SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
8.2 ชนิดของโครงสร้างแบ่งออกเป็น3ชนิดคือ
8.2.1 โครงหลังคา (Roof Truss)
8.2.2 โครงสะพาน (Bridge Truss)
8.2.3 เสา และคาน (Column and Beam)
8.2.1 โครงหลังคา (Roof Truss) มีประโยชน์คือใช้ในการรับน้าหนักอุปกรณ์มุงหลังคา เช่น กระเบื้อง สังกะสี แป
วัสดุกันความร้อน ฝ้าเพดาน และน้าหนักของโครงหลังคาสามารถแบ่ง
ออกเป็นหลายชนิด เช่น
- Cambered
- Crescent
- Cantilever
- Howe
- Bow string
- Fan Fink
- Warren
- Pratt
- Grandstand
- Fink
- Compound Fink
- Grambrel
- Three Hinged Arch
- Grandstand
- Tranverse Bent
- Truss with moniter
โครงหลังคาแบบต่างๆที่ใช้กับอาคารบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
-โครงหลังคาแบบชัน(Pitched Truss) เหมาะสาหรับใช้กับอาคารพักอาศัย เช่นแบบ Pratt , Howe , Fink , Bow strink
-โครงหลังคาแบบแบน(Flat Truss)เป็นโครงแบบกว้างเหมาะสาหรับโครงหลังคาโรงงานอุตสาหกรรม เช่น แบบ ตัว
W (Platt)และ ตัว M (Howe) แบบฟันปลา(Warren- Howe) ดังรูป
รูปที่ 8.4 แสดงภาพโครงหลังคา(R00f Truss)แบบต่างๆ
รูปที่ 8.5 แสดงภาพโครงหลังคา (R00f Truss) แบบต่างๆ
โครงหลังคาแบบโครงชันแบบ Patt และแบบ Howe ในการเขียนแบบจะแบ่งส่วนช่วงย่อยในแนวดิ่งให้มีขนาดความ
กว้างเท่ากัน
แบบ Fink เหมาะสาหรับโครงหลังคาที่มีความสูงมากต้องแบ่งช่วงย่อยเท่าๆกันที่จันทันแล้วลากเส้นตั้งฉากออกไปพบ
กับขื่อ
แบบBow strink สาหรับอาคารที่ต้องการให้หลังคามีส่วนโค้งการเขียนแบบต้องแบ่งส่วนย่อยในแนวดิ่งให้มีขนาด
เท่าๆกัน
รูปที่ 8.6 แสดงภาพโครงหลังคา (R00f Truss) แบบต่างๆ
รูปที่ 8.7 แสดงภาพโครงหลังคา (R00f Truss) แบบต่างๆ
รูปที่ 8.8 แสดงภาพโครงหลังคา (R00f Truss)
8.2.2โครงสะพาน (Bridge Truss) เป็นโครงสร้างที่รับน้าหนักของโครงสะพานเอง คาน พื้นสะพาน และน้าหนักของ
ยานพาหนะสามารถแบ่งออกเป็นหลายชนิดคือ
- Whipple
- K-Truss
- Warren
- Howe
- Pratt
- Warren with Vertical
- Parker
- Baltimore
- Pettit
- Sub-devided warren
โครงสร้างสะพานส่วนมากจะเป็นแบบแบนมีความยาวและรับน้าหนักมากในการเขียนแบบของโครงสร้างสะพานจะต้อง
แบ่งส่วนย่อยในแนวตั้งออกเป็นส่วนๆเท่าๆกันแล้วประกอบด้วยโครงถักเพื่อให้เกิดความแข็งแรงดังรูป
รูปที่ 8.9 แสดงภาพโครงสะพาน (Bridge Truss)
การเขียนแบบโครงสร้างสะพานแบบ Howe , Pratt , Warren จะมีโครงสร้างด้านบนและด้านล่างในแนวนอนขนานกันส่วน
โครงถักย่อยในแนวตั้งจะต้องแบ่งออกเป็นส่วนๆเท่าๆกันซึ่งลักษณะจะเป็นตัว M และตัว W ดังรูป
รูปที่ 8.10 แสดงภาพโครงสะพาน (Bridge Truss)
การเขียนแบบโครงสร้างสะพานแบบ Parker , Pettit จะมีโครงสร้างคานบนและคานล่างไม่ขนานกันจะเป็นลักษณะ
โดมส่วนประกอบย่อยในแนวดิ่งจะต้องแบ่งออกเป็นส่วนๆเท่าๆกันดังรูป
รูปที่ 8.11 แสดงภาพโครงสะพาน (Bridge Truss)
8.2.3 เสา (Column) เป็นโครงสร้างที่รองรับนาหนักโครงสร้างอื่นๆที่ใช้งานร่มกัน โดยเสาจะรับแรงอัดในแนวแกน
ซึ่งกระทาบริเวณส่วนปลายทั้งสองข้างของเสารูป (a) แสดงฐานของเสา รูป (b) แสดงการับแรงเค้นอัดของเสา รูป (c) แสดง
ส่วนประกอบของฐานเสา
รูปที่ 8.12 แสดงภาพการประกอบของฐานเสามาตรฐาน American standard beam
คาน (Beam) เป็นส่วนที่ทาหน้าที่รองรับน้าหนักแล้วถ่ายไปสู่เสาและช่วยยึดตรึงเสาทั้งหมดของโครงสร้างเข้า
ด้วยกัน เพื่อป้ องกันเสาเอียงการออกแบบคานต้องทนต่อโมเมนต์ดัดและแรงเฉือนการรับน้าหนักบรรทุกในแนวดิ่งคาน
ด้านบนจะถูกอัดส่วนด้านล่างจะถูกดึงคานมีหลายชนิด เช่น คานมีช่องเปิดในตัว คานโครงถัก และคานเหล็กประกอบ
รับแรงเค้นอัด
รูปที่ 8.13 แสดงภาพชิ้นส่วนของคานและเสามาตรฐาน American standard beam
คานเหล็กรูปพรรณสาเร็จรูปแบบตัว I ถูกออกแบบมาให้มีปีกทั้งสองด้านบนและด้านล่างสั้นกว่าตัวตั้งจึงเหมาะสาหรับ
ใช้ทาคานเพราะสามารถรับแรงกดจากทางด้านบนได้ดีคานรูปตัว H ถูกออกแบบให้มีปีกทั้งสองด้านเท่ากับตัวตั้งสามารถรับ
แรงกดจากทางด้านบนและรับแรงลมทางด้านข้างได้ดังรูป
รูปที่ 8.14 แสดงภาพการรับน้าหนักของคานมาตรฐาน American standard beam

More Related Content

What's hot

Pdfcoffee.com eurocode 8-calcul-sismique-pdf-free
Pdfcoffee.com eurocode 8-calcul-sismique-pdf-freePdfcoffee.com eurocode 8-calcul-sismique-pdf-free
Pdfcoffee.com eurocode 8-calcul-sismique-pdf-freeTouihriMohsen1
 
Introduction to Capacity-based Seismic Design
Introduction to Capacity-based Seismic DesignIntroduction to Capacity-based Seismic Design
Introduction to Capacity-based Seismic DesignFawad Najam
 
Design Procedure of Singly,Doubly & T-Beam(As Per ACI code)
Design Procedure of Singly,Doubly & T-Beam(As Per ACI code)Design Procedure of Singly,Doubly & T-Beam(As Per ACI code)
Design Procedure of Singly,Doubly & T-Beam(As Per ACI code)Jahidur Rahman
 
Aitc step by-step procedure for pbd of 40-story rc building_overall (20141105)
Aitc step by-step procedure for pbd of 40-story rc building_overall (20141105)Aitc step by-step procedure for pbd of 40-story rc building_overall (20141105)
Aitc step by-step procedure for pbd of 40-story rc building_overall (20141105)Ramil Artates
 
Ch5 Plate Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Me...
Ch5 Plate Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Me...Ch5 Plate Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Me...
Ch5 Plate Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Me...Hossam Shafiq II
 
Detailed design of portal frames
Detailed design of portal framesDetailed design of portal frames
Detailed design of portal frameskaran prabhakar
 
CE 72.52 - Lecture 5 - Column Design
CE 72.52 - Lecture 5 - Column DesignCE 72.52 - Lecture 5 - Column Design
CE 72.52 - Lecture 5 - Column DesignFawad Najam
 
Structure Analysis-Deflection using SAP2000
Structure Analysis-Deflection using  SAP2000Structure Analysis-Deflection using  SAP2000
Structure Analysis-Deflection using SAP2000Batoul Alshamali
 
Ch7 Box Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Metw...
Ch7 Box Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Metw...Ch7 Box Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Metw...
Ch7 Box Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Metw...Hossam Shafiq II
 
Beam and slab design
Beam and slab designBeam and slab design
Beam and slab designIvan Ferrer
 
Structure engineer slide share
Structure engineer slide shareStructure engineer slide share
Structure engineer slide shareChia Ting
 
Rcc structure design by etabs (acecoms)
Rcc structure design by etabs (acecoms)Rcc structure design by etabs (acecoms)
Rcc structure design by etabs (acecoms)Md. Shahadat Hossain
 
CE 72.32 (January 2016 Semester) Lecture 4 - Selection of Structural Systems
CE 72.32 (January 2016 Semester) Lecture 4 - Selection of Structural SystemsCE 72.32 (January 2016 Semester) Lecture 4 - Selection of Structural Systems
CE 72.32 (January 2016 Semester) Lecture 4 - Selection of Structural SystemsFawad Najam
 

What's hot (20)

Strut and Tie Model for Pile Cap
Strut and Tie Model for Pile CapStrut and Tie Model for Pile Cap
Strut and Tie Model for Pile Cap
 
Pdfcoffee.com eurocode 8-calcul-sismique-pdf-free
Pdfcoffee.com eurocode 8-calcul-sismique-pdf-freePdfcoffee.com eurocode 8-calcul-sismique-pdf-free
Pdfcoffee.com eurocode 8-calcul-sismique-pdf-free
 
Introduction to Capacity-based Seismic Design
Introduction to Capacity-based Seismic DesignIntroduction to Capacity-based Seismic Design
Introduction to Capacity-based Seismic Design
 
Design Procedure of Singly,Doubly & T-Beam(As Per ACI code)
Design Procedure of Singly,Doubly & T-Beam(As Per ACI code)Design Procedure of Singly,Doubly & T-Beam(As Per ACI code)
Design Procedure of Singly,Doubly & T-Beam(As Per ACI code)
 
detailing for steel construction
detailing for steel constructiondetailing for steel construction
detailing for steel construction
 
Aitc step by-step procedure for pbd of 40-story rc building_overall (20141105)
Aitc step by-step procedure for pbd of 40-story rc building_overall (20141105)Aitc step by-step procedure for pbd of 40-story rc building_overall (20141105)
Aitc step by-step procedure for pbd of 40-story rc building_overall (20141105)
 
Ch5 Plate Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Me...
Ch5 Plate Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Me...Ch5 Plate Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Me...
Ch5 Plate Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Me...
 
Design aids
Design aidsDesign aids
Design aids
 
Structural analysis 2
Structural analysis 2Structural analysis 2
Structural analysis 2
 
Detailed design of portal frames
Detailed design of portal framesDetailed design of portal frames
Detailed design of portal frames
 
Rc detailing-to-ec2
Rc detailing-to-ec2Rc detailing-to-ec2
Rc detailing-to-ec2
 
CE 72.52 - Lecture 5 - Column Design
CE 72.52 - Lecture 5 - Column DesignCE 72.52 - Lecture 5 - Column Design
CE 72.52 - Lecture 5 - Column Design
 
Structure Analysis-Deflection using SAP2000
Structure Analysis-Deflection using  SAP2000Structure Analysis-Deflection using  SAP2000
Structure Analysis-Deflection using SAP2000
 
Ch7 Box Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Metw...
Ch7 Box Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Metw...Ch7 Box Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Metw...
Ch7 Box Girder Bridges (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. Metw...
 
Beam and slab design
Beam and slab designBeam and slab design
Beam and slab design
 
Rigid frame systems
Rigid frame systemsRigid frame systems
Rigid frame systems
 
Structure engineer slide share
Structure engineer slide shareStructure engineer slide share
Structure engineer slide share
 
DESIGN OF FLAT SLABS
DESIGN OF FLAT SLABSDESIGN OF FLAT SLABS
DESIGN OF FLAT SLABS
 
Rcc structure design by etabs (acecoms)
Rcc structure design by etabs (acecoms)Rcc structure design by etabs (acecoms)
Rcc structure design by etabs (acecoms)
 
CE 72.32 (January 2016 Semester) Lecture 4 - Selection of Structural Systems
CE 72.32 (January 2016 Semester) Lecture 4 - Selection of Structural SystemsCE 72.32 (January 2016 Semester) Lecture 4 - Selection of Structural Systems
CE 72.32 (January 2016 Semester) Lecture 4 - Selection of Structural Systems
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

8 2

  • 1. 8.2 ชนิดของโครงสร้างแบ่งออกเป็น3ชนิดคือ 8.2.1 โครงหลังคา (Roof Truss) 8.2.2 โครงสะพาน (Bridge Truss) 8.2.3 เสา และคาน (Column and Beam) 8.2.1 โครงหลังคา (Roof Truss) มีประโยชน์คือใช้ในการรับน้าหนักอุปกรณ์มุงหลังคา เช่น กระเบื้อง สังกะสี แป วัสดุกันความร้อน ฝ้าเพดาน และน้าหนักของโครงหลังคาสามารถแบ่ง ออกเป็นหลายชนิด เช่น - Cambered - Crescent - Cantilever - Howe - Bow string - Fan Fink - Warren - Pratt - Grandstand - Fink - Compound Fink - Grambrel - Three Hinged Arch - Grandstand - Tranverse Bent - Truss with moniter โครงหลังคาแบบต่างๆที่ใช้กับอาคารบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ -โครงหลังคาแบบชัน(Pitched Truss) เหมาะสาหรับใช้กับอาคารพักอาศัย เช่นแบบ Pratt , Howe , Fink , Bow strink -โครงหลังคาแบบแบน(Flat Truss)เป็นโครงแบบกว้างเหมาะสาหรับโครงหลังคาโรงงานอุตสาหกรรม เช่น แบบ ตัว W (Platt)และ ตัว M (Howe) แบบฟันปลา(Warren- Howe) ดังรูป
  • 2. รูปที่ 8.4 แสดงภาพโครงหลังคา(R00f Truss)แบบต่างๆ รูปที่ 8.5 แสดงภาพโครงหลังคา (R00f Truss) แบบต่างๆ โครงหลังคาแบบโครงชันแบบ Patt และแบบ Howe ในการเขียนแบบจะแบ่งส่วนช่วงย่อยในแนวดิ่งให้มีขนาดความ กว้างเท่ากัน แบบ Fink เหมาะสาหรับโครงหลังคาที่มีความสูงมากต้องแบ่งช่วงย่อยเท่าๆกันที่จันทันแล้วลากเส้นตั้งฉากออกไปพบ กับขื่อ แบบBow strink สาหรับอาคารที่ต้องการให้หลังคามีส่วนโค้งการเขียนแบบต้องแบ่งส่วนย่อยในแนวดิ่งให้มีขนาด เท่าๆกัน
  • 3. รูปที่ 8.6 แสดงภาพโครงหลังคา (R00f Truss) แบบต่างๆ รูปที่ 8.7 แสดงภาพโครงหลังคา (R00f Truss) แบบต่างๆ
  • 4. รูปที่ 8.8 แสดงภาพโครงหลังคา (R00f Truss) 8.2.2โครงสะพาน (Bridge Truss) เป็นโครงสร้างที่รับน้าหนักของโครงสะพานเอง คาน พื้นสะพาน และน้าหนักของ ยานพาหนะสามารถแบ่งออกเป็นหลายชนิดคือ - Whipple - K-Truss - Warren - Howe - Pratt - Warren with Vertical - Parker - Baltimore - Pettit - Sub-devided warren โครงสร้างสะพานส่วนมากจะเป็นแบบแบนมีความยาวและรับน้าหนักมากในการเขียนแบบของโครงสร้างสะพานจะต้อง แบ่งส่วนย่อยในแนวตั้งออกเป็นส่วนๆเท่าๆกันแล้วประกอบด้วยโครงถักเพื่อให้เกิดความแข็งแรงดังรูป
  • 5. รูปที่ 8.9 แสดงภาพโครงสะพาน (Bridge Truss) การเขียนแบบโครงสร้างสะพานแบบ Howe , Pratt , Warren จะมีโครงสร้างด้านบนและด้านล่างในแนวนอนขนานกันส่วน โครงถักย่อยในแนวตั้งจะต้องแบ่งออกเป็นส่วนๆเท่าๆกันซึ่งลักษณะจะเป็นตัว M และตัว W ดังรูป
  • 6. รูปที่ 8.10 แสดงภาพโครงสะพาน (Bridge Truss) การเขียนแบบโครงสร้างสะพานแบบ Parker , Pettit จะมีโครงสร้างคานบนและคานล่างไม่ขนานกันจะเป็นลักษณะ โดมส่วนประกอบย่อยในแนวดิ่งจะต้องแบ่งออกเป็นส่วนๆเท่าๆกันดังรูป
  • 7. รูปที่ 8.11 แสดงภาพโครงสะพาน (Bridge Truss) 8.2.3 เสา (Column) เป็นโครงสร้างที่รองรับนาหนักโครงสร้างอื่นๆที่ใช้งานร่มกัน โดยเสาจะรับแรงอัดในแนวแกน ซึ่งกระทาบริเวณส่วนปลายทั้งสองข้างของเสารูป (a) แสดงฐานของเสา รูป (b) แสดงการับแรงเค้นอัดของเสา รูป (c) แสดง ส่วนประกอบของฐานเสา
  • 8. รูปที่ 8.12 แสดงภาพการประกอบของฐานเสามาตรฐาน American standard beam คาน (Beam) เป็นส่วนที่ทาหน้าที่รองรับน้าหนักแล้วถ่ายไปสู่เสาและช่วยยึดตรึงเสาทั้งหมดของโครงสร้างเข้า ด้วยกัน เพื่อป้ องกันเสาเอียงการออกแบบคานต้องทนต่อโมเมนต์ดัดและแรงเฉือนการรับน้าหนักบรรทุกในแนวดิ่งคาน ด้านบนจะถูกอัดส่วนด้านล่างจะถูกดึงคานมีหลายชนิด เช่น คานมีช่องเปิดในตัว คานโครงถัก และคานเหล็กประกอบ รับแรงเค้นอัด
  • 9. รูปที่ 8.13 แสดงภาพชิ้นส่วนของคานและเสามาตรฐาน American standard beam คานเหล็กรูปพรรณสาเร็จรูปแบบตัว I ถูกออกแบบมาให้มีปีกทั้งสองด้านบนและด้านล่างสั้นกว่าตัวตั้งจึงเหมาะสาหรับ ใช้ทาคานเพราะสามารถรับแรงกดจากทางด้านบนได้ดีคานรูปตัว H ถูกออกแบบให้มีปีกทั้งสองด้านเท่ากับตัวตั้งสามารถรับ แรงกดจากทางด้านบนและรับแรงลมทางด้านข้างได้ดังรูป