service
(IaaS)
เป็นบริการที่ให้ใช้หรือเช่า
บริการ Software และ
Application
เป็นการให้บริการด้าน Platform
สาหรับผู้ใช้งาน
เป็นบริการที่ครอบคลุมเฉพาะ
ในส่วนของโครงสร้างพื้นฐาน
ทางด้านไอที
Google Docs
หรือ Google Apps
Google App Engine
Microsoft Azure
บริการ Cloud storage
บริการคลาวด์ (Cloud Service)
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เหตุผลที่บริการคลาวด์มีบทบาทสาคัญในปัจจุบันและอนาคต
มีพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลได้ตามความต้องการใช้งาน
มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง
มีการดูแลรักษาและบารุงระบบให้สามารถทางานได้ 24 ชั่วโมง
ใช้การลงทุนในทรัพยากรต่า
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ข้อดีและข้อเสียของบริการคลาวด์
บริการคลาวด์
ข้อดี ข้อเสีย
ประหยัดค่าใช้จ่ายด้าน IT หากระบบหรือเครือข่ายล่มจะทาให้
การให้บริการหยุดชะงักลง
ระบบมีความปลอดภัย เชื่อถือได้
อาจถูกโจรกรรมข้อมูลได้
มีระบบที่จัดการได้ง่าย
มีการพัฒนาระบบเพื่อให้รองรับ
การทางานต่าง ๆ ได้อย่างสม่าเสมอ
หากมีการย้ายหรือเปลี่ยนผู้ให้บริการ
อาจเกิดปัญหาการไม่รองรับซอฟต์แวร์ได้
อาจจากัดสิทธิการเข้าถึงของผู้ใช้ใน
วงจากัด
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
การใช้บริการคลาวด์และการเก็บข้อมูล
pCloud
ให้พื้นที่ 10 GB
sync.com
ให้พื้นที่ 5 GB
MediaFire.com
ให้พื้นที่ 10 GB
Google Drive
ให้พื้นที่ 15 GB
Mega.nz
ให้พื้นที่ 15 GB
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิธีใช้งาน Google Drive
1. เปิดบัญชี Google Gmail
2. ลงชื่อเข้าใช้งานบนเว็บเบราว์เซอร์ (Chrome)
โดยใช้บัญชีที่สมัครไว้และรหัสผ่านที่ถูกต้อง
ปุ่มลงชื่อเข้าใช้งาน
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
บัญชีที่สมัครไว้กับ Google
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
3. เข้าใช้งาน Google Drive โดยคลิกเมาส์ที่ไอคอน แล้วเลือกที่
หรือเข้าที่ เว็บไซต์http://drive.google.com
1. เลือกที่ไอคอนนี้
2. เลือกที่ Drive
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
4. เมื่อเข้าสู่ Google Drive แล้วจะพบว่ามีลักษณะคล้าย File Explorer โดยด้านซ้าย
จะเป็นเมนูเพื่อสร้างไฟล์และแถบเมนูต่าง ๆ เพื่อเลือกดู หากมีบุคคลแชร์ไฟล์หรือ
โฟลเดอร์ให้เราสามารถ ดูได้โดยเรียกดูได้ที่เมนู Shared with me
เรียกดูไฟล์ หรือโฟลเดอร์
ที่บุคคลอื่นส่งหรือแชร์ให้เรา
บัญชีผู้ใช้งานสามารถเพิ่มบัญชีอื่น ๆ
ได้(เช่น มี Gmail อื่น) ได้หลายบัญชี
พร้อม ๆ กัน ในเบราว์เซอร์เดียวกันนี้
ปริมาณข้อมูลที่เก็บในคลาวด์นี้
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ถ้าเป็นบัญชี Gmail ปกติที่ไม่ได้เป็นบัญชีการศึกษาจากหน่วยงานการศึกษา
ที่อนุญาตให้ใช้ จะมีการจากัดปริมาณการเก็บข้อมูล
ปริมาณข้อมูลที่เก็บในคลาวด์นี้
บัญชีธรรมดา Gmail
จะไม่มีชื่อหน่วยงานกากับ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
5. ถ้าต้องการตั้งค่าภาษา สามารถตั้งค่าได้ที่ ไอคอน
เมนูเข้าสู่การตั้งค่า
เปลี่ยนภาษา
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
6. การค้นหาไฟล์ใน Google Drive มีประสิทธิภาพมาก ซึ่งสามารถค้นหาเป็นชื่อของไฟล์
หรือส่วนหนึ่งของไฟล์ได้เช่นกัน โดยคลิกเมาส์เข้าไปในโฟลเดอร์นั้น ๆ แล้วป้อนชื่อ
เพื่อค้นหา ระบบจะทาการค้นหาชื่อไฟล์รวมทั้งเนื้อหาในไฟล์ต่าง ๆ ภายในโฟลเดอร์
ที่เลือกไว้
ค้นหาไฟล์ได้ที่นี่
ผลการค้นหา
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
7. การแชร์โฟลเดอร์หรือการแชร์ไฟล์ต่าง ๆ ให้สังเกตลักษณะไอคอนของไฟล์นั้น ๆ
ถ้าภาพคนแสดงขึ้นมาแสดงว่าโฟลเดอร์นั้น หรือไฟล์นั้นมีการแชร์ให้บุคคลอื่นสามารถ
เข้าดูหรือแก้ไขได้
สัญลักษณ์การแชร์
โฟลเดอร์ที่ให้ผู้อื่น
สามารถดูและแก้ไขได้
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เมื่อคลิกเมาส์ดูที่ไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้น จะแสดงรายละเอียดในกรอบข้อมูลด้านขวา
โฟลเดอร์นี้แชร์ด้วยลิงก์ URL
รายละเอียดของโฟลเดอร์คลิกเมาส์ที่โฟลเดอร์
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โฟลเดอร์แชร์แบบกลุ่มอีเมล
ซึ่งผู้ที่จะดูข้อมูลได้จะต้อง
อยู่ในกลุ่มเท่านั้น
คลิกเมาส์ที่โฟลเดอร์
รายละเอียดของโฟลเดอร์
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ถ้าต้องการเรียกดูว่ามีกิจกรรมอะไรที่เกิดขึ้นกับไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้น ๆ
เช่น การแก้ไข ลบ หรือเพิ่มไฟล์ต่าง ๆ จะสามารถเรียกดูประวัติการเข้าใช้โดยการคลิกเมาส์
ที่ “กิจกรรม (Activity)”
1. เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการ
ดูประวัติการเข้าใช้งาน
2. เลือกที่ Activity
3. ประวัติการเข้าใช้งาน
จะปรากฏขึ้น
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
8. ถ้าต้องการแชร์ แบ่งปัน แก้ไข และตั้งค่าต่าง ๆ กับโฟลเดอร์หรือไฟล์ใด ๆ สามารถ
กระทาได้โดยการคลิกเมาส์ปุ่มขวา 1 ครั้ง เมนูย่อยจะแสดงขึ้นมา แล้วเลือกไปที่ Share
1. คลิกเมาส์เลือก
โฟลเดอร์ที่ต้องการ
2. เลือกที่ Share
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9. ก่อนการแชร์จะต้องมีการตั้งค่าการแชร์ของเราก่อน โดยจะเลือกให้สามารถดูและ
แก้ไขได้
1. ป้อนอีเมล
2. เลือกที่ Share
3. เลือกการแชร์แบบขั้นสูง
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เมื่อกดเข้าสู่ขั้นสูง นักเรียนสามารถเปลี่ยนแปลงสิทธิในการแชร์ได้หลากหลาย
มากขึ้น โดยเลือกที่ Change...
เลือก Change...
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เมื่อเลือกแล้วจะปรากฏรูปแบบการแชร์ให้เลือก จากนั้นนักเรียนสามารถเลือก
รูปแบบได้ตามความเหมาะสม
1. เลือกรูปแบบ
การแชร์ให้ผู้ที่
มีลิงก์สามารถ
เปิดได้
2. เลือก Save
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
กาหนดการแชร์เสร็จสิ้นแล้วสามารถตรวจสอบสถานะการแชร์ได้และแก้ไขได้
โดยคลิกเมาส์ขวา ซึ่งแก้ไขการแชร์ได้ตลอดเวลา
คลิกเมาส์ขวาที่โฟลเดอร์ แล้วเลือก Share จากนั้น
เลือกที่ Advanced แล้วสามารถแก้ไขได้เลย
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
10. ถ้ามีการแชร์ด้วยอีเมลจากผู้อื่นมาให้เราร่วมใช้ไฟล์หรือโฟลเดอร์ นักเรียนสามารถ
ตรวจสอบได้ว่า มีไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่นักเรียนมีสิทธิในการร่วมใช้โดยการกดไปที่
“แชร์กับฉัน (Shared with me)”
1. เลือก Shared with me
เพื่อตรวจสอบ
2. จะปรากฏไฟล์หรือโฟลเดอร์
ที่มีสิทธิในการร่วมใช้
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
1. คลิกเมาส์ขวาที่ไฟล์
หรือโฟลเดอร์
2. เลือกคาสั่ง Move to
เพื่อย้ายไฟล์หรือโฟลเดอร์
เมื่อสร้างโฟลเดอร์ที่ต้องการสาเร็จให้เข้าสู่โฟลเดอร์นั้น ๆ แล้วกดปุ่ม จากนั้นเลือก
การสร้างไฟล์ที่ต้องการ เช่น การอัปโหลดไฟล์ต่าง ๆ สู่โฟลเดอร์นั้น ๆ หรือการสร้างเอกสารด้วย
Google App (Doc, Sheets, Slides) ไฟล์ที่สร้างนั้นจะบันทึกเข้าไปในโฟลเดอร์นั้น ๆ ซึ่งนักเรียนสามารถ
ย้ายไฟล์ได้ในภายหลังด้วยการคลิกเมาส์ขวาที่ไฟล์หรือโฟลเดอร์ แล้วเลือกย้าย (Move to)
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
1. คลิกเมาส์เลือก
My Drive
3. ตั้งชื่อโฟลเดอร์ที่สร้างขึ้นใหม่
11. การสร้างโฟลเดอร์งานขึ้นมาใหม่เพื่อใช้เก็บเอกสาร Google Docs, Google Sheets,
Google Slides
2. คลิกเมาส์เลือก New folder
4. เลือก CREATE
เพื่อสร้างโฟลเดอร์ใหม่
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คลิกเมาส์เลือก
12. เมื่อสร้างโฟลเดอร์ที่ต้องการแล้วให้เข้าสู่โฟลเดอร์นั้น แล้วสร้างไฟล์เอกสารที่ต้องการ
เช่น การสร้างเอกสาร Google Docs โดยเลือก แล้วเลือก
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ความปลอดภัยในการใช้ระบบบริการคลาวด์
• แจ้งเตือนผ่านอีเมลที่ผู้สมัครบริการคลาวด์นั้นได้มีการเข้าใช้
เพื่อแจ้งว่าเป็นการเข้าใช้ที่ถูกต้องหรือไม่
• ผูกระบบกับโทรศัพท์สมาร์ตโฟน โดยมีการให้ยืนยันตัวตน
ด้วยการส่งข้อความเป็นเลข OTP (One-Time-Password)
• 2 Factor Authentication (2FA) คือ การยืนยันตัวตนผ่าน 2 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 ป้อนล็อกอิน (Login) และรหัสผ่าน (Password)
ขั้นตอนที่ 2 ใช้One Time Password (OTP)
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
บล็อกเชน (Blockchain)
ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลเดิมและที่ใช้กันอยู่เป็นระบบรวมศูนย์ในลักษณะ Client-Server
(Centralized Processing System) โดยการที่เซิร์ฟเวอร์เป็นผู้ดาเนินการต่อให้บริการนั้น ๆ เมื่อมีผู้ใช้ร้องขอ
เช่น
เว็บไซต์
ผู้ใช้ร้องขอเข้าชมโดยการ
ป้อน URL และใช้งานเว็บเพจ
เว็บแอปพลิเคชัน
ผู้ใช้ร้องขอเข้าใช้งาน
หน้าเว็บเพจที่เป็นโปรแกรม
การทาสไลด์นาเสนอ
การทาแอนิเมชัน
แอปพลิเคชันข้อความ
ผู้ใช้ร้องขอเข้าใช้งานในการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลหรือสื่อสาร
Facebook messenger
Line
Whatsapp
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
• สิทธิในข้อมูลใครเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ ?
• สาเนาข้อมูลถูกเก็บไว้ที่ใด?
• การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ส่ง – ผู้รับ
ทาไมต้องผ่านตัวกลาง?
• จะตรวจสอบได้อย่างไรว่าข้อมูลไม่ได้ถูกแก้ไข?
Blockchain
เพื่อเข้ามาแก้ปัญหาระบบแบบรวมศูนย์
มีการรับประกันความปลอดภัยในการธุรกรรมข้อมูล
ไม่มีตัวกลางในการจัดการเป็นระบบประมวลผลแบบกระจาย
เกิดคาถาม
เกี่ยวกับการ
ทางานของระบบ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
รูปแบบวิธีการประมวลผลข้อมูล
แบบรวมศูนย์ แบบแยกศูนย์ แบบกระจาย
หน่วยประมวลผลกลางที่ทา
หน้าที่ในการให้บริการทั้งหมด
แก่ลูกข่าย
มีการแยกตัวของการประมวลผล
เป็นแขนงแตกออกมา แต่ยังมี
ตัวกลางของกลุ่มลูกข่าย
มีการเชื่อมต่อกันทั้งหมดใน
ลักษณะ เมช (Mesh) ซึ่งแต่ละ
โหนดมีความสาคัญเท่าเทียมกัน
เข้าสู่
เครือข่าย
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หลักการทางานของบล็อกเชน
สร้างเอกสาร
ทุกโหนดตอบรับรายการและ
เก็บข้อมูลไว้ในแต่ละโหนด
ทาการตรวจสอบข้อมูล
ทุกหน่วยตอบรับและมีการ
ตรวจสอบแล้วว่าถูกต้อง
สร้าง Block ใหม่
1. PoW (Proof of Work)
ตรวจสอบว่าข้อมูลไม่ได้ถูก
แฮกเข้ามา
2. PoS (Proof of Stake)
ตรวจสอบการเข้ารหัสและ
การเป็นเจ้าของข้อมูล
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาพแสดงหลักการทางานของบล็อกเชน
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
การแฮชก็เป็นวิธีหนึ่งในการเข้ารหัสข้อมูลต้นฉบับให้แปลงเป็นอีกข้อมูลหนึ่ง
ซึ่งยากต่อการแกะหรือถอดรหัสจากบุคคลอื่น โดยมีการใช้อัลกอริทึมในการสร้างค่าแฮช
ซึ่งการแฮชนั้นมีหลักการ ดังนี้
การเข้ารหัสแบบแฮช (Hash)
1. ไม่สามารถที่จะสร้างเลขแฮชเดียวกันและไปใช้กับข้อมูลอื่น ๆ ได้
2. ข้อมูลที่เข้ารหัสไปแล้ว เมื่อถอดรหัสจะต้องได้ค่าแฮชเดิมที่ใช้ในการแฮชตอนเข้ารหัส
3. การสร้างแฮชจะต้องกระทาด้วยความรวดเร็วในทันทีที่ได้มอบหมายข้อมูลมาเพื่อ
การเข้ารหัส
4. ไม่สามารถแกะข้อมูลต้นฉบับเมื่อได้ค่าแฮชนั้น
5. ถ้ามีการแก้ไขข้อมูลต้นฉบับเพียงเล็กน้อยค่าแฮชย่อมต้องเปลี่ยนแปลงไปด้วย
ผู้ถือสัญญาจะได้รับ
ประโยชน์โดยไม่ต้อง
มาตรวจสอบเงื่อนไข
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เราสามารถนาเทคโนโลยีบล็อกเชนไปประยุกต์ใช้ในงานต่าง ๆ ตัวอย่าง เช่น
การประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีบล็อกเชน
• สัญญาแบบสมาร์ต (Smart Contracts)
• การระดมทุน
เอกสารที่ดิน
เอกสารซื้อขาย
กรมธรรม์ต่าง ๆ
ไม่ต้องผ่านตัวกลางทางการเงิน
สัญญาอัตโนมัติ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
• การปกครอง
• ระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน
การลงคะแนนเสียงผลโหวตที่มีความโปร่งใส
ตรวจสอบความเป็นมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถตรวจสอบแหล่งที่มาของ
สินค้าและกระบวนการขนส่งได้
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
• การเก็บเอกสาร
• การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา
การโอนย้ายหรือการเรียกใช้จะเกิดความ
รวดเร็วและข้อมูลสอดคล้องกันทั้งระบบ
- การจดสิทธิบัตรต่าง ๆ ทาได้รวดเร็ว
- ตรวจสอบการละเมิดใช้ผลงานได้รวดเร็ว
และโปร่งใส
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในอนาคต
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o ระบบอัตโนมัติ และอุปกรณ์ที่ทางานอัตโนมัติ
(Automation and autonomous equipment)
ในอนาคตจะมีผู้ให้บริการในระบบอัตโนมัติมากขึ้น
หุ่นยนต์ที่ช่วยงานได้
หลากหลายมากขึ้น
รถยนต์อัตโนมัติ
ไร้คนขับ
โดรนขนส่งไร้คนขับ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o การวิเคราะห์ข้อมูลแบบเติมเต็ม (Augmented Analytics)
เครื่องมือที่ช่วยการวิเคราะห์ข้อมูลได้รวดเร็วแม่นยา ข้อมูลเกิดความเติมเต็ม
และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o ปัญญาประดิษฐ์ฝังตัว (Embedded AI-Artificial Intelligence)
มีการนาปัญญาประดิษฐ์ (AI) ฝังไปกับระบบฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์หรือ
การบริการต่าง ๆ ไปด้วย เพื่อช่วยในการปรับปรุงกระบวนการบริการ
และพัฒนาให้รวดเร็วขึ้น
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o แฝดดิจิทัล (Digital Twins)
การนาเทคโนโลยีภาพเสมือนการทางานจริงของอุปกรณ์หรือระบบใด ๆ
มาช่วยในการทางาน
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o การเพิ่มขีดความสามารถ (Empowered Edge)
อุปกรณ์ที่ผู้ใช้ปลายทางจะมีความสาคัญมากขึ้น และผู้ใช้จะมีบทบาทหรืออานาจ
ในการใช้งานอุปกรณ์นั้น ๆ อย่างมีประโยชน์สูงสุด โดยอุปกรณ์ปลายทางจะมี
ศักยภาพทั้งทางด้านการประมวลผล ความชาญฉลาด ความรวดเร็ว ประสิทธิภาพ
ของซอฟต์แวร์ การใช้พลังงานต่าฟีเจอร์ต่าง ๆ ที่สร้างคุณค่า ในการใช้งานให้กับ
ผู้ใช้ให้มากที่สุด
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยีมิติซ้อน (Immersive Technology)
เทคโนโลยีการซ้อนภาพ AR, MR และ VR จะถูกพัฒนาและนามาใช้กับมนุษย์
มากขึ้น
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain Technology)
เทคโนโลยีบล็อกเชนจะถูกนาไปใช้ในวงการธุรกิจการเงิน หลักทรัพย์และขยาย
ไปในวงการของรัฐบาล ระบบสาธารณสุข อุตสาหกรรม และระบบห่วงโซ่
อุปทาน และวงการอื่น ๆ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o สมาร์ตสเปซ (Smart Spaces)
เป็นการใช้เทคโนโลยีจากระบบบล็อกเชนและแฝดดิจิทัลสร้างให้ระบบการจัดการ
พื้นที่ทั้งเป็นพื้นที่จริงหรือพื้นที่เสมือนได้มีผู้ใช้มาใช้งานหรือใช้ประโยชน์จากพื้นที่
นั้นได้เต็มประสิทธิภาพและมีความหลากหลาย ซึ่งหลักการของพื้นที่สมาร์ตสเปซนั้น
(Smart Spaces) เป็นที่มาของ เมืองสมาร์ต (Smart City) ในอนาคต
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o จริยธรรมและความเป็นส่วนตัวเชิงดิจิทัล (Digital Ethics and Privacy)
การพัฒนาหลักเกณฑ์หรือระเบียบปฏิบัติการคุ้มครอง ข้อมูลทางดิจิทัล
ให้มีความน่าเชื่อถือและสอดคล้องกับหลักจริยธรรมด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว
ซึ่งแต่ละบริษัทหรือภาครัฐก็มีการเร่งพัฒนาระบบการป้องกันและกระบวนการป้องกัน
การละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o การคานวณประมวลผลแบบควอนตัม (Quantum Computing)
เป็นการใช้คุณสมบัติของอนุภาคย่อยภายในอะตอม (Subatom) ซึ่งจะแทนค่า
ของข้อมูลแทนที่จะเป็น 0 กับ 1 ในเชิงดิจิทัล แต่จะให้ค่าข้อมูลเรียกว่า ควอนตัมบิต
(Qubits) ซึ่งทาให้การประมวลผลแบบควอนตัมมีความสามารถในการประมวลผล
ได้เร็วกว่าการประมวลผลแบบดั้งเดิมหลายร้อยเท่าหรือมากกว่าพันเท่า
แบบทดสอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน หน้าคาตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
1. ข้อใดคือข้อเสียของบล็อกเชน
แชร์ข้อมูลสู่สาธารณะ1
ความซับซ้อนของระบบ2
ข้อมูลที่จัดเก็บมีความปลอดภัย3
ความพร้อมที่จะให้ตรวจสอบบัญชี4
ทางานแบบอัตโนมัติ โดยมีโปรแกรมย่อย
ที่ป้องกันการเขียนข้อมูลซ้าซ้อน
5
เฉลย  เพราะข้อเสียของบล็อกเชน
คือมีความซับซ้อนของระบบ
2
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
2. ข้อใดไม่ใช่แอปพลิเคชันที่ใช้สาหรับเทคโนโลยีด้านธุรกรรมการเงิน
PayPal1
Easy Pass2
Messenger3
Rabbit Line Pay4
TrueMoney Wallet5
เฉลย  เพราะ Messenger
เป็นแอปพลิเคชันที่ใช้ติดต่อสื่อสาร
บนอินเทอร์เน็ต3
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
3. ข้อใดไม่ใช่เทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อม1
เทคโนโลยีภูมิปัญญาด้านสิ่งแวดล้อม2
เทคโนโลยีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม3
เทคโนโลยีที่นาสารพิษเข้ามาเป็นตัวช่วย4
เทคโนโลยีที่ใช้ควบคุมและบาบัดมลพิษ5
เฉลย  เพราะเป็นเทคโนโลยีที่ทาลายสิ่งแวดล้อมทาลายคุณภาพดิน
และทาให้ผลิตปนเปื้อนสารพิษที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์
4
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
4. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของหุ่นยนต์
ภาพสามมิติ1 อุปกรณ์แสดงผล2
เซนเซอร์ตรวจจับต่าง ๆ3 ระบบซอฟต์แวร์ปฏิบัติการ4
กลไกทางกลเพื่อการเคลื่อนไหว5
1
เฉลย  เพราะองค์ประกอบของหุ่นยนต์มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่
1. เซนเซอร์หรืออุปกรณ์ตรวจจับต่าง ๆ
2. กลไกทางกลเพื่อการเคลื่อนไหว
3. อุปกรณ์แสดงผล
4. ระบบสื่อสาร
5. ระบบซอฟต์แวร์ปฏิบัติการ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
5. ข้อใดเป็นการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในด้านอุตสาหกรรม
ภาพสดของการจราจร1
ภาพสตรีมสดด้านการขนส่ง2
การพัฒนาระบบสมาร์ตฟาร์ม3
การรายงานข่าวสารสารสนเทศ4
ภาพถ่ายทอดสดการทางานของเครื่องจักร55
เฉลย  เพราะเป็นการใช้เทคโนโลยีในด้านอุตสาหกรรม
โดยการถ่ายทอดสดการทางานของเครื่องจักร
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
6. องค์ประกอบของนวัตกรรมมีกี่องค์ประกอบ
2 องค์ประกอบ1 3 องค์ประกอบ2
4 องค์ประกอบ3
5 องค์ประกอบ4
6 องค์ประกอบ5
2
เฉลย  เพราะองค์ประกอบของนวัตกรรมมี 3 องค์ประกอบ ได้แก่
1. ความใหม่
2. ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ
3. การใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
7. คาว่า “นวัตกรรม” มาจากภาษาอังกฤษคาใด
Innovate1 Innovation2
Teacher assistant3 Economic Benefits4
Instructional Materials5
เฉลย  เพราะ Innovation หมายถึง นวัตกรรม
2
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
8. ข้อใดคือความหมายของคาว่า “เทคโนโลยีระดับเบื้องต้น”
สามารถหาได้ทุกที่ไม่มีขีดจากัด1
ต้องซื้ออุปกรณ์ และทักษะการใช้งานจากต่างประเทศ2
ต้องซื้อจากต่างประเทศ แต่สามารถพัฒนาได้ภายในประเทศ3
ต้องซื้ออุปกรณ์จากต่างประเทศ แต่สามารถใช้งานโดยคนไทย4
สามารถจัดหาได้ภายในประเทศ หรือสามารถพัฒนาขึ้นได้
ภายในระยะเวลาอันสั้น
55
เฉลย  เพราะเทคโนโลยีระดับเบื้องต้นสามารถจัดหาได้ภายในประเทศ
หรือพัฒนาขึ้นได้ภายในระยะเวลาอันสั้น
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9. ข้อใดเป็นอุปกรณ์ที่เป็นเทคโนโลยีระดับสูง
โทรทัศน์1
เครื่องเสียง2
คอมพิวเตอร์3
ระบบคมนาคม4
โทรศัพท์เคลื่อนที่5
เฉลย  เพราะระบบคมนาคม
ต้องซื้ออุปกรณ์และทักษะ
การใช้งานจากต่างประเทศ
4
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
10. ระดับของเทคโนโลยีมีทั้งหมดกี่ระดับ
2 ระดับ1 3 ระดับ2
4 ระดับ3 5 ระดับ4
6 ระดับ5
3
เฉลย  เพราะระดับของเทคโนโลยีมี 4 ระดับ ได้แก่
1. เทคโนโลยีระดับเบื้องต้น
2. เทคโนโลยีระดับกลาง
3. เทคโนโลยีระดับสูง
4. เทคโนโลยีระดับสูงมาก

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์สราวุฒิ จบศรี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารTuaLek Kitkoot
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNew Prapairin
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAuraiwan Worrasiri
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัสArt Asn
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศKrooIndy Csaru
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารkaewwonnesakun
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพSujit Chuajine
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42poptnw
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศKanokorn Thodsaphon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันkroobee
 
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศWeek 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
Chap1 new
Chap1 newChap1 new
Chap1 new
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
 
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศWeek 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Similar to Computing science unit 2

เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศเกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศนู๋ เฟิร์น
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for EducationSurapon Boonlue
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศป.ปลา ตากลม
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesBoonlert Aroonpiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศKrunee Thitthamon
 
Information Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge societyInformation Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge societyBoonlert Aroonpiboon
 
Future of living (1)
Future of living (1)Future of living (1)
Future of living (1)Pattie Pattie
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยsomdetpittayakom school
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งpanida21
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งorawan34
 

Similar to Computing science unit 2 (20)

เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศเกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Internet of things
Internet of thingsInternet of things
Internet of things
 
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
Qualify exam2
Qualify exam2Qualify exam2
Qualify exam2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Information Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge societyInformation Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge society
 
Future of living (1)
Future of living (1)Future of living (1)
Future of living (1)
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
 

More from Chompooh Cyp

Ps cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filterPs cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filterChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouchPs cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouchChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customizePs cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customizeChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basicPs cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basicChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapePs cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapeChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effectPs cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effectChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transformPs cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transformChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cutPs cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cutChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & toolPs cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & toolChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionPs cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionChompooh Cyp
 
Ch08 cp8 object management
Ch08 cp8 object managementCh08 cp8 object management
Ch08 cp8 object managementChompooh Cyp
 
Ch06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimediaCh06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimediaChompooh Cyp
 
Ch04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape objectCh04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape objectChompooh Cyp
 
Ch03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide managementCh03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide managementChompooh Cyp
 

More from Chompooh Cyp (20)

Ps cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filterPs cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filter
 
Ps cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouchPs cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouch
 
Ps cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customizePs cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customize
 
Ps cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basicPs cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basic
 
Ps cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapePs cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shape
 
Ps cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effectPs cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effect
 
Ps cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layerPs cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layer
 
Ps cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-textPs cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-text
 
Ps cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transformPs cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transform
 
Ps cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cutPs cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cut
 
Ps cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & toolPs cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & tool
 
Ps cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionPs cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introduction
 
Ch10 cp8 publish
Ch10 cp8 publishCh10 cp8 publish
Ch10 cp8 publish
 
Ch09 cp8 quizs
Ch09 cp8 quizsCh09 cp8 quizs
Ch09 cp8 quizs
 
Ch08 cp8 object management
Ch08 cp8 object managementCh08 cp8 object management
Ch08 cp8 object management
 
Ch07 cp8 sound
Ch07 cp8 soundCh07 cp8 sound
Ch07 cp8 sound
 
Ch06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimediaCh06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimedia
 
Ch05 cp8 button
Ch05 cp8 buttonCh05 cp8 button
Ch05 cp8 button
 
Ch04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape objectCh04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape object
 
Ch03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide managementCh03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide management
 

Computing science unit 2

  • 3. แผนผังหัวข้อหน่วยการเรียนรู้ นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน เทคโนโลยีเกิดใหม่ ระดับของเทคโนโลยี นวัตกรรม (lnnovation) บริการคลาวด์ (Cloud Service) บล็อกเชน (Blockchain) เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ของ เทคโนโลยีในอนาคต
  • 4. ตัวชี้วัด • ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอ และแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม (ว 4.2 ม.6/1) เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
  • 5. นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เพิ่มความสะดวกสบาย เพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน ต่อยอดทางธุรกิจ ความต้องการสิ่งที่ดีที่สุดของมนุษย์ เกิดเป็นเทคโนโลยี พัฒนาสิ่งที่มีอยู่เดิม สร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่
  • 6. คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เทคโนโลยี ระดับสูงมาก ระดับของเทคโนโลยี เทคโนโลยี ระดับสูง เทคโนโลยี ระดับกลาง เทคโนโลยี ระดับเบื้องต้น เสารับ - ส่งสัญญาณ โน๊ตบุ๊ค โทรทัศน์ เครื่องเสียง ตู้เย็น โทรศัพท์เคลื่อนที่ ระดับของเทคโนโลยี จานดาวเทียม
  • 7. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลิตภัณฑ์ บริการ กระบวนการ คือ การใช้ความรู้ ทักษะประสบการณ์ ความคิดสร้างสรรค์ เกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม พัฒนาต่อยอดสิ่งที่มีอยู่เดิม สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ นวัตกรรม (Innovation) นวัตกรรม (Innovation)
  • 8. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ความใหม่ (Newness) ประโยชน์ ในเชิงเศรษฐกิจ (Economic Benefits) การใช้ความรู้และ ความคิดสร้างสรรค์ (Knowledge and Creativity Idea) องค์ประกอบ ของนวัตกรรม ปรับปรุงจากเดิม พัฒนาขึ้นมาใหม่ เกิดมูลค่าเพิ่ม ใช้ความรู้และ ความคิดสร้างสรรค์ ไม่ลอกเลียนแบบผู้อื่น
  • 9. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน o เทคโนโลยี 5G และเทคโนโลยีคลาวด์ รวมทั้ง Internet of Things (IoT) • สามารถส่ง-รับข้อมูลด้วยความเร็วมากกว่าระบบ4G อยู่ที่ประมาณ 10 - 100 เท่าหรือมากกว่า • สามารถส่ง-รับข้อมูลในปริมาณที่มากขึ้นในระยะเวลาที่สั้นลง • สามารถถ่ายเทข้อมูลถึงกันได้รวดเร็วยิ่งขึ้น • จะได้บริการที่มีประสิทธิภาพและสามารถรองรับเนื้อหาสาระ ในรูปแบบต่าง ๆ ได้มากขึ้น
  • 10. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 การผสมผสานเทคโนโลยี 5G เข้ากับด้านต่าง ๆ ด้านอุตสาหกรรม ด้านเกษตรกรรม การพัฒนาระบบสมาร์ตฟาร์ม (Smart Farming) มาช่วยในการทางาน ทาการเกษตรออนไลน์ และนาอุปกรณ์ IoT มาติดตั้ง เพื่อการดูแลจัดการฟาร์มและ ระบบปัญญาประดิษฐ์เพื่อช่วยตัดสินใจ ในการดาเนินกิจการ การใช้ระบบอัตโนมัติเข้ามาช่วยในการ จัดการ การควบคุม ตรวจสอบการทางาน มีความปลอดภัย เกิดความผิดพลาดน้อย การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 11. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ด้านการขนส่ง ด้านการแพทย์และสาธารณสุข การสื่อสารข้อมูลทางการแพทย์โดย ให้บริการผ่านทางไกล สามารถใช้การส่ง ข้อมูล สภาวะของผู้ป่วย ข้อมูลทางกายภาพ ต่าง ๆ ผ่านเครื่องมือวัดหรือการถ่ายทอด ภาพสู่ผู้เชี่ยวชาญเพื่อการวินิจฉัยได้ ทันท่วงที สามารถส่งข้อมูลเส้นทางหรือตาแหน่งพิกัด ต่าง ๆ แบบออนไลน์ รวมทั้งการติดตาม สินค้าแบบออนไลน์ ภาพสตรีมสดด้านการ ขนส่ง ภาพสดของการจราจรและการ แก้ปัญหาจราจร
  • 12. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ด้านสื่อสารมวลชน โทรทัศน์และสื่อดิจิทัล ภาครัฐและหน่วยงานรัฐ การรายงานข่าวสารสารสนเทศสามารถกระทา ได้ทุกที่และให้ความละเอียดสูง อีกทั้ง ประชาชนสามารถเข้าถึงเนื้อหาที่ทันเหตุการณ์ ได้มากขึ้นและสามารถแลกเปลี่ยนทัศนคติ ความคิดเห็นได้กว้างขวางอย่างมีประสิทธิผล การบริหารจัดการและการสั่งการสามารถ กระทาได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งการขยายความเจริญ ด้านการสื่อสารไปยังพื้นที่ห่างไกลเป็นโอกาส ในการส่งเสริมและสร้างธุรกิจหรือการประกอบ กิจการใหม่ ๆ
  • 13. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเอกชนและสถาบันการเงิน ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยว สามารถใช้สมาร์ตโฟนเป็นตัวกลางในการ ทาธุรกรรมต่าง ๆ การขยายการบริการใหม่ ๆ มีช่องทางสาหรับการทาธุรกิจในรูปแบบใหม่ ๆ การบริการข้อมูลที่พร้อมเพรียง การแสดงเนื้อหาที่สมบูรณ์ ความละเอียดสูง ภาพและเสียง พร้อมทั้งบริการการจองที่พัก การวางแผนเส้นทางการเดินทาง พร้อมแผนที่ และระบบความช่วยเหลือแบบออนไลน์ พร้อมด้วยเทคโนโลยีที่เสริมความน่าสนใจ เช่น VR/AR/MR
  • 14. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และแชตบอต แชตบอต เป็นการสื่อสารกับผู้ใช้แบบอัตโนมัติ เช่น ห้องสนทนาที่สามารถ สนทนาโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ในลักษณะแบบมนุษย์เขียนโต้ตอบกัน ซึ่งผู้ใช้สามารถเขียนสอบถามสิ่งที่ต้องการทราบ ระบบจะทาการหาข้อมูล และวิเคราะห์ให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ได้เช่น การสอบถามราคาสินค้า และเปรียบเทียบสเปกสินค้า
  • 15. เป็นเทคโนโลยีที่ผสมระหว่าง VR กับ AR เข้าด้วยกัน สามารถ แสดงภาพซ้อนแบบ AR ผ่าน การสวมแว่นตาที่มองทะลุเห็น ภาพด้านหน้าและจะเห็นภาพที่ ซ้อนขึ้นพร้อม ๆ กัน เป็นเทคโนโลยีที่จะมีการ ซ้อนภาพกราฟิกขึ้นมากับ ภาพจริง เช่น คาอธิบาย รายละเอียดของสิ่งของ หรือ สถานที่ เป็นเทคโนโลยีที่สร้างภาพ เสมือนในลักษณะ 3 มิติ เมื่อใส่แว่นตา VR จะเห็น ภาพกราฟิกที่ถูกสร้างขึ้นมา เหมือนเข้าไปในอีกโลกหนึ่ง เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยีมิติซ้อน VR (Virtual Reality) AR (Augmented Reality) MR (Mixed Reality)
  • 16. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยี loT (Internet of Things) อินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง หมายถึง การที่อุปกรณ์ต่าง ๆ รอบตัวเราสามารถ เชื่อมโยง และสื่อสารกันผ่านระบบเครือข่ายหรืออินเทอร์เน็ตได้ ทาให้เราสามารถ ควบคุมอุปกรณ์หรือตรวจสอบสถานะต่าง ๆ ผ่านอุปกรณ์นั้นได้ เปิด – ปิดประตูบ้าน ผ่านสมาร์ตโฟน เปิด – ปิด ไฟด้วยคาสั่งเสียง เครื่องให้อาหารสัตว์ ทางไกลผ่านสมาร์ตโฟน
  • 17. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยีหุ่นยนต์และออโตเมชัน และระบบอัตโนมัติในที่พักอาศัย เทคโนโลยีหุ่นยนต์ กับระบบออโตเมชันต่างกันในลักษณะของกระบวนการทางาน ดังนี้ การพัฒนาหุ่นยนต์เพื่อใช้เข้ามาช่วยในการทางานต่าง ๆ เทคโนโลยีหุ่นยนต์ เก็บผลผลิตทางการเกษตร หุ่นยนต์เชื่อมโลหะใน โรงงานผลิตรถยนต์
  • 18. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คือ กระบวนการที่ใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ มาช่วยเพื่อให้งานนั้นสาเร็จลุล่วง เป็นการนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทางานของมนุษย์ ระบบออโตเมชัน เครื่องผลิตคุกกี้อัตโนมัติ เครื่องบรรจุหีบห่ออัตโนมัติ
  • 19. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยียานยนต์และการขนส่ง และเมืองอัจฉริยะ (Smart Vehicles/Smart City) ใช้ระบบเซนเซอร์ต่าง ๆ เข้ามาตรวจจับและควบคุมการทางานของรถยนต์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ รถยนต์ไร้คนขับ การแสดงผลแบบAR/MR บนกระจกหน้ารถยนต์ การสื่อสารระหว่างรถยนต์กับรถยนต์ด้วยกัน เพื่อความปลอดภัยในการใช้เส้นทาง ช่วยกระจายความหนาแน่นคับคั่งของการจราจร
  • 20. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้านสิ่งแวดล้อม เป็นการใช้เทคโนโลยีที่ใช้ในการ ติดตาม ตรวจสอบ ดูแล บาบัด ฟื้นฟู สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ลดปัญหามลพิษที่ ส่งผลกระทบต่อสภาพสิ่งแวดล้อม ได้แก่ • เทคโนโลยีที่ใช้ควบคุมและบาบัดมลพิษ • เทคโนโลยีชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อม • เทคโนโลยีภูมิปัญญาด้านสิ่งแวดล้อม • เทคโนโลยีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม • เทคโนโลยีด้านพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์พลังงาน และพลังงานทดแทน
  • 21. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยีด้านการผลิตและเทคโนโลยีด้านพลังงาน (Supply-Side Technology) เป็นการทาฟาร์มแบบแนวตั้งซึ่งจะประหยัดพื้นที่และสามารถปลูกพืชได้ภายในที่พักอาศัย โดยใช้วัสดุโครงสร้างที่เบาและแข็งแรง เทคโนโลยี LED และวงจรเซนเซอร์ต่าง ๆ มาช่วยในการจัดการ ด้านการให้แสงสว่างที่เหมาะสมแก่การเจริญเติบโต เทคโนโลยีด้านการเกษตร การทาฟาร์มแบบแนวตั้ง (Vertical Farming) LED พืชใบเขียว ส่วนควบคุม น้าและแร่ธาตุ ผ้าซับรักษาความชื้น ถาดเพาะชาพืช
  • 22. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 การจัดการสินค้าบริโภคที่เหลือหรือมีการคัดออกด้วยความไม่สวยงามแต่ให้ประโยชน์ เท่าเทียมและบริโภคได้ รวมทั้งการยืดอายุของการเน่าเสีย (Food Waste Management) • การเปิดตลาดออนไลน์สาหรับสินค้าการเกษตรที่ไม่ผ่านมาตรฐาน แต่ให้คุณค่าทางโภชนาการ เท่าเทียมกันเพียงแต่ขนาดหรือรูปลักษณะไม่สวยงาม ซึ่งมีราคาถูกกว่า • การใช้เทคโนโลยีที่สามารถพ่นสารเคลือบผิวของพืชผักและผลไม้โดยที่สารนี้สามารถรับประทานได้ อย่างปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายและยังสามารถยืดอายุหรือการเสื่อมสภาพของพืชผักและ ผลไม้ได้นานขึ้น
  • 23. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 การเทียมเนื้อสัตว์จากพืช (Plant-based Meat) การวิจัยและพัฒนาหาสารอาหารที่ได้คุณค่าทางโปรตีนเหมือนโปรตีนที่ได้จาก เนื้อสัตว์เพื่อใช้ทดแทนเนื้อสัตว์คือ การนาพืชที่สามารถให้คุณค่าทางโปรตีนได้เหมือน โปรตีนที่ได้จากเนื้อสัตว์มาทาการแปรรูปเพื่อใช้ทดแทนเนื้อสัตว์ และได้ความรู้สึก ด้านการมองเห็นรูปลักษณ์ สีสัน และรสชาติที่เหมือนกับเนื้อสัตว์ต่าง ๆ
  • 24. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยีการพิมพ์แบบสามมิติ (3D Printing) เป็นเทคโนโลยีในการสร้างต้นแบบเร่งด่วน (Rapid Prototype) ซึ่งเรียกว่า 3D Printer เป็นเครื่องพิมพ์ชิ้นงานต้นแบบในลักษณะสามมิติ โดยใช้วิธีการหลอมวัตถุดิบและฉีด วัตถุดิบเป็นเส้นบาง ๆ ขึ้นรูปจากฐานทีละขั้นขึ้นไปจนได้ชิ้นงานที่สมบูรณ์
  • 25. มีน้าหนักเบากว่าเหล็ก แต่แข็งแรงกว่าเหล็ก เป็น 100 เท่า เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยีวัสดุ รวมทั้งวัสดุที่ใช้ในทางการแพทย์ เป็นการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีวัสดุ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งาน ที่เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เกิดความประหยัด ทดแทนวัสดุหรือวัตถุดิบที่หายาก กราฟีน (Graphene) ผ้า Karta-Pack มีลักษณะเหมือนฝ้าย แต่คงรูปได้เหมือน พลาสติก หมอนรองกระดูกเทียม ข้อเทียม คางเทียม ดั้งจมูกเทียม อวัยวะเทียมต่าง ๆ
  • 26. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยีด้านพลังงานสะอาด (Green energy technology) ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม
  • 27. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยีด้านพลังงานไฟฟ้าไร้สาย (Wireless Energy Transfer) หรือ (Inductive Power Transfer) หลักการของการจ่ายพลังงานไฟฟ้าโดยไม่ต้องเสียบต่อสายไฟฟ้าให้กับ อุปกรณ์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้านั้น เทคโนโลยีนี้อยู่ในระหว่างการวิจัยและพัฒนาเพื่อให้สามารถนาไปใช้งาน กับอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าที่สูงขึ้น และทาให้ระยะห่างในการชาร์จไฟฟ้ามีระยะ ที่ไกลขึ้น
  • 28. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยีด้านธุรกรรมการเงินหรือธุรกรรมเอกสารสัญญาที่ต้องการความเสถียรภาพ ความปลอดภัย และความมั่นคง Fintech คือ การที่นาเทคโนโลยีสารสนเทศหรือเทคโนโลยีอื่น ๆ มาประยุกต์เข้ากับ ระบบการเงินและการทาธุรกรรมการเงินและหลักทรัพย์เพื่อลดต้นทุน แล้วเพิ่มช่องทาง รายรับและลดขั้นตอนในการดาเนินการ แอปพลิเคชันเพย์พาว (Paypal) แอปพลิเคชันไลน์เพย์(Line pay)
  • 29. ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศจีน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 TechFin คือผู้ที่พัฒนาและให้บริการระบบเทคโนโลยีด้านการเงิน โดยดาเนินการเป็น ฐานรากหรืออยู่เบื้องหลังของการดาเนินงานของบริษัทต่าง ๆ ที่ใช้บริการ โดยเน้นระบบ การให้บริการลูกค้าและเทคโนโลยีด้านจัดการการเงินเป็นศูนย์กลาง
  • 30. เทคโนโลยีเกิดใหม่ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ประเภทของการให้บริการคลาวด์ Software as a Service (SaaS) Platform as a Service (PaaS) Infrastructureas a Service (IaaS) เป็นบริการที่ให้ใช้หรือเช่า บริการ Software และ Application เป็นการให้บริการด้าน Platform สาหรับผู้ใช้งาน เป็นบริการที่ครอบคลุมเฉพาะ ในส่วนของโครงสร้างพื้นฐาน ทางด้านไอที Google Docs หรือ Google Apps Google App Engine Microsoft Azure บริการ Cloud storage บริการคลาวด์ (Cloud Service)
  • 31. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เหตุผลที่บริการคลาวด์มีบทบาทสาคัญในปัจจุบันและอนาคต มีพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลได้ตามความต้องการใช้งาน มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง มีการดูแลรักษาและบารุงระบบให้สามารถทางานได้ 24 ชั่วโมง ใช้การลงทุนในทรัพยากรต่า
  • 32. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ข้อดีและข้อเสียของบริการคลาวด์ บริการคลาวด์ ข้อดี ข้อเสีย ประหยัดค่าใช้จ่ายด้าน IT หากระบบหรือเครือข่ายล่มจะทาให้ การให้บริการหยุดชะงักลง ระบบมีความปลอดภัย เชื่อถือได้ อาจถูกโจรกรรมข้อมูลได้ มีระบบที่จัดการได้ง่าย มีการพัฒนาระบบเพื่อให้รองรับ การทางานต่าง ๆ ได้อย่างสม่าเสมอ หากมีการย้ายหรือเปลี่ยนผู้ให้บริการ อาจเกิดปัญหาการไม่รองรับซอฟต์แวร์ได้ อาจจากัดสิทธิการเข้าถึงของผู้ใช้ใน วงจากัด
  • 33. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 การใช้บริการคลาวด์และการเก็บข้อมูล pCloud ให้พื้นที่ 10 GB sync.com ให้พื้นที่ 5 GB MediaFire.com ให้พื้นที่ 10 GB Google Drive ให้พื้นที่ 15 GB Mega.nz ให้พื้นที่ 15 GB
  • 34. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิธีใช้งาน Google Drive 1. เปิดบัญชี Google Gmail 2. ลงชื่อเข้าใช้งานบนเว็บเบราว์เซอร์ (Chrome) โดยใช้บัญชีที่สมัครไว้และรหัสผ่านที่ถูกต้อง ปุ่มลงชื่อเข้าใช้งาน
  • 36. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 3. เข้าใช้งาน Google Drive โดยคลิกเมาส์ที่ไอคอน แล้วเลือกที่ หรือเข้าที่ เว็บไซต์http://drive.google.com 1. เลือกที่ไอคอนนี้ 2. เลือกที่ Drive
  • 37. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 4. เมื่อเข้าสู่ Google Drive แล้วจะพบว่ามีลักษณะคล้าย File Explorer โดยด้านซ้าย จะเป็นเมนูเพื่อสร้างไฟล์และแถบเมนูต่าง ๆ เพื่อเลือกดู หากมีบุคคลแชร์ไฟล์หรือ โฟลเดอร์ให้เราสามารถ ดูได้โดยเรียกดูได้ที่เมนู Shared with me เรียกดูไฟล์ หรือโฟลเดอร์ ที่บุคคลอื่นส่งหรือแชร์ให้เรา บัญชีผู้ใช้งานสามารถเพิ่มบัญชีอื่น ๆ ได้(เช่น มี Gmail อื่น) ได้หลายบัญชี พร้อม ๆ กัน ในเบราว์เซอร์เดียวกันนี้ ปริมาณข้อมูลที่เก็บในคลาวด์นี้
  • 38. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ถ้าเป็นบัญชี Gmail ปกติที่ไม่ได้เป็นบัญชีการศึกษาจากหน่วยงานการศึกษา ที่อนุญาตให้ใช้ จะมีการจากัดปริมาณการเก็บข้อมูล ปริมาณข้อมูลที่เก็บในคลาวด์นี้ บัญชีธรรมดา Gmail จะไม่มีชื่อหน่วยงานกากับ
  • 39. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 5. ถ้าต้องการตั้งค่าภาษา สามารถตั้งค่าได้ที่ ไอคอน เมนูเข้าสู่การตั้งค่า เปลี่ยนภาษา
  • 40. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 6. การค้นหาไฟล์ใน Google Drive มีประสิทธิภาพมาก ซึ่งสามารถค้นหาเป็นชื่อของไฟล์ หรือส่วนหนึ่งของไฟล์ได้เช่นกัน โดยคลิกเมาส์เข้าไปในโฟลเดอร์นั้น ๆ แล้วป้อนชื่อ เพื่อค้นหา ระบบจะทาการค้นหาชื่อไฟล์รวมทั้งเนื้อหาในไฟล์ต่าง ๆ ภายในโฟลเดอร์ ที่เลือกไว้ ค้นหาไฟล์ได้ที่นี่ ผลการค้นหา
  • 41. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 7. การแชร์โฟลเดอร์หรือการแชร์ไฟล์ต่าง ๆ ให้สังเกตลักษณะไอคอนของไฟล์นั้น ๆ ถ้าภาพคนแสดงขึ้นมาแสดงว่าโฟลเดอร์นั้น หรือไฟล์นั้นมีการแชร์ให้บุคคลอื่นสามารถ เข้าดูหรือแก้ไขได้ สัญลักษณ์การแชร์ โฟลเดอร์ที่ให้ผู้อื่น สามารถดูและแก้ไขได้
  • 42. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เมื่อคลิกเมาส์ดูที่ไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้น จะแสดงรายละเอียดในกรอบข้อมูลด้านขวา โฟลเดอร์นี้แชร์ด้วยลิงก์ URL รายละเอียดของโฟลเดอร์คลิกเมาส์ที่โฟลเดอร์
  • 43. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โฟลเดอร์แชร์แบบกลุ่มอีเมล ซึ่งผู้ที่จะดูข้อมูลได้จะต้อง อยู่ในกลุ่มเท่านั้น คลิกเมาส์ที่โฟลเดอร์ รายละเอียดของโฟลเดอร์
  • 44. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ถ้าต้องการเรียกดูว่ามีกิจกรรมอะไรที่เกิดขึ้นกับไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้น ๆ เช่น การแก้ไข ลบ หรือเพิ่มไฟล์ต่าง ๆ จะสามารถเรียกดูประวัติการเข้าใช้โดยการคลิกเมาส์ ที่ “กิจกรรม (Activity)” 1. เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการ ดูประวัติการเข้าใช้งาน 2. เลือกที่ Activity 3. ประวัติการเข้าใช้งาน จะปรากฏขึ้น
  • 45. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 8. ถ้าต้องการแชร์ แบ่งปัน แก้ไข และตั้งค่าต่าง ๆ กับโฟลเดอร์หรือไฟล์ใด ๆ สามารถ กระทาได้โดยการคลิกเมาส์ปุ่มขวา 1 ครั้ง เมนูย่อยจะแสดงขึ้นมา แล้วเลือกไปที่ Share 1. คลิกเมาส์เลือก โฟลเดอร์ที่ต้องการ 2. เลือกที่ Share
  • 46. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9. ก่อนการแชร์จะต้องมีการตั้งค่าการแชร์ของเราก่อน โดยจะเลือกให้สามารถดูและ แก้ไขได้ 1. ป้อนอีเมล 2. เลือกที่ Share 3. เลือกการแชร์แบบขั้นสูง
  • 47. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เมื่อกดเข้าสู่ขั้นสูง นักเรียนสามารถเปลี่ยนแปลงสิทธิในการแชร์ได้หลากหลาย มากขึ้น โดยเลือกที่ Change... เลือก Change...
  • 48. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เมื่อเลือกแล้วจะปรากฏรูปแบบการแชร์ให้เลือก จากนั้นนักเรียนสามารถเลือก รูปแบบได้ตามความเหมาะสม 1. เลือกรูปแบบ การแชร์ให้ผู้ที่ มีลิงก์สามารถ เปิดได้ 2. เลือก Save
  • 49. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กาหนดการแชร์เสร็จสิ้นแล้วสามารถตรวจสอบสถานะการแชร์ได้และแก้ไขได้ โดยคลิกเมาส์ขวา ซึ่งแก้ไขการแชร์ได้ตลอดเวลา คลิกเมาส์ขวาที่โฟลเดอร์ แล้วเลือก Share จากนั้น เลือกที่ Advanced แล้วสามารถแก้ไขได้เลย
  • 50. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 10. ถ้ามีการแชร์ด้วยอีเมลจากผู้อื่นมาให้เราร่วมใช้ไฟล์หรือโฟลเดอร์ นักเรียนสามารถ ตรวจสอบได้ว่า มีไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่นักเรียนมีสิทธิในการร่วมใช้โดยการกดไปที่ “แชร์กับฉัน (Shared with me)” 1. เลือก Shared with me เพื่อตรวจสอบ 2. จะปรากฏไฟล์หรือโฟลเดอร์ ที่มีสิทธิในการร่วมใช้
  • 51. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 1. คลิกเมาส์ขวาที่ไฟล์ หรือโฟลเดอร์ 2. เลือกคาสั่ง Move to เพื่อย้ายไฟล์หรือโฟลเดอร์ เมื่อสร้างโฟลเดอร์ที่ต้องการสาเร็จให้เข้าสู่โฟลเดอร์นั้น ๆ แล้วกดปุ่ม จากนั้นเลือก การสร้างไฟล์ที่ต้องการ เช่น การอัปโหลดไฟล์ต่าง ๆ สู่โฟลเดอร์นั้น ๆ หรือการสร้างเอกสารด้วย Google App (Doc, Sheets, Slides) ไฟล์ที่สร้างนั้นจะบันทึกเข้าไปในโฟลเดอร์นั้น ๆ ซึ่งนักเรียนสามารถ ย้ายไฟล์ได้ในภายหลังด้วยการคลิกเมาส์ขวาที่ไฟล์หรือโฟลเดอร์ แล้วเลือกย้าย (Move to)
  • 52. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 1. คลิกเมาส์เลือก My Drive 3. ตั้งชื่อโฟลเดอร์ที่สร้างขึ้นใหม่ 11. การสร้างโฟลเดอร์งานขึ้นมาใหม่เพื่อใช้เก็บเอกสาร Google Docs, Google Sheets, Google Slides 2. คลิกเมาส์เลือก New folder 4. เลือก CREATE เพื่อสร้างโฟลเดอร์ใหม่
  • 53. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คลิกเมาส์เลือก 12. เมื่อสร้างโฟลเดอร์ที่ต้องการแล้วให้เข้าสู่โฟลเดอร์นั้น แล้วสร้างไฟล์เอกสารที่ต้องการ เช่น การสร้างเอกสาร Google Docs โดยเลือก แล้วเลือก
  • 54. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ความปลอดภัยในการใช้ระบบบริการคลาวด์ • แจ้งเตือนผ่านอีเมลที่ผู้สมัครบริการคลาวด์นั้นได้มีการเข้าใช้ เพื่อแจ้งว่าเป็นการเข้าใช้ที่ถูกต้องหรือไม่ • ผูกระบบกับโทรศัพท์สมาร์ตโฟน โดยมีการให้ยืนยันตัวตน ด้วยการส่งข้อความเป็นเลข OTP (One-Time-Password) • 2 Factor Authentication (2FA) คือ การยืนยันตัวตนผ่าน 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 ป้อนล็อกอิน (Login) และรหัสผ่าน (Password) ขั้นตอนที่ 2 ใช้One Time Password (OTP)
  • 55. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 บล็อกเชน (Blockchain) ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลเดิมและที่ใช้กันอยู่เป็นระบบรวมศูนย์ในลักษณะ Client-Server (Centralized Processing System) โดยการที่เซิร์ฟเวอร์เป็นผู้ดาเนินการต่อให้บริการนั้น ๆ เมื่อมีผู้ใช้ร้องขอ เช่น เว็บไซต์ ผู้ใช้ร้องขอเข้าชมโดยการ ป้อน URL และใช้งานเว็บเพจ เว็บแอปพลิเคชัน ผู้ใช้ร้องขอเข้าใช้งาน หน้าเว็บเพจที่เป็นโปรแกรม การทาสไลด์นาเสนอ การทาแอนิเมชัน แอปพลิเคชันข้อความ ผู้ใช้ร้องขอเข้าใช้งานในการ แลกเปลี่ยนข้อมูลหรือสื่อสาร Facebook messenger Line Whatsapp
  • 56. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 • สิทธิในข้อมูลใครเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ ? • สาเนาข้อมูลถูกเก็บไว้ที่ใด? • การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ส่ง – ผู้รับ ทาไมต้องผ่านตัวกลาง? • จะตรวจสอบได้อย่างไรว่าข้อมูลไม่ได้ถูกแก้ไข? Blockchain เพื่อเข้ามาแก้ปัญหาระบบแบบรวมศูนย์ มีการรับประกันความปลอดภัยในการธุรกรรมข้อมูล ไม่มีตัวกลางในการจัดการเป็นระบบประมวลผลแบบกระจาย เกิดคาถาม เกี่ยวกับการ ทางานของระบบ
  • 57. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รูปแบบวิธีการประมวลผลข้อมูล แบบรวมศูนย์ แบบแยกศูนย์ แบบกระจาย หน่วยประมวลผลกลางที่ทา หน้าที่ในการให้บริการทั้งหมด แก่ลูกข่าย มีการแยกตัวของการประมวลผล เป็นแขนงแตกออกมา แต่ยังมี ตัวกลางของกลุ่มลูกข่าย มีการเชื่อมต่อกันทั้งหมดใน ลักษณะ เมช (Mesh) ซึ่งแต่ละ โหนดมีความสาคัญเท่าเทียมกัน
  • 58. เข้าสู่ เครือข่าย เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลักการทางานของบล็อกเชน สร้างเอกสาร ทุกโหนดตอบรับรายการและ เก็บข้อมูลไว้ในแต่ละโหนด ทาการตรวจสอบข้อมูล ทุกหน่วยตอบรับและมีการ ตรวจสอบแล้วว่าถูกต้อง สร้าง Block ใหม่ 1. PoW (Proof of Work) ตรวจสอบว่าข้อมูลไม่ได้ถูก แฮกเข้ามา 2. PoS (Proof of Stake) ตรวจสอบการเข้ารหัสและ การเป็นเจ้าของข้อมูล
  • 59. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาพแสดงหลักการทางานของบล็อกเชน
  • 60. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 การแฮชก็เป็นวิธีหนึ่งในการเข้ารหัสข้อมูลต้นฉบับให้แปลงเป็นอีกข้อมูลหนึ่ง ซึ่งยากต่อการแกะหรือถอดรหัสจากบุคคลอื่น โดยมีการใช้อัลกอริทึมในการสร้างค่าแฮช ซึ่งการแฮชนั้นมีหลักการ ดังนี้ การเข้ารหัสแบบแฮช (Hash) 1. ไม่สามารถที่จะสร้างเลขแฮชเดียวกันและไปใช้กับข้อมูลอื่น ๆ ได้ 2. ข้อมูลที่เข้ารหัสไปแล้ว เมื่อถอดรหัสจะต้องได้ค่าแฮชเดิมที่ใช้ในการแฮชตอนเข้ารหัส 3. การสร้างแฮชจะต้องกระทาด้วยความรวดเร็วในทันทีที่ได้มอบหมายข้อมูลมาเพื่อ การเข้ารหัส 4. ไม่สามารถแกะข้อมูลต้นฉบับเมื่อได้ค่าแฮชนั้น 5. ถ้ามีการแก้ไขข้อมูลต้นฉบับเพียงเล็กน้อยค่าแฮชย่อมต้องเปลี่ยนแปลงไปด้วย
  • 61. ผู้ถือสัญญาจะได้รับ ประโยชน์โดยไม่ต้อง มาตรวจสอบเงื่อนไข เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เราสามารถนาเทคโนโลยีบล็อกเชนไปประยุกต์ใช้ในงานต่าง ๆ ตัวอย่าง เช่น การประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีบล็อกเชน • สัญญาแบบสมาร์ต (Smart Contracts) • การระดมทุน เอกสารที่ดิน เอกสารซื้อขาย กรมธรรม์ต่าง ๆ ไม่ต้องผ่านตัวกลางทางการเงิน สัญญาอัตโนมัติ
  • 62. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 • การปกครอง • ระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน การลงคะแนนเสียงผลโหวตที่มีความโปร่งใส ตรวจสอบความเป็นมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบแหล่งที่มาของ สินค้าและกระบวนการขนส่งได้
  • 63. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 • การเก็บเอกสาร • การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การโอนย้ายหรือการเรียกใช้จะเกิดความ รวดเร็วและข้อมูลสอดคล้องกันทั้งระบบ - การจดสิทธิบัตรต่าง ๆ ทาได้รวดเร็ว - ตรวจสอบการละเมิดใช้ผลงานได้รวดเร็ว และโปร่งใส
  • 64. แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในอนาคต เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o ระบบอัตโนมัติ และอุปกรณ์ที่ทางานอัตโนมัติ (Automation and autonomous equipment) ในอนาคตจะมีผู้ให้บริการในระบบอัตโนมัติมากขึ้น หุ่นยนต์ที่ช่วยงานได้ หลากหลายมากขึ้น รถยนต์อัตโนมัติ ไร้คนขับ โดรนขนส่งไร้คนขับ
  • 65. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o การวิเคราะห์ข้อมูลแบบเติมเต็ม (Augmented Analytics) เครื่องมือที่ช่วยการวิเคราะห์ข้อมูลได้รวดเร็วแม่นยา ข้อมูลเกิดความเติมเต็ม และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 66. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o ปัญญาประดิษฐ์ฝังตัว (Embedded AI-Artificial Intelligence) มีการนาปัญญาประดิษฐ์ (AI) ฝังไปกับระบบฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์หรือ การบริการต่าง ๆ ไปด้วย เพื่อช่วยในการปรับปรุงกระบวนการบริการ และพัฒนาให้รวดเร็วขึ้น
  • 67. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o แฝดดิจิทัล (Digital Twins) การนาเทคโนโลยีภาพเสมือนการทางานจริงของอุปกรณ์หรือระบบใด ๆ มาช่วยในการทางาน
  • 68. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o การเพิ่มขีดความสามารถ (Empowered Edge) อุปกรณ์ที่ผู้ใช้ปลายทางจะมีความสาคัญมากขึ้น และผู้ใช้จะมีบทบาทหรืออานาจ ในการใช้งานอุปกรณ์นั้น ๆ อย่างมีประโยชน์สูงสุด โดยอุปกรณ์ปลายทางจะมี ศักยภาพทั้งทางด้านการประมวลผล ความชาญฉลาด ความรวดเร็ว ประสิทธิภาพ ของซอฟต์แวร์ การใช้พลังงานต่าฟีเจอร์ต่าง ๆ ที่สร้างคุณค่า ในการใช้งานให้กับ ผู้ใช้ให้มากที่สุด
  • 69. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยีมิติซ้อน (Immersive Technology) เทคโนโลยีการซ้อนภาพ AR, MR และ VR จะถูกพัฒนาและนามาใช้กับมนุษย์ มากขึ้น
  • 70. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain Technology) เทคโนโลยีบล็อกเชนจะถูกนาไปใช้ในวงการธุรกิจการเงิน หลักทรัพย์และขยาย ไปในวงการของรัฐบาล ระบบสาธารณสุข อุตสาหกรรม และระบบห่วงโซ่ อุปทาน และวงการอื่น ๆ
  • 71. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o สมาร์ตสเปซ (Smart Spaces) เป็นการใช้เทคโนโลยีจากระบบบล็อกเชนและแฝดดิจิทัลสร้างให้ระบบการจัดการ พื้นที่ทั้งเป็นพื้นที่จริงหรือพื้นที่เสมือนได้มีผู้ใช้มาใช้งานหรือใช้ประโยชน์จากพื้นที่ นั้นได้เต็มประสิทธิภาพและมีความหลากหลาย ซึ่งหลักการของพื้นที่สมาร์ตสเปซนั้น (Smart Spaces) เป็นที่มาของ เมืองสมาร์ต (Smart City) ในอนาคต
  • 72. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o จริยธรรมและความเป็นส่วนตัวเชิงดิจิทัล (Digital Ethics and Privacy) การพัฒนาหลักเกณฑ์หรือระเบียบปฏิบัติการคุ้มครอง ข้อมูลทางดิจิทัล ให้มีความน่าเชื่อถือและสอดคล้องกับหลักจริยธรรมด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว ซึ่งแต่ละบริษัทหรือภาครัฐก็มีการเร่งพัฒนาระบบการป้องกันและกระบวนการป้องกัน การละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 73. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o การคานวณประมวลผลแบบควอนตัม (Quantum Computing) เป็นการใช้คุณสมบัติของอนุภาคย่อยภายในอะตอม (Subatom) ซึ่งจะแทนค่า ของข้อมูลแทนที่จะเป็น 0 กับ 1 ในเชิงดิจิทัล แต่จะให้ค่าข้อมูลเรียกว่า ควอนตัมบิต (Qubits) ซึ่งทาให้การประมวลผลแบบควอนตัมมีความสามารถในการประมวลผล ได้เร็วกว่าการประมวลผลแบบดั้งเดิมหลายร้อยเท่าหรือมากกว่าพันเท่า
  • 75. นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน หน้าคาตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 1. ข้อใดคือข้อเสียของบล็อกเชน แชร์ข้อมูลสู่สาธารณะ1 ความซับซ้อนของระบบ2 ข้อมูลที่จัดเก็บมีความปลอดภัย3 ความพร้อมที่จะให้ตรวจสอบบัญชี4 ทางานแบบอัตโนมัติ โดยมีโปรแกรมย่อย ที่ป้องกันการเขียนข้อมูลซ้าซ้อน 5 เฉลย  เพราะข้อเสียของบล็อกเชน คือมีความซับซ้อนของระบบ 2
  • 76. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2. ข้อใดไม่ใช่แอปพลิเคชันที่ใช้สาหรับเทคโนโลยีด้านธุรกรรมการเงิน PayPal1 Easy Pass2 Messenger3 Rabbit Line Pay4 TrueMoney Wallet5 เฉลย  เพราะ Messenger เป็นแอปพลิเคชันที่ใช้ติดต่อสื่อสาร บนอินเทอร์เน็ต3
  • 77. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 3. ข้อใดไม่ใช่เทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีชีวภาพด้านสิ่งแวดล้อม1 เทคโนโลยีภูมิปัญญาด้านสิ่งแวดล้อม2 เทคโนโลยีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม3 เทคโนโลยีที่นาสารพิษเข้ามาเป็นตัวช่วย4 เทคโนโลยีที่ใช้ควบคุมและบาบัดมลพิษ5 เฉลย  เพราะเป็นเทคโนโลยีที่ทาลายสิ่งแวดล้อมทาลายคุณภาพดิน และทาให้ผลิตปนเปื้อนสารพิษที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ 4
  • 78. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 4. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของหุ่นยนต์ ภาพสามมิติ1 อุปกรณ์แสดงผล2 เซนเซอร์ตรวจจับต่าง ๆ3 ระบบซอฟต์แวร์ปฏิบัติการ4 กลไกทางกลเพื่อการเคลื่อนไหว5 1 เฉลย  เพราะองค์ประกอบของหุ่นยนต์มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. เซนเซอร์หรืออุปกรณ์ตรวจจับต่าง ๆ 2. กลไกทางกลเพื่อการเคลื่อนไหว 3. อุปกรณ์แสดงผล 4. ระบบสื่อสาร 5. ระบบซอฟต์แวร์ปฏิบัติการ
  • 79. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 5. ข้อใดเป็นการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในด้านอุตสาหกรรม ภาพสดของการจราจร1 ภาพสตรีมสดด้านการขนส่ง2 การพัฒนาระบบสมาร์ตฟาร์ม3 การรายงานข่าวสารสารสนเทศ4 ภาพถ่ายทอดสดการทางานของเครื่องจักร55 เฉลย  เพราะเป็นการใช้เทคโนโลยีในด้านอุตสาหกรรม โดยการถ่ายทอดสดการทางานของเครื่องจักร
  • 80. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 6. องค์ประกอบของนวัตกรรมมีกี่องค์ประกอบ 2 องค์ประกอบ1 3 องค์ประกอบ2 4 องค์ประกอบ3 5 องค์ประกอบ4 6 องค์ประกอบ5 2 เฉลย  เพราะองค์ประกอบของนวัตกรรมมี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. ความใหม่ 2. ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ 3. การใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์
  • 81. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 7. คาว่า “นวัตกรรม” มาจากภาษาอังกฤษคาใด Innovate1 Innovation2 Teacher assistant3 Economic Benefits4 Instructional Materials5 เฉลย  เพราะ Innovation หมายถึง นวัตกรรม 2
  • 82. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 8. ข้อใดคือความหมายของคาว่า “เทคโนโลยีระดับเบื้องต้น” สามารถหาได้ทุกที่ไม่มีขีดจากัด1 ต้องซื้ออุปกรณ์ และทักษะการใช้งานจากต่างประเทศ2 ต้องซื้อจากต่างประเทศ แต่สามารถพัฒนาได้ภายในประเทศ3 ต้องซื้ออุปกรณ์จากต่างประเทศ แต่สามารถใช้งานโดยคนไทย4 สามารถจัดหาได้ภายในประเทศ หรือสามารถพัฒนาขึ้นได้ ภายในระยะเวลาอันสั้น 55 เฉลย  เพราะเทคโนโลยีระดับเบื้องต้นสามารถจัดหาได้ภายในประเทศ หรือพัฒนาขึ้นได้ภายในระยะเวลาอันสั้น
  • 83. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9. ข้อใดเป็นอุปกรณ์ที่เป็นเทคโนโลยีระดับสูง โทรทัศน์1 เครื่องเสียง2 คอมพิวเตอร์3 ระบบคมนาคม4 โทรศัพท์เคลื่อนที่5 เฉลย  เพราะระบบคมนาคม ต้องซื้ออุปกรณ์และทักษะ การใช้งานจากต่างประเทศ 4
  • 84. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 10. ระดับของเทคโนโลยีมีทั้งหมดกี่ระดับ 2 ระดับ1 3 ระดับ2 4 ระดับ3 5 ระดับ4 6 ระดับ5 3 เฉลย  เพราะระดับของเทคโนโลยีมี 4 ระดับ ได้แก่ 1. เทคโนโลยีระดับเบื้องต้น 2. เทคโนโลยีระดับกลาง 3. เทคโนโลยีระดับสูง 4. เทคโนโลยีระดับสูงมาก