SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
โปรแกรมย่อย (Procedure) เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่
เฉพาะในแต่ละตัว โดยแยกการทางานออกจากโปรแกรมหลักอย่างอิสระ
การแยกโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ นี้มีข้อดีคือ
• ลดความซ้าซ้อนในการเขียนโปรแกรมในส่วนที่ทางานอย่างเดียวกัน ถ้า
นาโปรแกรมส่วนที่ต้องใช้ซ้าๆ มาทาเป็นโปรแกรมย่อยจะทาให้
โปรแกรมมีขนาดเล็กลง
• ช่วยให้ทาความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย เพราะมีการแบ่งเป็นส่วนย่อยๆ
• ทาให้สามารถแก้ไขและเพิ่มเติมการทางานของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
• ช่วยให้นาโปรแกรมที่สร้างไปใช้งานในโปรแกรมอื่นได้ถ้าในโปรแกรม
นั้นต้องการฟังก์ชันในการทางานที่เหมือนกัน
• โปรแกรมย่อย Sub มาจากคาว่า Subroutine – ซับรูทีนเป็นโปรแกรม
ย่อยที่เมื่อทางานอย่างหนึ่งเสร็จแล้วจะไม่มีการส่งผลการทางานกลับไป
ยังโปรแกรมที่เรียกใช้งานซับรูทีนนี้
- Private หรือ Public เป็นการประกาศขอบเขตว่าต้องการให้โปรแกรมย่อย
นี้มีขอบเขตอยู่ในเฉพาะในโมดูลนี้หรือทุกโมดูลในโปรเจ็กต์
- Exit Sub จะทาให้ออกจากโปรแกรมย่อยทันที
- End Sub เป็นคาสั่งที่บอกว่าจบการทางานของโปรแกรมย่อยนี้
• โปรแกรมย่อย Function เป็นโปรแกรมย่อยที่เมื่อทางานเสร็จแล้วจะ
คืนผลลัพธ์ที่ได้จากการทางานกลับไปยังโปรแกรมที่เรียกใช้งานฟังก์ชันนี้
- Private หรือ Public เป็นการประกาศขอบเขตว่าต้องการให้โปรแกรม
ย่อยนี้มีขอบเขตอยู่ในเฉพาะในโมดูลนี้หรือทุกโมดูลในโปรเจ็กต์
- Exit Function เป็นคาสั่งให้ออกจากโปรแกรมย่อยทันที
- End Function เป็นคาสั่งที่บอกว่าจบการทางานของโปรแกรมย่อยนี้
- As Type ใช้กาหนดชนิดข้อมูลที่ฟังก์ชันส่งกลับมาให้โปรแกรมหลัก
1.ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ใน header file
ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้ มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ เมื่อต้องการใช้ฟังก์ชันใด
จะต้องรู้ว่าฟังก์ชันนั้นอยู่ใน header file ใดจากนั้นจึงค่อยใช้คาสั่ง #include
เข้ามาในส่วนตอนต้นของโปรแกรม จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันที่ต้องการได้
ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานเป็นฟังก์ชันที่บริษัทผู้ผลิต C compiler เขียนขึ้น
เพื่อให้ผู้ใช้นาไปช่วยในการเขียนโปรแกรมทาให้การเขียนโปรแกรมสะดวก
และง่ายขึ้น บางครั้งเราอาจจะเรียกฟังก์ชันมาตรฐานว่า ”ไลบรารีฟังก์ชัน”
(library functions)
1.1 ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematic functions)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนที่
จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้คาสั่ง #include แทรกอยู่ตอนต้นของ
โปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องมีชนิด (type)
เป็น double เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากฟังก์ชันประเภทนี้จะได้ค่า
ส่งกลับของข้อมูลเป็น double เช่นกัน
1) ฟังก์ชัน acos(x)เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arc cosine ของ x
โดยที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน (radian) มีรูปแบบ acos(x);
2) ฟังก์ชัน asin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arc sine ของ x
โดยที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน มีรูปแบบ asin(x);
3) ฟังก์ชัน atan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arc tan ของ x โดยที่ x เป็นค่า
มุมในหน่วยเรเดียน มีรูปแบบatan(x);
4) ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า sine ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุมใน
หน่วยเรเดียนรูปแบบsin(x);
5) ฟังก์ชัน cos(x)เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า cosine ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุม
ในหน่วยเรเดียน มีรูปแบบcos(x);
6) ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า tan ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุมใน
หน่วยเรเดียนรูปแบบtan(x);
7) ฟังก์ชัน sqrt(x)เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่ารากที่ 2 (square root) ของค่าคงที่หรือ
ตัวแปร x โดยที่ x จะต้องเป็นค่าคงที่ชนิดตัวเลขหรือตัวแปรที่มีค่าไม่ติดลบ
รูปแบบsqrt(x);
8) ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปร
ที่จะใช้เป็นค่ายกกาลังของ e โดยที่ e มีค่าประมาณ 2.718282รูปแบบexp(x);
9) ฟังก์ชัน pow(x,y)เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy โดยที่
x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นตัวฐานซึ่งจะต้องมีค่ามากกว่าศูนย์
y เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ายกกาลัง
รูปแบบ pow(x, y);
10) ฟังก์ชัน log(x)เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n (natural logarithm)
ของค่าคงที่หรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้
รูปแบบlog(x);
11) ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10 ของค่าคงที่หรือตัวแปร x
โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้รูปแบบlog10(x);
12) ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของตัวแปร x ถ้า x
เป็นตัวเลขจานวนทศนิยม แต่ถ้า x เป็นเลขจานวนเต็มจะไม่มีการปัดเศษทศนิยม
รูปแบบceil(x);
13) ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x ถ้า x
เป็นตัวเลขจานวนทศนิยม แต่ถ้า x เป็นเลขจานวนเต็มจะไม่มีการตัดเศษทศนิยม
ทิ้ง
รูปแบบfloor(x);
14. ฟังก์ชัน fabs(x)เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสัมบูรณ์ (absolute value) ของค่าคงที่
หรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่เก็บค่าตัวเลขจุดทศนิยมที่มีค่าบวก
หรือลบก็ได้ รูปแบบfabs(x);
1.2 ฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร (character functions)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลที่มีชนิดเป็น single char (ใช้เนื้อที่ 1 byte)
เท่านั้น และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง #include แทรกอยู่
ตอนต้นของโปรแกรม จึงจะสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้
ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับตัวอักษรที่ควรทราบ มีดังนี้
1) ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัว
แปร ch เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข (letter or digit) ถ้าข้อมูลที่เก็บไว้เป็น
ตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะส่งค่ากลับที่เป็นจานวนเต็มที่มีค่าไม่เท่ากับศูนย์มายัง
ฟังก์ชัน และถ้าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ไม่ได้เก็บตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะ
ส่งค่ากลับที่มีค่าเป็นศูนย์มายังฟังก์ชัน
รูปแบบisalnum(ch);
2) ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัว
แปร ch เป็นตัวอักษร (letter) หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลข
จานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับมาเป็นเลขศูนย์
(0)รูปแบบisalpha(ch);
3) ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร
ch เป็นตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขจานวน
เต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะไม่มีการส่งค่ากลับ
รูปแบบisdigit(ch);
4) ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัว
แปร ch เป็นตัวอักษรตัวเล็กหรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจานวนเต็มที่
ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0)
รูปแบบislower(ch);
5) ฟังก์ชัน isupper(ch)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น
ตัวอักษรตัวใหญ่หรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่
เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0)
รูปแบบisupper(ch);
6) ฟังก์ชัน tolower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ที่
เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้เป็นอักษรตัวเล็ก
รูปแบบtolower(ch);
7) ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กที่
เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้เป็นอักษรตัวใหญ่
รูปแบบtoupper(ch);
1.3 ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง (string functions)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลชนิดสตริง (string) โดยก่อนที่จะใช้ฟังก์ชัน
ประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง #include แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรมเสียก่อน จึง
จะเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้
1. ฟังก์ชัน strlen( ) เป็นฟังก์ที่ใช้นับความยาวของค่าคงที่สตริง หรือตัวแปร
สตริงรูปแบบการใช้strlen(string variable); หรือstrlen(“string constant”);
2. ฟังก์ชัน strcmp( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปรียบเทียบข้อมูลชนิดสตริง 2 ค่า ว่ามีค่า
เท่ากัน หรือมากกว่า หรือน้อยกว่าอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งการเปรียบเทียบสตริงจะ
ใช้ค่ารหัส ASCII เปรียบเทียบทีละตัวอักขระ
รูปแบบการใช้strcmp(str1var, str2var);หรือstrcmp(str1constant,
str2constant);
3. ฟังก์ชัน strcpy( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คัดลอกข้อมูลจาก string ค่า
หนึ่งไปยัง string อีกค่าหนึ่ง รูปแบบที่ใช้strcpy(str2, str1);
4. ฟังก์ชัน strcat( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เชื่อมค่าคงที่ชนิดสตริง 2 ค่า
เข้าด้วยกัน โดยผลลัพธ์จะเก็บเอาไว้ในตัวแปรสตริงตัวแรกเสมอ
รูปแบบการใช้strcat(str1,str2);
จะกล่าวเฉพาะฟังก์ชันที่ใช้บ่อย ๆ เท่านั้น ซึ่งมีฟังก์ชันดังนี้
1)ฟังก์ชัน clrscr( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการลบข้อมูลออกจากจอภาพแบบ
text mode
รูปแบบclrscr( );
2) ฟังก์ชัน gotoxy(x,y)เป็นฟังก์ชันที่ใช้คาสั่งให้ตัวชี้ตาแหน่ง (cursor)
เคลื่อนที่ไปยังตาแหน่งที่ระบุไว้บนจอภาพ
รูปแบบgotoxy(x,y );
โดยที่
x คือ ตาแหน่ง column บนจอมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 79 ส่วน column ที่ 80 สงวนไว้
y คือ ตาแหน่ง row บนจอภาพมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 24 ส่วน row ที่ 25 สงวนไว้
1.4 ฟังก์ชันทั่วไปที่ใช้งานบ่อย ๆ
3) ฟังก์ชัน clreol( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความในบรรทัดที่ตัว cursor อยู่
โดยลบข้อความถัดจากตาแหน่งของ cursor ไปจนกระทั่งจบบรรทัด
รูปแบบclreol( );
4) ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจานวน
เต็มชนิด long integer ที่สามารถนาไปใช้คานวณได้
รูปแบบatol(s);
https://nemo2475.wordpress.com/
สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)

More Related Content

What's hot

4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซีmansuang1978
 
โครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานโครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานChittraporn Phalao
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)Kroopop Su
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน Kanchana Theugcharoon
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานchanamanee Tiya
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSarocha Makranit
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน9inglobin
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาsupatra178
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2tyt13
 
ฟังก์ชันอินเวอร์ส
ฟังก์ชันอินเวอร์สฟังก์ชันอินเวอร์ส
ฟังก์ชันอินเวอร์สY'Yuyee Raksaya
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานChess
 

What's hot (19)

งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
โครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานโครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงาน
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
ฟังก์ชันอินเวอร์ส
ฟังก์ชันอินเวอร์สฟังก์ชันอินเวอร์ส
ฟังก์ชันอินเวอร์ส
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 

Similar to โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานPrapatsorn Keawnoun
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน ม.6/2
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน ม.6/2 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน ม.6/2
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน ม.6/2 Wasin Kunnaphan
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานWasin Kunnaphan
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมIce Ice
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1Latcha MaMiew
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นParn Nichakorn
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1nitchakan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6Tom Nuntiya
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานchanamanee Tiya
 

Similar to โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1) (20)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
Presenter
PresenterPresenter
Presenter
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
Mindmapping
MindmappingMindmapping
Mindmapping
 
Mindmapping
MindmappingMindmapping
Mindmapping
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน ม.6/2
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน ม.6/2 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน ม.6/2
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน ม.6/2
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 

More from Boonwiset Seaho

รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม IsBoonwiset Seaho
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม IsBoonwiset Seaho
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม IsBoonwiset Seaho
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม IsBoonwiset Seaho
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องBoonwiset Seaho
 
บทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำบทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำBoonwiset Seaho
 
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานบทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานBoonwiset Seaho
 
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานบทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานBoonwiset Seaho
 
บทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำบทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำBoonwiset Seaho
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องBoonwiset Seaho
 
งานนำเสนอ Is3
งานนำเสนอ Is3งานนำเสนอ Is3
งานนำเสนอ Is3Boonwiset Seaho
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาBoonwiset Seaho
 

More from Boonwiset Seaho (18)

It news
It newsIt news
It news
 
It news 1
It news 1It news 1
It news 1
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำบทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำ
 
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานบทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
 
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานบทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
 
บทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำบทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำ
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
งานนำเสนอ Is3
งานนำเสนอ Is3งานนำเสนอ Is3
งานนำเสนอ Is3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
It news
It newsIt news
It news
 
It news
It newsIt news
It news
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
 
Google glass
Google glassGoogle glass
Google glass
 

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)

  • 1.
  • 2. โปรแกรมย่อย (Procedure) เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่ เฉพาะในแต่ละตัว โดยแยกการทางานออกจากโปรแกรมหลักอย่างอิสระ การแยกโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ นี้มีข้อดีคือ • ลดความซ้าซ้อนในการเขียนโปรแกรมในส่วนที่ทางานอย่างเดียวกัน ถ้า นาโปรแกรมส่วนที่ต้องใช้ซ้าๆ มาทาเป็นโปรแกรมย่อยจะทาให้ โปรแกรมมีขนาดเล็กลง • ช่วยให้ทาความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย เพราะมีการแบ่งเป็นส่วนย่อยๆ • ทาให้สามารถแก้ไขและเพิ่มเติมการทางานของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น • ช่วยให้นาโปรแกรมที่สร้างไปใช้งานในโปรแกรมอื่นได้ถ้าในโปรแกรม นั้นต้องการฟังก์ชันในการทางานที่เหมือนกัน
  • 3. • โปรแกรมย่อย Sub มาจากคาว่า Subroutine – ซับรูทีนเป็นโปรแกรม ย่อยที่เมื่อทางานอย่างหนึ่งเสร็จแล้วจะไม่มีการส่งผลการทางานกลับไป ยังโปรแกรมที่เรียกใช้งานซับรูทีนนี้ - Private หรือ Public เป็นการประกาศขอบเขตว่าต้องการให้โปรแกรมย่อย นี้มีขอบเขตอยู่ในเฉพาะในโมดูลนี้หรือทุกโมดูลในโปรเจ็กต์ - Exit Sub จะทาให้ออกจากโปรแกรมย่อยทันที - End Sub เป็นคาสั่งที่บอกว่าจบการทางานของโปรแกรมย่อยนี้
  • 4. • โปรแกรมย่อย Function เป็นโปรแกรมย่อยที่เมื่อทางานเสร็จแล้วจะ คืนผลลัพธ์ที่ได้จากการทางานกลับไปยังโปรแกรมที่เรียกใช้งานฟังก์ชันนี้ - Private หรือ Public เป็นการประกาศขอบเขตว่าต้องการให้โปรแกรม ย่อยนี้มีขอบเขตอยู่ในเฉพาะในโมดูลนี้หรือทุกโมดูลในโปรเจ็กต์ - Exit Function เป็นคาสั่งให้ออกจากโปรแกรมย่อยทันที - End Function เป็นคาสั่งที่บอกว่าจบการทางานของโปรแกรมย่อยนี้ - As Type ใช้กาหนดชนิดข้อมูลที่ฟังก์ชันส่งกลับมาให้โปรแกรมหลัก
  • 5. 1.ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions) เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้ มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ เมื่อต้องการใช้ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่าฟังก์ชันนั้นอยู่ใน header file ใดจากนั้นจึงค่อยใช้คาสั่ง #include เข้ามาในส่วนตอนต้นของโปรแกรม จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันที่ต้องการได้ ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานเป็นฟังก์ชันที่บริษัทผู้ผลิต C compiler เขียนขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้นาไปช่วยในการเขียนโปรแกรมทาให้การเขียนโปรแกรมสะดวก และง่ายขึ้น บางครั้งเราอาจจะเรียกฟังก์ชันมาตรฐานว่า ”ไลบรารีฟังก์ชัน” (library functions)
  • 6. 1.1 ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematic functions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนที่ จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้คาสั่ง #include แทรกอยู่ตอนต้นของ โปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องมีชนิด (type) เป็น double เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากฟังก์ชันประเภทนี้จะได้ค่า ส่งกลับของข้อมูลเป็น double เช่นกัน 1) ฟังก์ชัน acos(x)เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arc cosine ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน (radian) มีรูปแบบ acos(x); 2) ฟังก์ชัน asin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arc sine ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน มีรูปแบบ asin(x);
  • 7. 3) ฟังก์ชัน atan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arc tan ของ x โดยที่ x เป็นค่า มุมในหน่วยเรเดียน มีรูปแบบatan(x); 4) ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า sine ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุมใน หน่วยเรเดียนรูปแบบsin(x); 5) ฟังก์ชัน cos(x)เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า cosine ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุม ในหน่วยเรเดียน มีรูปแบบcos(x); 6) ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า tan ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุมใน หน่วยเรเดียนรูปแบบtan(x); 7) ฟังก์ชัน sqrt(x)เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่ารากที่ 2 (square root) ของค่าคงที่หรือ ตัวแปร x โดยที่ x จะต้องเป็นค่าคงที่ชนิดตัวเลขหรือตัวแปรที่มีค่าไม่ติดลบ รูปแบบsqrt(x);
  • 8. 8) ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปร ที่จะใช้เป็นค่ายกกาลังของ e โดยที่ e มีค่าประมาณ 2.718282รูปแบบexp(x); 9) ฟังก์ชัน pow(x,y)เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นตัวฐานซึ่งจะต้องมีค่ามากกว่าศูนย์ y เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ายกกาลัง รูปแบบ pow(x, y); 10) ฟังก์ชัน log(x)เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n (natural logarithm) ของค่าคงที่หรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้ รูปแบบlog(x);
  • 9. 11) ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10 ของค่าคงที่หรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้รูปแบบlog10(x); 12) ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของตัวแปร x ถ้า x เป็นตัวเลขจานวนทศนิยม แต่ถ้า x เป็นเลขจานวนเต็มจะไม่มีการปัดเศษทศนิยม รูปแบบceil(x); 13) ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x ถ้า x เป็นตัวเลขจานวนทศนิยม แต่ถ้า x เป็นเลขจานวนเต็มจะไม่มีการตัดเศษทศนิยม ทิ้ง รูปแบบfloor(x); 14. ฟังก์ชัน fabs(x)เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสัมบูรณ์ (absolute value) ของค่าคงที่ หรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่เก็บค่าตัวเลขจุดทศนิยมที่มีค่าบวก หรือลบก็ได้ รูปแบบfabs(x);
  • 10. 1.2 ฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร (character functions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลที่มีชนิดเป็น single char (ใช้เนื้อที่ 1 byte) เท่านั้น และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง #include แทรกอยู่ ตอนต้นของโปรแกรม จึงจะสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้ ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับตัวอักษรที่ควรทราบ มีดังนี้ 1) ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัว แปร ch เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข (letter or digit) ถ้าข้อมูลที่เก็บไว้เป็น ตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะส่งค่ากลับที่เป็นจานวนเต็มที่มีค่าไม่เท่ากับศูนย์มายัง ฟังก์ชัน และถ้าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ไม่ได้เก็บตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะ ส่งค่ากลับที่มีค่าเป็นศูนย์มายังฟังก์ชัน รูปแบบisalnum(ch);
  • 11. 2) ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัว แปร ch เป็นตัวอักษร (letter) หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลข จานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับมาเป็นเลขศูนย์ (0)รูปแบบisalpha(ch); 3) ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขจานวน เต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะไม่มีการส่งค่ากลับ รูปแบบisdigit(ch); 4) ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัว แปร ch เป็นตัวอักษรตัวเล็กหรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจานวนเต็มที่ ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบislower(ch);
  • 12. 5) ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น ตัวอักษรตัวใหญ่หรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่ เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบisupper(ch); 6) ฟังก์ชัน tolower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ที่ เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้เป็นอักษรตัวเล็ก รูปแบบtolower(ch); 7) ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กที่ เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้เป็นอักษรตัวใหญ่ รูปแบบtoupper(ch);
  • 13. 1.3 ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง (string functions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลชนิดสตริง (string) โดยก่อนที่จะใช้ฟังก์ชัน ประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง #include แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรมเสียก่อน จึง จะเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้ 1. ฟังก์ชัน strlen( ) เป็นฟังก์ที่ใช้นับความยาวของค่าคงที่สตริง หรือตัวแปร สตริงรูปแบบการใช้strlen(string variable); หรือstrlen(“string constant”); 2. ฟังก์ชัน strcmp( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปรียบเทียบข้อมูลชนิดสตริง 2 ค่า ว่ามีค่า เท่ากัน หรือมากกว่า หรือน้อยกว่าอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งการเปรียบเทียบสตริงจะ ใช้ค่ารหัส ASCII เปรียบเทียบทีละตัวอักขระ รูปแบบการใช้strcmp(str1var, str2var);หรือstrcmp(str1constant, str2constant);
  • 14. 3. ฟังก์ชัน strcpy( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คัดลอกข้อมูลจาก string ค่า หนึ่งไปยัง string อีกค่าหนึ่ง รูปแบบที่ใช้strcpy(str2, str1); 4. ฟังก์ชัน strcat( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เชื่อมค่าคงที่ชนิดสตริง 2 ค่า เข้าด้วยกัน โดยผลลัพธ์จะเก็บเอาไว้ในตัวแปรสตริงตัวแรกเสมอ รูปแบบการใช้strcat(str1,str2);
  • 15. จะกล่าวเฉพาะฟังก์ชันที่ใช้บ่อย ๆ เท่านั้น ซึ่งมีฟังก์ชันดังนี้ 1)ฟังก์ชัน clrscr( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการลบข้อมูลออกจากจอภาพแบบ text mode รูปแบบclrscr( ); 2) ฟังก์ชัน gotoxy(x,y)เป็นฟังก์ชันที่ใช้คาสั่งให้ตัวชี้ตาแหน่ง (cursor) เคลื่อนที่ไปยังตาแหน่งที่ระบุไว้บนจอภาพ รูปแบบgotoxy(x,y ); โดยที่ x คือ ตาแหน่ง column บนจอมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 79 ส่วน column ที่ 80 สงวนไว้ y คือ ตาแหน่ง row บนจอภาพมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 24 ส่วน row ที่ 25 สงวนไว้ 1.4 ฟังก์ชันทั่วไปที่ใช้งานบ่อย ๆ
  • 16. 3) ฟังก์ชัน clreol( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความในบรรทัดที่ตัว cursor อยู่ โดยลบข้อความถัดจากตาแหน่งของ cursor ไปจนกระทั่งจบบรรทัด รูปแบบclreol( ); 4) ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจานวน เต็มชนิด long integer ที่สามารถนาไปใช้คานวณได้ รูปแบบatol(s);