SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ความหมายภาษา C
ภาษาซี (C Programming Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ใช้สาหรับพัฒนาโปรแกรมทั่วไป
ถูกพัฒนาครั้งแรกเพื่อใช้เป็นภาษาสาหรับพัฒนาระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ( Unix Opearating System)
แทนภาษาแอสเซมบลี ซึ่งเป็นภาษาระดับต่าที่สามารถกระทาในระบบฮาร์ดแวร์ได้ด้วยความรวดเร็ว แต่
จุดอ่อนของภาษาแอซเซมบลีก็คือความยุ่งยากในการโปรแกรม ความเป็นเฉพาะตัว และความแตกต่างกัน
ไปในแต่ละเครื่อง เดนนิส ริตชี (Dennis Ritchie) จึงได้คิดค้นพัฒนาภาษาใหม่นี้ขึ้นมาเมื่อประมาณต้นปี
ค.ศ. 1970 โดยการรวบรวมเอาจุดเด่นของแต่ละภาษาระดับสูงผนวกเข้ากับภาษาระดับต่า เรียกชื่อว่า
ภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ส่วนที่ 1 ส่วนหัว (header)
ส่วนหัวเป็นส่วนที่ระบุซีคอมไพเลอร์เตรียมการทางานที่กาหนดในส่วนนี้ไว้โดยหน้าคาสั่งจะมี
เครื่องหมาย # ตัวอย่าง
# include <stdio.h>
หมายถึง เป็นการระบุให้นาไฟล์ stdio.h มารวมกับไฟล์นี้ เพื่อที่จะสามารถใช้คาสั่งที่อยู่ในไฟล์นี้
มาใช้งานได้
# define START 0
หมายถึง เป็นการกาหนดค่าคงที่ให้กับตัวแปร START โดยให้มีค่าเป็น 0
# define temp 37
หมายถึง เป็นการกาหนดให้ตัวแปร temp มีค่าเท่ากับ 37
ส่วนที่ 2 ประกาศตัวแปร (Declaration)
ส่วนประกาศตัวแปร เป็นการกาหนดชนิดข้อมูลที่จะใช้ในโปรแกรม ซึ่งตัวแปร หรือข้อมูลต่างๆ
นั้นจะถูกประกาศ(Declare) ในส่วนนี้ก่อน จึงจะสามารถนาไปใช้ในโปรแกรมได้ดังตัวอย่าง
int stdno;
หมายถึง เป็นตัวกาหนดว่าตัวแปร stdno เป็นชนิดข้อมูลจานวนเต็ม integer ซึ่งอาจได้แก่ค่า
0,4,-1,-3,...เป็นต้น
float score;
หมายถึง เป็นการกาหนดว่าตัวแปร score เป็นข้อมูลชนิดเลขมีจุดทศนิยม(floating point) ซึ่ง
อาจมีค่า 0.23, 1.34, -21.002,….เป็นต้น
ส่วนที่ 3 ส่วนตัวคาสั่ง (Boddy)
ส่วนตัวคาสั่ง คือส่วนของโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยฟังก์ชัน main () แล้วใส่เครื่องหมาย
กาหนดขอบเขตเริ่มต้นของตัวโปรแกรมคือ { หลังจากนั้นใส่คาสั่งหรือฟังก์ชันต่างๆโดยแต่ล่ะคาสั่งหรือ
ฟังก์ชันนั้นๆ จะต้องปิดด้วยเครื่องหมาย ; เมื่อต้องการจบโปรแกรมให้ใส่เครื่องหมาย } ดังตัวอย่าง
main ()
{ /*เริ่มต้นโปรแกรม*/
คาสั่งต่างๆ ;
ฟังก์ชั่น ;
....................
.....................
}/*จบโปรแกรม*/
ตัวอย่างคาสั่ง
1:
#include <stdio.h>
2:
void main()
3:
{
4:
clrscr();
5:
printf("My name is Naphat");
6:
}
ผลลัพธ์ของโปรแกรม
My name is Naphat

More Related Content

Similar to ภาษา C

น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้วManeerat Artgeaw
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซีnutty_npk
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJiranan Thongrit
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJiranan Thongrit
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18noo Carzy
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานBaramee Chomphoo
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Tanadon Boonjumnong
 
ความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCWittaya Kaewchat
 

Similar to ภาษา C (20)

ความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซีความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซี
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
ภาษาซ๊ (C)
ภาษาซ๊ (C)ภาษาซ๊ (C)
ภาษาซ๊ (C)
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
Computer Language
Computer LanguageComputer Language
Computer Language
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาC
 

ภาษา C

  • 1. ความหมายภาษา C ภาษาซี (C Programming Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ใช้สาหรับพัฒนาโปรแกรมทั่วไป ถูกพัฒนาครั้งแรกเพื่อใช้เป็นภาษาสาหรับพัฒนาระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ( Unix Opearating System) แทนภาษาแอสเซมบลี ซึ่งเป็นภาษาระดับต่าที่สามารถกระทาในระบบฮาร์ดแวร์ได้ด้วยความรวดเร็ว แต่ จุดอ่อนของภาษาแอซเซมบลีก็คือความยุ่งยากในการโปรแกรม ความเป็นเฉพาะตัว และความแตกต่างกัน ไปในแต่ละเครื่อง เดนนิส ริตชี (Dennis Ritchie) จึงได้คิดค้นพัฒนาภาษาใหม่นี้ขึ้นมาเมื่อประมาณต้นปี ค.ศ. 1970 โดยการรวบรวมเอาจุดเด่นของแต่ละภาษาระดับสูงผนวกเข้ากับภาษาระดับต่า เรียกชื่อว่า ภาษาซี
  • 2. โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี ส่วนที่ 1 ส่วนหัว (header) ส่วนหัวเป็นส่วนที่ระบุซีคอมไพเลอร์เตรียมการทางานที่กาหนดในส่วนนี้ไว้โดยหน้าคาสั่งจะมี เครื่องหมาย # ตัวอย่าง # include <stdio.h> หมายถึง เป็นการระบุให้นาไฟล์ stdio.h มารวมกับไฟล์นี้ เพื่อที่จะสามารถใช้คาสั่งที่อยู่ในไฟล์นี้ มาใช้งานได้ # define START 0 หมายถึง เป็นการกาหนดค่าคงที่ให้กับตัวแปร START โดยให้มีค่าเป็น 0 # define temp 37 หมายถึง เป็นการกาหนดให้ตัวแปร temp มีค่าเท่ากับ 37 ส่วนที่ 2 ประกาศตัวแปร (Declaration) ส่วนประกาศตัวแปร เป็นการกาหนดชนิดข้อมูลที่จะใช้ในโปรแกรม ซึ่งตัวแปร หรือข้อมูลต่างๆ นั้นจะถูกประกาศ(Declare) ในส่วนนี้ก่อน จึงจะสามารถนาไปใช้ในโปรแกรมได้ดังตัวอย่าง int stdno; หมายถึง เป็นตัวกาหนดว่าตัวแปร stdno เป็นชนิดข้อมูลจานวนเต็ม integer ซึ่งอาจได้แก่ค่า
  • 3. 0,4,-1,-3,...เป็นต้น float score; หมายถึง เป็นการกาหนดว่าตัวแปร score เป็นข้อมูลชนิดเลขมีจุดทศนิยม(floating point) ซึ่ง อาจมีค่า 0.23, 1.34, -21.002,….เป็นต้น ส่วนที่ 3 ส่วนตัวคาสั่ง (Boddy) ส่วนตัวคาสั่ง คือส่วนของโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยฟังก์ชัน main () แล้วใส่เครื่องหมาย กาหนดขอบเขตเริ่มต้นของตัวโปรแกรมคือ { หลังจากนั้นใส่คาสั่งหรือฟังก์ชันต่างๆโดยแต่ล่ะคาสั่งหรือ ฟังก์ชันนั้นๆ จะต้องปิดด้วยเครื่องหมาย ; เมื่อต้องการจบโปรแกรมให้ใส่เครื่องหมาย } ดังตัวอย่าง main () { /*เริ่มต้นโปรแกรม*/ คาสั่งต่างๆ ; ฟังก์ชั่น ; .................... ..................... }/*จบโปรแกรม*/
  • 4. ตัวอย่างคาสั่ง 1: #include <stdio.h> 2: void main() 3: { 4: clrscr(); 5: printf("My name is Naphat"); 6: } ผลลัพธ์ของโปรแกรม My name is Naphat