SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
โครงงาน ลดขยะลดมลพิษ
เรื่อง
จัดทาโดย
นายบุญวิเศษ แซ่ฮ้อ เลขที่ 3
นายสิรภพ สัมมาคุณ เลขที่ 5
นายกิตติภพ บุญเลิศ เลขที่ 7
นางสาวฌัชรินทร์ สุขสมเลขที่ 13
นางสาวมนต์นภา อินทร์แสง เลขที่ 16
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายวิชา IS3
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
สารบัญ
เนื้อหา หน้า
คำนำ............................................................................................................................................ก
กิตติกรรมประกำศ............................................................................................................................. ข
เกี่ยวกับโครงกำร...............................................................................................................................ค
บทที่ 1...........................................................................................................................................1
หลักกำรและเหตุผล....................................................................................................................... 1
2.กำรบูรนำกำรปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง....................................................................................... 1
3.วัตถุประสงค์ของโครงกำร............................................................................................................. 2
4.สถำนที่ ดำเนินกำร...................................................................................................................... 2
5.วิธีกำรดำเนินงำน........................................................................................................................ 2
6.ระยะเวลำกำรดำเนินงำน............................................................................................................. 2
7.รำยละเอียดงบประมำณของโครงกำร.............................................................................................. 2
8.ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ............................................................................................................ 3
บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง................................................................................................................... 4
ควำมหมำยของขยะชนิดต่ำงๆ..........................................................................................................4
แหล่งกำเนิดขยะ........................................................................................................................... 6
สำเหตุของมลพิษทำงขยะ................................................................................................................ 7
สำเหตุปัญหำขยะในเมืองไทย...........................................................................................................7
ผลเสียที่เกิดจำกขยะมูลฝอย........................................................................................................... 10
ผลกระทบจำกขยะมูลฝอยต่อสิ่งแวดล้อม........................................................................................... 11
ผลกระทบของขยะมูลฝอยต่อสภำวะแวดล้อม ..................................................................................... 13
ผลกระทบจำกขยะมูลฝอยต่อเศรษฐกิจ............................................................................................. 14
ผลกระทบจำกขยะมูลฝอยต่อภำวะโลกร้อน........................................................................................ 14
กำรดำเนินงำนจัดกำรขยะมูลฝอย.................................................................................................... 15
วิธีกำรกำจัดขยะมูลฝอย................................................................................................................ 16
วิธีกำรทำปุ๋ ยหมัก (Composting) ................................................................................................... 17
แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ............................................................................................................... 17
กำรคัดแยกขยะมูลฝอย................................................................................................................. 18
ภำชนะรองรับขยะมูลฝอย.............................................................................................................. 19
บทที่ 3 วิธีกำรดำเนินงำน.................................................................................................................. 20
วัสดุอุปกรณ์ .............................................................................................................................. 20
วิธีกำรดำเนินงำน........................................................................................................................ 20
บทที่ 4 ผลกำรดำเนินงำน................................................................................................................. 22
บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรำย............................................................................................................... 23
สรุปผลและอภิปรำยผล................................................................................................................. 23
ประโยชน์ที่ได้รับ......................................................................................................................... 24
ข้อเสนอแนะ.............................................................................................................................. 24
ภำคผนวก..................................................................................................................................... 24
บรรณำนุกรม................................................................................................................................. 27
สารบัญรูปภาพ
รูปที่ หน้า
ภาพที่ 1 ศึกษาค้นคว้าเรื่องที่จะทาโครงการ…………………………………………………….23
ภาพที่ 2 นาเสนอโครงการ………………………………………………………………………23
ภาพที่ 3 จัดทาบอร์ดความรู้หน้าห้องม. 6/1……………………………………………………..24
ภาพที่ 4 ติดใบความรู้ตามที่ต่างๆตามอาคารเรียน……………………………………………....24
ภาพที่ 5 ให้เพื่อนๆและน้องร่วมกันทาแบบประเมิน…………………………………………..25
ภาพที่ 6 นักเรียนศึกษาความรู้เรื่องปัญหาขยะ…………………………………………………..25
ก
คานา
จากการเราได้ศึกษาถึงปัญหาของขยะเราก็พบว่าในปัจจุบันขยะเป็นมลพิษที่อันตราย
และยังเป็นปัญหาอย่างยิ่งสาหรับหลายๆประเทศในโลกนี้ด้วย รวมทั้งในโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ
กาญจนบุรี ก็มีปัญหาเกี่ยวกับการทิ้งขยะไม่เป็นที่
ทาให้บริเวณโรงเรียนอาจเกิดมลพิษทางอากาศและส่งผลร้ายต่างๆตามมาได้กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้มีการจัด
ทาป้ายนิเทศให้ความรู้ในเรื่องของขยะและปลูกจิตสานึกในการทิ้งขยะให้กับบุคคลในโรงเรียนเพื่อหวังว่าโ
รงเรียนจะสะอาดยิ่งขึ้น
กลุ่มของข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานการลดขยะลดมลพิษ
จะเป็นประโยชน์แก่โรงเรียนและสามารถเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมอนุรักษ์โลกของเราได้
หากกลุ่มของข้าพเจ้าทาผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงการเรื่องลดขยะลดมลพิษสาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ได้แก่อาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ที่ได้ให้คาปรึกษา แนะนา ชี้แนะในการศึกษาค้นคว้า
แนะนาขั้นตอนและวิธีจัดทาโครงงานจนสาเร็จลุล่วงด้วยดี คณะผู้จัดทาจึงขอขอบคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ
โอกาสนี้
ขอขอบคุณเพื่อน และน้องๆที่ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมโครงการในครั้งนี้
ตลอดจนได้ให้คาปรึกษาแนะนาการจัดทาโครงการจนประสบผลสาเร็จ
ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียน
และสมาชิกในกลุ่มที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทาโครงการครั้งนี้จนกระทั่งประสบความสาเร็จด้วยดี
คณะผู้จัดทา
ค
เกี่ยวกับโครงการ
เรื่อง ลดขยะลดมลพิษ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ IS3
ผู้จัดทา
นายบุญวิเศษ แซ่ฮ้อ
นายสิรภพ สัมมาคุณ
นายกิตติภพ บุญเลิศ
นางสาวฌัชรินทร์ สุขสม
นางสาวมนต์นภา อินทร์แสง
ครูที่ปรึกษา
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
สถานศึกษา
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ปีการศึกษา 2558
1
บทที่ 1
โครงการ ลดขยะลดมลพิษ
หลักการและเหตุผล
ปั จ จุบั น อัต ราก ารเพิ่ ม ขึ้ น ข อ ง ป ร ะ ช าก ร โ ล ก เป็ น ไ ป อ ย่าง อ ย่าง รว ด เร็ ว
ควบคู่ไปกับการบุกรุกทาลายทรัพยากรป่ าไม้เพื่อแสวงห าที่ดิน ทากินของประช ากรโลก
มี ก า ร ใ ช้ ที่ ดิ น เ พิ่ ม ขึ้ น มี ก า ร ผ ลิ ต เพื่ อ ก า ร อุ ป โ ภ ค บ ริ โ ภ ค เพิ่ ม ม า ก ขึ้ น
เป็นเหตุให้เกิดขยะเศษสิ่งของเหลือใช้มีปริมาณมากขึ้น มนุษย์เราผลิตขยะในแต่ละวันโดยเฉลี่ยวัน ๑
กิโลกรัมประชากรโลกกว่า ๖,๐๐๐ ล้านคน ก็จะผลิตขยะมีปริมาณมากมายมหาศาลสูงถึงวันละ ๖,๐๐๐
ล้านกิโลกรัม แล้วขยะเหล่านี้ประกอบด้วยอะไรกันบ้าง ขยะถูกนาไปจากัดอย่างไร
ใน ปั จจุบัน ปั ญ ห าสิ่ งแวดล้อมของ ประ เทศไทยที่ควรใ ห้ความสาคัญ อย่างยิ่งคือ
ปัญหาขยะที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทุกวันนี้คนไทยกว่า60 ล้านคน สามารถสร้างขยะได้มากถึง 14
ล้าน ตัน ต่อปี แต่ความสามารถ ใ น การจัดเก็บขยะ กลับมีไม่ถึง 70 % ของ ขยะ ที่เกิดขึ้ น
จึ ง ท า ใ ห้ เ กิ ด ป ริ ม า ณ มู ล ฝ อ ย ต ก ค้ า ง ต า ม ส ถ า น ที่ ต่ า ง ๆ
หรือมีการนาไปกาจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม
โดยภ ายใน โรงเรียน ก็เป็ น อีกสถาน ที่ ห นึ่ งที่มีปั ญ ห าเรื่ องการทิ้ งขยะ ไม่เป็ น ที่
ซึ่ ง มี ผ ล ท า ใ ห้ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ภ า ย ใ น โ ร ง เ รี ย น เ ป็ น ม ล พิ ษ
เพื่อเป็นการทาให้สภาพแวดล้อมดีขึ้นจึงมีการจัดทาบอร์ดให้ความรู้เกี่ยวกับการทิ้งขยะให้ถูกที่และให้ความ
รู้เกี่ยวกับมลพิษทางขยะกับนักเรียนภายใน โรงเรียน เพื่อเป็ น การให้เห็นถึงปัญหาของขยะ
และยังเป็นการช่วยลดปัญหาการทิ้งขยะไม่ถูกที่
2.การบูรนาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ก. ความพอประมาณ กลุ่มเราเลือกทากิจกรรมในโรงเรียน ทาให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
และประหยัดเวลาในการจัดกิจกรรม
ข. ความมีเหตุผล เนื่องจากในโรงเรียนของเรานั้นมีพื้นที่บริเวณที่ยังสกปรกอยู่
พวกเราจึงเลือกจัดกิจกรรมนี้ในโรงเรียน
ค. การมีภูมิคุ้นกันที่ดี เนื่องจากกลุ่มของพวกเราไม่ค่อยมีเวลาในการทากิจกรรม
เราจึงเลือกทากิจกรรมนี้แค่ในโรงเรียนของเรา
ง. เงื่อนไข
1.เงื่อนไขความรู้ มีความรู้ในการจาแนกประเภทขยะก่อนทิ้ง
เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมกับขยะประเภทต่างๆ
2
2.เงื่อนไขคุณธรรม สมาชิกในกลุ่มแบ่งหน้าที่กันทางาน มีการทางานกันเป็นทีม
ร่วมแรงร่วมใจกันทางานด้วยความสามัคคี เพื่อให้กิจกรรมนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนภายในโรงเรียนมีจิตสานึกในการทิ้งขยะให้ถูกที่
2. เพื่อให้พื้นที่ภายในโรงเรียนให้มีความสะอาดขึ้น
4.สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี154 หมู่ที่ 1 ตาบลท่าล้อ อาเภอท่าม่วง
จังหวัดกาญจนบุรี 71000
5.วิธีการดาเนินงาน
1. ขั้นเตรียมการ
- ปรึกษาสมาชิกในกลุ่มเกี่ยวกับการทาโครงการ
- หาข้อมูล
2. ขั้นดาเนินการ
- หาข้อมูลจัดทาบอร์ดให้ความรู้เกี่ยวกับการทิ้งขยะให้ถูกต้อง
- จัดหาอุปกรณ์ในการทาบอร์ด
- ลงมือทาบอร์ดให้ความรู้เกี่ยวกับการทิ้งขยะให้ถูกต้อง
- ให้ความรู้เกี่ยวกับการทิ้งขยะให้ถูกต้องแก่นักเรียนภายในโรงเรียน
- ให้นักเรียนภายในโรงเรียนทาแบบสอบถามเกี่ยวกับโครงการนี้
- เขียนโครงการ
- สรุปโครงการ
- จัดทาเว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูล
6. ระยะเวลาการดาเนินงาน
เดือน พฤษภาคม –กันยายน 2558
7. รายละเอียดงบประมาณของโครงการ
- ค่าอุปกรณ์จัดบอร์ด 150 บาท
3
8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ส่งเสริมและปลูกจิตสานึกให้นักเรียนภายในโรงเรียนทิ้งขยะให้ถูกที่
2. พื้นที่ภายในโรงเรียนให้มีความสะอาดขึ้น
4
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ข ย ะ ห ม า ย ถึ ง
สิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและอุปโภคซึ่งเสื่อมสภาพจนใช้การไม่ได้หรือไม่ต้องการใช้แล้ว
บางชนิดเป็นของแข็งหรือกากของเสีย มีผลเสียต่อสุขภาพทางกายและจิตใจเนื่องจากความสกปรก
เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคทาให้เกิดมลพิษและทัศนะอุจาดมูลฝอย
มูลฝอย หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้าเศษอาหารเศษสินค้าถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร
เถ้า มูลสัตว์ หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น
ความหมายของขยะชนิดต่างๆ
จาแนกประเภทได้ดังนี้
1. ขยะมูลฝอยที่เผาไหม้ได้ เช่น เศษไม้, ใบหญ้า, พลาสติก, กระดาษ, ผ้า, สิ่งทอ, ยาง ฯลฯ
2. ขยะมูลฝอยที่เผาไหม้ไม่ได้ ได้แก่เศษโลหะ เหล็ก แก้ว กระเบื้อง เปลือกหอย หิน ฯลฯ
3. ขยะมูลฝอยที่ไม่เป็นพิษหรือขยะมูลฝอยทั่วไป ได้แก่ขยะมูลฝอยที่เกิดจากบ้านเรือน ร้านค้า เช่น
พวกเศษอาหาร กระดาษ พลาสติก เปลือกและใบไม้ เป็นต้น
4.ขยะมูลฝอยที่เป็นพิษ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตมนุษย์ตลอดจนสิ่งแวดล้อมอื่นๆได้แก่
ของเสียที่มีส่วนประกอบของสารอันตรายหรือของเสียที่มีฤทธิ์กัดกร่อนหรือติดไฟง่าย หรือมีเชื้อโรค
ติดต่อปะปนอยู่เช่น ซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดฟลูออเรสเซ นต์ กาก สารเคมี สาลี
และผ้าพันแผลจากโรงพยาบาล
ถ้าแบ่งประเภทขยะตามลักษณะของส่วนประกอบของขยะมูลฝอย มีประเภทต่างๆ ดังนี้
1. กระดาษ ถุงกระดาษ กล่อง ลัง เศษกระดาษจากสานักงาน
2. พลาสติก มีความทน ทานต่อการทาลายได้สู ง วัสดุ ห รือผลิตภัณฑ์ที่ทาจากพลาสติก เช่น
ถุงภาชนะของเด็กเล่น ของใช้
3. แก้ว วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่ทาจากแก้ว เช่น ขวด หลอดไฟ เศษกระจก ฯลฯ
4 . เ ศ ษ อ า ห า ร ผั ก ผ ล ไ ม้ ซึ่ ง เ ป็ น ส า ร ป ร ะ ก อ บ อิ น ท รี ย์ ย่อ ย ส ล า ย ไ ด้ ง่ า ย
เ ป็ น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ส า คั ญ ที่ ท า ใ ห้ ข ย ะ เ กิ ด ก ลิ่ น เ ห ม็ น
ส่งกลิ่นรบกวนหากไม่มีการเก็บขนออกจากแหล่งทิ้งทุกวัน
5
5. ผ้าสิ่งทอต่าง ๆที่ทามาจากเส้นใยธรรมชาติ และใยสังเคราะห์ เช่น ผ้าไนล่อน ขนสัตว์ ลินิน ฝ้าย
6. ยางและหนัง เช่น รองเท้า กระเป๋า บอล
7. ไม้เศษเฟอร์นิเจอร์ โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ
8. หิน กระเบื้อง กระดูก และเปลือกหอย พวกนี้ไม่เน่าเปื่อย พบมากในแหล่งก่อสร้างตึกที่ทุบทิ้ง
9. โลหะต่าง ๆ เช่น กระป๋อง ลวด สายไฟ ตาปู
10. อื่น ๆที่ไม่อาจจัดกลุ่มได้
ถ้าแบ่งประเภทขยะตามแหล่งที่มา
1. ขยะมูลฝอยจากถนน ( StreetRefuse ) ได้แก่เศษสิ่งของต่าง ๆ ที่ปรากฏและกวาดจากถนน ตรอก ซอย
เช่น เศษกระดาษ ผง ฝุ่น ใบไม้พลาสติก อิฐ หิน ทราย กรวด
2. ขยะมูลฝอยที่เกิดจากสิ่งที่เหลือจากการเผาไหม้ที่เรียกว่า ขี้เถ้า ( Ashes) เช่น เถ้าที่เกิดจาก เตาไฟ,
การเผาถ่าน ฯลฯ
3. ขยะมูลฝอยจากการก่อสร้าง ( Contruction Refuse ) ได้แก่เศษวัสดุก่อสร้าง เช่น เศษไม้เศษกระเบื้อง
เศษปูน อิฐหัก ฯลฯ
4 . ข ย ะ มู ล ฝ อ ย จ า ก ก า ร รื้ อ ถ อ น สิ่ ง ก่ อ ส ร้ า ง ( Demolition Refuse ) ไ ด้ แ ก่
เศษสิ่งที่ไม่ต้องการที่เกิดจากการรื้อถอนอาคาร บ้านเรือนเก่า ฯลฯ
5. ซากสัตว์ ( Dead Animal ) จากสัตว์ตาย เน่าเปื่อย เหม็น
6.ซากยานพาหนะ ( Abandond Vehicles) ทุกชนิดที่หมดสภาพ ใช้งานไม่ได้ รวมทั้งชิ้นส่วนประกอบ เช่น
แบตเตอรี่ ยาง ฯลฯ
7. ขยะมูลฝอยจากโรงงาน อุตสาห กรรม ( IndustrialRefuse ) ได้แก่เศษวัตถุที่เกิดจากการผลิต
หรือขั้นตอนการผลิต
8 . ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ป ร ะ เ ภ ท ท า ล า ย ย า ก ( Hazardous Refuse ) ไ ด้ แ ก่
ขยะมูลฝอยที่ต้องการใช้กรรมวิธีทาลายเป็นพิเศษ เช่น พลาสติก ฟิลม์ถ่ายรูป กากแร่ธาตุต่าง ๆ
9. ขยะสด ( Garbage )
10. ขยะแห้ง ( Rubbish )
11. ขยะพิเศษ ( Special Wastes )
6
12. ของใช้ชารุด ( Buldy Wastes )
13. ขยะจากการกสิกรรม ( Agricultural Wastes )
14. กากตะกอนของน้าโสโครก ( Sewage treatment residues )
ประเภทของขยะมูลฝอย ที่สานักรักษาความสะอาดของกรุงเทพมหานคร กล่าวไว้มี 3ประเภทใหญ่คือ
1.มูลฝอยเปียกได้แก่พวกเศษอาหาร เศษพืชผักเปลือกผลไม้อินทรีย์วัตถุที่สามารถย่อยสลายเน่าเปื่อยง่าย
มีความชื้นสูง และส่งกลิ่นเหม็นได้รวดเร็ว
2. มูลฝอยแห้ง ได้แก่พวกเศษกระดาษ เศษผ้า แก้ว โลหะ ไม้พ ลาสติก ยาง ฯลฯ ขยะมูลฝอย
ชนิดนี้จะมีทั้งที่เผาไหม้ได้และเผาไหม้ไม่ได้ขยะแห้ง เป็นขยะมูลฝอยที่สามารถเลือกวัสดุที่ยังมีประโยชน์
ก ลั บ ม า ใ ช้ ไ ด้ อี ก
โดยการทาคัดแยกมูลฝอยก่อนนาทิ้งซึ่งจะช่วยให้สามารถลดปริมาณมูลฝอยที่จะต้องนาไปทาลายลงได้
และถ้านาส่วนที่ใช้ประโยชน์ได้นี้ไปขายก็จะทารายได้กลับคืนมา
3. ขยะมูลฝอยอัน ตราย มูลฝอยนี้ ได้แก่ของเสียที่เป็ นพิษ มีฤทธิ์ กัดกร่อน และระเบิดได้ง่าย
ต้องใช้กรรมวิธีในการทาลายเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นวัสดุที่มีอันตราย เช่น สารฆ่าแมลง ถ่านไฟฉาย
แบตเตอรี่ รถยนต์ หลอดไฟ สเปรย์ฉีดผม ฯลฯ
แหล่งกาเนิดขยะ
ขยะเป็นสิ่งที่เหลือใช้หรือสิ่งที่ไม่ต้องการอีกต่อไปสามารถแบ่งตามแหล่งกาเนิดได้ดังนี้
1 .ข อ ง เ สี ย จ า ก อุ ต ส า ห ก ร ร ม ข อ ง เ สี ย อั น ต ร า ย ทั่ ว ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย 7 3
%มาจากระบบอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ยังไม่มีการจัดการที่เหมาะสมโดยทิ้งกระจายอยู่ตามสิ่งแวดล้อมและทิ้
งร่วมกับมูลฝอยรัฐบาลได้ก่อตั้งศูนย์กาจัดกากอุตสาหกรรมขึ้นแห่งแรกที่แขวงแสมดาเขตบางขุนเทียน
เริ่มเปิดบริการตั้งแต่2531ซึ่งก็เพียงสามารถกาจัดของเสียได้บางส่วน
2.ของเสียจากโรงพยาบาลและสถานที่ศึกษาวิจัย ของเสียจากโรงพยาบาลเป็นของเสียอันตรายอย่างยิ่ง เช่น
ขยะติดเชื้อเศษอวัยวะจากผู้ป่วยและการรักษาพยาบาลรวมทั้งของเสียที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีสารเคมีได้
ทิ้งสู่สิ่งแวดล้อมโดยปะปนกับมูลฝอยสิ่งปฏิกูลเป็นการเพิ่มความเสี่ยงในการแพร่กระจายของเชื้อโรคและส
ารอันตราย
3.ของเสียจากภาคเกษตรกรรม เช่นยาฆ่าแมลง ปุ๋ย มูลสัตว์ น้าทิ้งจากการทาปศุสัตว์ ฯลฯ
4.ของเสียจากบ้านเรือนแหล่งชุมชน เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉายแบตเตอรี่ แก้วเศษอาหารพลาสติกโลหะ
หินไม้กระเบื้อง หนัง ยาง ฯลฯ
7
5. ของเสียจากสถานประกอบการในเมือง เช่น ภัตตาคาร ตลาดสด วัด สถานเริงรมย์ แหล่งชุมชน
กิจกรรมอุตสาห กรรม และกิจกรรมเกษตร จัดได้ว่าเป็ นแหล่งกาเนิดของขยะมูลฝอยที่สาคัญ
เ มื่ อ ป ร ะ ช า ก ร เ พิ่ ม ขึ้ น ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ก็ จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น เ ป็ น เ ง า ต า ม ตั ว
ประกอบกับมีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ก็ยิ่งทาให้มีขยะมูลฝอยใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย
ขยะมูลฝอยเหล่านี้มีทั้งขยะมูลฝอยทั่วไปและของเสียอันตราย
สาเหตุของมลพิษทางขยะ
1. ความมัก ง่ายและ ขาดความส านึ กถึ งผ ลเสี ยที่จะ เกิดขึ้ น เป็ น สาเห ตุที่ พ บบ่อยมาก
ซึ่งจะเห็น ได้จากการทิ้งขยะลงตาพื้น ห รือแห ล่งน้ า โดยไม่ทิ้งลง ในถังรองรับที่จัดไว้ใ ห้
และโรงงานอุตสาหกรรมบางแห่งลักลอบนาสิ่งปฏิกูลไปทิ้งตามที่ว่างเปล่า
2. การผลิตหรือใช้สิ่งของมากเกินความจาเป็น เช่น การผลิตสินค้าที่มีกระดาษหรือพลาสติกหุ้มหลายชั้น
และการซื้อสินค้าโดยห่อแยกหรือใส่ถุงพลาสติกหลายถุง ทาให้มีขยะปริมาณมาก
3.การเก็บและทาลาย หรือนาขยะไปใช้ประโยชน์ไม่มีประสิทธิภาพ จึงมีขยะตกค้าง กองหมักหมม
และส่งกลิ่นเหม็นไปทั่วบริเวณจนก่อปัญหามลพิษให้กับสิ่งแวดล้อม
สาเหตุปัญหาขยะในเมืองไทย
ปัญหาขยะในเมืองไทยเป็นปัญหาโลกแตก เป็นเวลาหลายสิบปีที่เจ้าหน้าที่ทางราชการ หน่วยงานวิจัย
สถ าบัน ท าง การศึก ษ า พ ยายามห าห น ท าง ใ น ก ารแก้ไขปั ญ ห าเรื่ อ ง ขยะ ล้น เมือ ง
ไม่มีที่ใ ดยอมให้ ก่อสร้าง โรง กาจัดขยะ ใกล้ที่อยู่อาศัยของตน เอง ทาไมจึงเป็ น เช่น นั้ น
ทั้ ง ๆ ที่ เสี ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ตั้ ง ม า ก ม า ย พ า เจ้ า ห น้ า ที่ ไ ป ดู ง า น ที่ ต่า ง ป ร ะ เ ท ศ
ใ ช้ ง บ ป ร ะ ม า ณ ใ น ก า ร ร ณ ร ง ค์ ใ ห้ ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร แ ก้ไ ข ปั ญ ห าเ รื่ อ ง ข ย ะ
มีเ ท ค โ น โ ล ยี ม า ก มา ย ที่ ส า มา ร ถ จ ะ น า ม าใ ช้ ใ น ก าร แ ก้ไ ข ปั ญ ห า เรื่ อ ง ข ย ะ
แต่ปัจจุบันยังไม่มีที่ไหนในประเทศไทยสามารถจัดการขยะได้อย่างครบวงจรเป็นที่พึงพอใจของคนทุกฝ่าย
เพื่อให้ง่ายสรุปได้เป็นข้อๆดังนี้
1.ประชาชนยังยึดติดกับการแก้ไขปัญหาขยะแบบเดิมๆ สถานที่มีกลิ่นเหม็น สกปรกไม่น่าชวนมอง
จนทาให้ไม่มีใครยอมที่จะให้มีการสร้างโรงกาจัดขยะในบริเวณใกล้เคียงกับที่ตนเองอยู่อาศัย
เนื่องจากว่าก็ยังไม่มีที่ใดใน ประ เทศไทย มีระ บบจัดการขยะ ที่ประสบความสาเร็จ สะอาด
สถานที่น่าชวนมองอย่างที่ไปดูงานที่ต่างประเทศ
8
2.เทศบาลไม่มีแหล่งกาจัดขยะเนื่องจากสาเหตุข้อแรก เพราะไม่รู้ว่าจะชี้แจงยังไงให้ประชาชนในพื้น ที่เข้าใจ
จึ ง ต้ อ ง น า ข ย ะ ไ ป ทิ้ ง ใ น พื้ น ที่ ห่ า ง ไ ก ล น อ ก พื้ น ที่ ใ น ป่ า ส ถ า น ที่ ร ก ร้ า ง
สร้างปัญหาให้กับชุมชนในพื้นที่นั้นๆตามมา
3.ทุกคนยังมองไม่เห็นคุณค่าของขยะเพราะว่ามีมูลค่าเล็กน้อย ไม่ทราบว่าขยะบางชนิดมีมูลค่า
เมื่อแยกขยะแล้วจะไปขายที่ไหนหรือมีวิธีใดบ้างที่จะจัดการขยะได้โดยเปลี่ยนให้เป็นรายได้เข้ามา
4.เนื่ อง จากทาง ภ าค รัฐยัง ไม่มีสถ าน ที่แล ะ วีธี การที่ถูก ต้อง ใน การแ ก้ไข ปั ญ ห าขยะ
มีการกาจัดขยะที่สามารถรองรับการแยกขยะได้ จึงทาให้โครงการรณรงค์ให้ประชนคัดแยกขยะ
ไ ม่ ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ เ ป็ น เ พี ย ง แ ค่ ไ ฟ ไ ห ม้ ฟ า ง ใ น ช่ ว ง ต้ น ๆ
แต่เมื่อประชาชนคัดแยกขยะแล้วกลับไม่มีการเก็บขยะแบบแยก เพื่อน าไปกาจัดอย่างถูกวิธี
ขยะเศษอาหารถูกเก็บนาไปปนกับขยะทั่วไปเช่นเดิม
5.การหาวิธีการจัดการขยะยังไม่ลงลึกเพียงพอในการแก้ไขปัญหาขยะตามสถุานที่อยู่อาศัยที่ต่างๆกัน
บ้านเรือน ตลาดสด อาคารพาณิชย์ โรงเรียน อาคารสูงอย่างโรงแรมและคอนโดมิเนียมชมชนชนบท
บ า ง ที่ ส า ม า ร ถ ก า จั ด ข ย ะ ไ ด้ ด้ ว ย ตั ว เ อ ง บ า ง ที่ ท า ไ ด้ เ พี ย ง แ ย ก ข ย ะ
ทาให้แต่ละ ที่จะต้องมีวิธีการจัดการที่แตกต่างกัน เราสงเสริมให้ประ ชาชน ทาปุ๋ ยจากขยะ
แ ต่ ผู้ ที่ อ ยู่ อ า ศั ย ใ น อ า ค า ร สู ง อ า ค า ร พ า ณิ ช ย์
ไม่รู้ว่าจะเอาปุ๋ ยไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรเพราะไม่ได้มีพื้นที่ปลูกพืช นี่เป็นตัวอย่างชี้ให้เห็นอย่างง่ายๆ
ที่แสดงให้เห็นเด่นชัดถึงการใช้วิธีจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสมกับสถานที่
6.เทคโนโลยีที่ใช้กาจัดขยะ สามารถกาจัดขยะได้เฉพาะขยะแยกประเภท ไม่ว่าจะเป็นการทาปุ๋ยหมักจากขยะ
การทาก๊าซชีวภาพจากขยะเศษอาหาร การนาขยะมาเผาเป็นพลังงานความร้อนเพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้ า
แ ต่ ข ย ะ ที่ เ ข้ า สู่ ก ร ะ บ ว น ก า ร ก า จั ด ยั ง ไ ม่ ไ ด้ แ ย ก อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์
ทาให้เทคโนโลยีดังกล่าวประสบปัญหาในการดาเนินการ
7.การขัดผลประโยชน์ของกลุ่มผู้ฝังกลบขยะ โครงการใหม่ที่จะเกิดขึ้นเพื่อพัฒนาระบบกาจัดขยะจึงถูกระงับ
ถูกต่อต้านจากชุมชนโดยมีผู้มีอิทธิผลที่เสียผลประโยชน์หนุนอยู่ภายหลัง
จ า ก ส า เ ห ตุ ห ลั ก ๆ เ ห ล่ น นี้ ท า ใ ห้ ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ข ย ะ
ยั ง ค ง ไ ม่ มี ค ว า ม คื บ ห น้ า แ ล ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า ห นั ก ขึ้ น ทุ ก วั น
ดัง นั้ น แน วท าง ใ น ก ารแก้ไขปั ญ ห าขยะ จึง ต้อ ง มีการปรับ เปลี่ ยน แน วท าง วิธี การ
แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ เ ห ม า ะ ส ม ใ น แ ต่ ล ะ พื้ น ที่ ที่ มี ส ถ า น ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น
ใช้ลักษณะเด่นของแต่ละพื้นที่มาแก้ไขปัญหาเรื่องขยะ อย่างเช่น
9
1 .ใ น ชุ ม ช น ที่ ห่ า ง ไ ก ล จ า ก ตั ว เ มื อ ง มี พื้ น ที่ เพ า ะ ป ลู ก ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร
เป็ น ชุ มช น ที่ มีค วาม ต้อ ง ก ารปุ๋ ย ห มัก จ าก ข ยะ เพ รา ะ ต้อ ง ใ ช้ ใ น ก ารเพ าะ ป ลู ก
การใช้ปุ๋ ยหมักจากขยะสามารถลดค่าใช้จ่ายในการใช้ปุ๋ ยเคมี ซึ่งน่าจะมีการรวมกลุ่มของเกษตรกร
เพื่อทาโครงการปุ๋ ยหมักจากขยะสด ขยะเศษผักเศษอาหาร เพื่อความยั่งยืนในการทาการเกษตร
และเป็นการช่วยภาครัฐในการแก้ไขปัญหาขยะ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับขยะ
2.ในชุมชนเมืองใหญ่มีปริมาณขยะเป็ นจานวนมาก โดยเฉพาะตลาดสด ตลาดค้าส่งสินค้าเกษตร
เ ป็ น แ ห ล่ ง ผ ลิ ต ข ย ะ ที่ ส า ม า ร ถ ย่ อ ย ส ล า ย ไ ด้ เ ป็ น จ า น ว น ม า ก
ซึ่งขยะที่ว่านี้เป็นวัตถุดิบชั้นดีในการนามาผลิตปุ๋ยหมักเนื่องจากมีการเจือปนของขยะชนิดอื่นเช่นพลาสติก
ก ร ะ ด า ษ ข ว ด แ ก้ ว น้ อ ย
หากมีการทาข้อตกลงร่วมในการส่งขยะที่คัดแยกแต่เศษผักเศษอาหารใ ห้กับกลุ่มเกษตรกร
ก็จะสามารถทาขยะที่เคยเป็นปัญหา เป็นประโยชน์ขึ้นมาได้
3.การจัดพื้น ที่ใ ห้มีการรับซื้ อขยะ ที่สามารถรีไซเคิลได้ ป ระ จาเดือน ตามชุมช น ต่าง ๆ
โ ด ย ข อ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ค้ า ข อ ง เ ก่ า
เริ่มต้นโดยการะประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงราคาที่รับซื้อของขยะชนิดต่างๆ สถานที่รับซื้อ
และ วัน เวลาที่จะ มารับซื้อเป็ น ประ จา วีธีการนี้ จะทาให้ผู้ค้าของเก่ามีผู้ใช้บริการมากขึ้ น
มี ป ริ ม า ณ ข ย ะ ที่ จ ะ น า ส่ ง โ ร ง ง า น รี ไ ซ เ คิ ล ไ ด้ ม า ก ขึ้ น
ประชาชนมีรายได้มากขึ้นจากการแยกขยะและเก็บสะสมขยะเพื่อจาหน่าย เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว
พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสในภาวะที่ข้าวของทุกอย่างมีราคาแพง
4.บ้าน ที่ อยู่อาศัย มีบริ เวณ บ้าน ที่ เป็ น ส วน ส ามารถแยกขยะ เศษอาห ารกาจัดเอง ได้
โดยทาบ่อฝั่งย่อยสลายเสษอาหารได้ทาให้ขยะที่จะทาการกาจัดไม่มีขยะเศษอาหารปนอยู่ไม่เกิดกลิ่นเหม็น
ท า ใ ห้ ก า ร แ ย ก ข ย ะ เ พื่ อ รี ไ ซ เ คิ ล ท า ไ ด้ ง่ า ย แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
การแยกขยะที่ต้นทางสามารถทาได้ดีกว่าการแยกขยะที่ปลายทาง
5.ผู้ที่ อ ยู่อ าศัย ใ น อาค ารสู ง อ ย่าง อ าค ารพ าณิ ช ย์ ตึ ก แถ ว ห อ พั ก ค อน โด มิเนี ย ม
ผู้ที่ อยู่อาศัยประ เภ ท นี้ ไม่สามารถกาจัดขยะ ด้วยตัวเอง ได้ เนื่ อง จากข้อกาจัดใ น พื้ น ที่
ผู้ที่ พั ก อ าศัย อ ยู่ใ น อ าค ารป ร ะ เภ ท นี้ ท าไ ด้เพี ยง แ ย ก ข ย ะ ร ะ ห ว่าง เศ ษ อ าห า ร
ข ย ะ ทั่ ว ไ ป ที่ ส า ม า ร ถ รี ไ ซ เ คิ ล ไ ด้ แ ล ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ รี ไ ซ เ คิ ล ไ ด้
ท าง เท ศบ าล ห าก ส ามารถ ก าจัดแ บ บ แ ยก ป ระ เภ ท ได้ มีการท าปุ๋ ย จาก เศ ษ อาห าร
อ า จ จ ะ ท า ก า ร เ ก็ บ ข ย ะ แ บ บ แ ย ก ป ร ะ เ ภ ท เ ช่ น แ ย ก สี ถุ ง
ขยะที่ย่อยสลายได้แยกถุงเป็ น อีกสี หนึ่ งเพื่อเทศบาลจะได้แยกจัดเก็บเพื่อไปทาปุ๋ ยต่อไป
ส่วนขยะทั่วไปที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ จะแยกเก็บเป็นถุงดาเพื่อนาไปคัดแยกหรือกาจัดต่อไป
10
6.การเริ่มทาการกาจัดแบบคัดแยก อาจะเริ่มโดยจากัดพื้นที่ก่อนเพื่อให้ง่ายต่อการเริ่มต้นประชาสัมพันธ์
อ ย่ า ง เ ช่ น ก า ร ข อ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ
ตลาดสดแห่งใดแห่งหนึ่ งก่อนเพื่อขอขยะที่คัดแยกเฉพาะเศษผักเศษอาหารเพื่อใช้ในการทาปุ๋ ย
โ ร ง แ ร ม แ ห่ ง ใ ด แ ห่ ง ห นึ่ ง เ พื่ อ ใ ห้ มี ก า ร คั ด แ ย ก ข ย ะ
ให้ห้องพักทุกห้องมีถึงขยะ แยกประ เภทระห ว่างขยะ รีไซเคิลและขยะ ทั่วไปเพื่อรอกาจัด
หมู่บ้านใดหมู่บ้านห นึ่ งที่จะมีการเก็บขยะแบบแยกประเภท เกษตรกรกลุ่มหนึ่ งพื่อทาปุ๋ ยหมัก
เมื่อเริ่มต้นในจุดเล็กๆสาเร็จย่อมจะเป็นตัวอย่างในการดูงานให้กับพื้นที่อื่นๆที่จะนามาเข้าร่วมโครงการต่อไ
ป
ผลเสียที่เกิดจากขยะมูลฝอย
ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดปัญหาต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมหลายประการ คือ
1 .ท าใ ห้ เกิ ด ทั ศ น ะ อุ จ าด คื อ แ ล ดู ส ก ป ร ก ข าด ค ว าม เป็ น ร ะ เบี ย บ เรี ย บ ร้ อ ย
เป็นที่น่ารังเกียจแก่ผู้อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงรวมทั้งผู้พบเห็น โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
2.เป็ น แห ล่ง เพ าะ แ ล ะ แ พ ร่เชื้ อ โร ค โ ดย เฉ พ าะ ข ยะ ติ ด เชื้ อ จาก ส ถ าน พ ยาบ าล
และขยะเปี ยกที่แบคทีเรียทาหน้าที่ย่อยสลาย เชื้อโรคตามขยะจะแพร่ไปกับน้ า แมลง ห นู
และสุนัขที่มาตอมหรือคุ้ยเขี่ย เช่น เชื้อที่ทาให้เกิดโรคอหิวาต์ ไทฟอยด์และโรคบิด
3.ทาให้ดินเสื่อมและเกิดมลพิษ เพราะจะทาให้พื้นดินสกปรกดินมีสภาพเป็นเกลือ ด่าง หรือกรด
หรือมีสารพิษที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในดิน ตลอดจนทาให้สมบัติทางกายภาพของดินเปลี่ยนแปลงไป
เช่น โซเดียมทาให้เนื้อดินแตกร่วน
4.ทาลายแหล่งน้า
4.1) ขยะ ที่ ต ก ใ น แ ห ล่ง น้ าลาค ล อง แ ล ะ ท่อ ระ บ ายน้ า จะ ท าใ ห้ แ ห ล่ง น้ าตื้น เขิ น
การไหลของน้าไม่สะดวกจึงเกิดสภาวะน้าท่วมได้ง่าย
4.2 ) ท าใ ห้ เกิด ม ล พิ ษ ท า ง น้ า ใ น ลัก ษ ณ ะ ต่าง ๆ เช่น ท าใ ห้ น้ าเน่ า น้ าเป็ น พิ ษ
น้ าที่ มีเชื้ อ โร ค แ ล ะ น้ าที่ มีค ร าบ น้ ามัน ซึ่ ง ไ ม่เห ม าะ กับ ก ารใ ช้อุ ป โ ภ ค บ ริ โ ภ ค
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงคุณภาพ เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะพืชและสัตว์น้า
4.3 ) ท าใ ห้ เกิด มล พิ ษ ท าง อ าก า ศ เพ รา ะ ก าร เผ าข ยะ ท าใ ห้ เ กิด ค วัน แ ล ะ ขี้ เถ้ า
การหมักหมมและเน่าสลายของขยะ จะก่อให้เกิดก๊าซพิษและกลิ่นเหม็น
11
4.4) ก่อความราคาญและบั่นทอนสุขภาพของมนุษย์ เป็นผลจากการเกิดทัศนะอุจาด ก๊าซพิษ กลิ่นเหม็น
เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคตลอดจนการเกิดมลพิษทางน้าและอากาศ
4.5) ทาให้เกิดอัคคีภัย เนื่องจากขยะหลายชนิดติดไฟได้ง่าย โดยเฉพาะเมื่อแห้ง
4.6) สร้างปัญหาในการจัดการ เช่น ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรวบรวมและกาจัด
ผลกระทบจากขยะมูลฝอยต่อสิ่งแวดล้อม
ข ย ะ เ ศ ษ วั ส ดุ ข อ ง เ สี ย มี ป ริ ม า ณ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น ทุ ก ข ณ ะ
เนื่ องจากการขยายตัวของ เมือง การพัฒ น าเทคโน โลยีเพื่ออาน วยความสะ ดวกสบาย
การอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น หากใช้วิธีกาจัดที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดปัญหาตามมา
น้าเสียจากกองขยะ ( Leachate) มีความสกปรกสูง มีสภาพเป็นกรด มีเชื้อโรค หากน้าจากขยะรั่ว
ไห ลปน เปื้ อน สู่สิ่ งแวดล้อม เป็ น ผลใ ห้เกิดอัน ตรายและ เกิดมลพิษใน บริเวณ ที่ปน เปื้ อน
ดัง ใ น แ ห ล่ง ทิ้ ง ข ยะ ข อ ง เท ศ บ าล ต่าง ๆ ที่ เอ าข ย ะ ไ ป เ ท ก อ ง ไว้เป็ น ภู เข า ข ย ะ
น้ า จ า ก ข ย ะ จ ะ ไ ห ล ซึ ม อ อ ก ท าง บ ริ เว ณ ข้า ง ก อ ง ส่ ว น ห นึ่ ง ก็ ซึ ม ล ง สู่ ใ ต้ ดิ น
ใน ที่สุดก็ไปปน เปื้ อนกับน้ าใต้ดิน เกิดปัญห าต่อสุ ขภ าพ อน ามัยของชาวบ้าน ที่บริโภคน้ า
ถ้ า น้ า จ า ก ก อ ง ข ย ะ ไ ห ล ซึ ม ล ง สู่ แ ห ล่ ง น้ า ใ น บ ริ เ ว ณ ใ ก ล้ เ คี ย ง
ก็จะทาให้น้าในแหล่งน้านั้นเน่าเสียถ้าปนเปื้อนมากถึงขนาดก็จะทาให้สัตว์น้าต่าง ๆ เช่น กุ้ง หอยปู ปลากบ
เขียด พืชน้ า ตายได้ เพราะขาดออกซิเจน และขาดแสงแดดที่จะส่งผ่านน้ า เนื่ องจากน้ ามีสีดา
ห ากน้ าข ยะ มีการป น เปื้ อน ลง ใน แ ห ล่ง น้ าที่ใ ช้เพื่ อก ารอุป โภ คบ ริโภ คของ ชุมช น
ก็จะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงคุณภาพน้ามากขึ้น
ขยะมูลฝอยที่ทาให้เกิดมลพิษในอากาศ กองขยะมูลฝอยขนาดมหึมาของเทศบาล จะเกิดการหมัก
โ ด ย จุ ลิ น ท รี ย์ ใ น ก อ ง ข ย ะ จ ะ เ กิด ก๊ า ซ ต่าง ๆ เป็ น อั น ต ร าย ต่อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
หากไม่มีการกาจัดก๊าซเหล่านี้ อย่างเหมาะสม ก๊าซที่เกิดขึ้นได้แก่มีเทน คาร์บอนไดออกไซด์
ไฮ โด รเ จน ซั ล ไ ฟ ด์ ( ก๊ าซ ไข่เน่ า ) เ ป็ น ต้น แ ล ะ ยัง มีฝุ่ น ล ะ อ อ ง จา ก ก อ ง ข ย ะ
ก่อให้เกิดปัญหากับระบบทางเดินหายใจ โรคผิวหนัง แก่ประชาชนที่อยู่ในบริเวณ ใกล้เคียง
ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์หลายประการดังต่อไปนี้ คือ
1. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลง และพาหะของโรค
ข ย ะ เ ศ ษ วั ส ดุ ข อ ง เ สี ย มี ป ริ ม า ณ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น ทุ ก ข ณ ะ
เนื่ องจากการขยายตัวของ เมือง การพัฒ น าเทคโน โลยีเพื่ออาน วยความสะ ดวกสบาย
การอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น หากใช้วิธีกาจัดที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดปัญหาตามมา
12
เนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนมากับขยะมูลฝอยมีโอกาสที่จะขยายพันธุ์เพิ่มจานวนมากยิ่งขึ้นได้
เพราะขยะมูลฝอยมีทั้งความชื้นและสารอินทรีย์ที่จุลินทรีย์ใช้เป็นอาหาร ขยะพวกอินทรีย์สารที่ทิ้งค้างไว้
จะเกิดการเน่าเปื่อยกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงวัน นอกจากนั้นพวกขยะที่ปล่อยทิ้งไว้นาน ๆ
จะเป็ นที่อยู่อาศัยของหนู โดยหนูจะเข้ามาทารังขยายพันธุ์ เพราะมีทั้งอาหารและที่หลบซ่อน
ดังนั้นขยะที่ขาดการเก็บรวบรวม และการกาจัด จึงทาให้เกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ที่สาคัญของเชื้อโรค
แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซึ่งเป็นหาหะนาโรคมาสู่คน
2. เป็นบ่อเกิดของโรค
เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ก า ร ก า จั ด ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ไ ม่ ดี
หรือปล่อยปละละเลยทาให้มีขยะมูลฝอยเหลือทิ้งค้างไว้ในชุมชน จะเป็นบ่อเกิดของเชื้อโรคต่าง ๆ เช่น
ตับอักเสบ เชื้อไทฟ อยด์ เชื้อโรคเอดส์ ฯลฯ เป็ น แห ล่ง กาเนิ ดและอาห ารของสัตว์ต่าง ๆ
ที่เป็นพาหะนาโรคมาสู่คน เช่น แมลงวัน แมลงสาบ และหนู เป็นต้น
3. ก่อให้เกิดความราคาญ
ขยะมูลฝอย การเก็บรวบรวมได้ไม่หมดก็จะเกิดเป็ นกลิ่นรบกวน กระจายอยู่ทั่วไปในชุมชน
น อ ก จ า ก นั้ น ฝุ่ น ล ะ อ อ ง ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ก า ร ข น ถ่ า ย
และการกาจัดขยะก็ยังคงเป็นเหตุราคาญที่มักจะได้รับการร้องเรียนจากประชาชนในชุมชนอยู่เสมอ
อีกทั้งอุดจาดตาน่าขยะแขยง
4. ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
ขยะมูลฝอยเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดมลพิษของน้ า มลพิษของดิน และมลพิษของอากาศ
เนื่องจากขยะส่วนที่ขาดการเก็บรวบรวม หรือไม่นามากาจัดให้ถูกวิธี ปล่อยทิ้งค้างไว้ในพื้นที่ของชุมชน
เมื่อมีฝน ตกลงมาจะ ไห ลช ะน าความสกปรก เชื้อโรค สา รพิษจากขยะไห ลลงสู่แห ล่ง น้ า
ทาให้แห ล่งน้ าเกิดเน่าเสี ยได้ และ น อกจากนี้ ขยะมูลฝอยยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพ ดิน
ซึ่งจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับคุณลักษณะของขยะมูลฝอย ถ้าขยะมีซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่
ซากหลอดฟลูออเรสเซนต์มาก ก็จะส่งผลต่อปริมาณโลหะหนักพวกปรอท แคดเมียม ตะกั่ว ในดินมาก
ซึ่งจะ ส่งผลเสียต่อระบบนิ เวศน์ ในดิน และสารอิน ทรีย์ใน ขยะ มูลฝอยเมื่อมีการย่อยสลาย
จ ะ ท า ใ ห้ เ กิ ด ส ภ า พ ค ว า ม เ ป็ น ก ร ด ใ น ดิ น
และเมื่อฝนตกมาชะกองขยะมูลฝอยจะทาให้น้าเสียจากกองขยะมูลฝอยไหลปนเปื้อนดินบริเวณรอบ ๆ
ทาให้ เกิดมลพิ ษของดิน ได้ การปน เปื้ อน ของ ดิน ยัง เกิดจากการน ามูลฝอยไป ฝัง กลบ
ห รื อ ก า ร ยั ก ย อ ก น า ไ ป ทิ้ ง ท า ใ ห้ ข อ ง เ สี ย อั น ต ร า ย ป น เ ปื้ อ น ใ น ดิ น
ถ้ามีการเผาขยะ มูลฝอยกลางแจ้ง ทาให้เกิดควัน มีสารพิษทาให้คุณ ภ าพ ของอากาศเสี ย
ส่ ว น ม ล พิ ษ ท า ง อ า ก า ศ จ า ก ข ย ะ มู ล ฝ อ ย นั้ น
13
อาจเกิดขึ้ น ได้ทั้ง จากมลสารที่มีอยู่ใน ขยะ และ พ วกแก๊สห รื อไอระ เห ย ที่สาคัญ ก็คือ
กลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเน่าเปื่อย และสลายตัวของอินทรีย์สารเป็นส่วนใหญ่
5. ทาให้เกิดการเสี่ยงต่อสุขภาพ
ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ที่ ทิ้ ง แ ล ะ ร ว บ ร ว ม โ ด ย ข า ด ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
โดยเฉพ าะ อย่าง ยิ่ง ขยะ มูลฝอ ยพ วกของ เสี ยอัน ตราย ถ้าข าดการจัดการที่ เห ม าะ ส ม
ย่อ ม ก่อ ใ ห้ เ กิ ด ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ ง่ า ย เ ช่ น
โรคทางเดินอาหารที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีแมลงวันเป็นพาหะ หรือได้รับสารพิษที่มากับของเสียอันตราย
6. เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ
ขยะมูลฝอยปริมาณมาก ๆ ย่อมต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในการจัดการเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพ
น อ ก จ า ก นี้ ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ไ ม่ว่า จ ะ เ ป็ น น้ า เ สี ย อ า ก า ศ เ สี ย
ดินปนเปื้อนเหล่านี้ย่อมส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ
7. ทาให้ขาดความสง่างาม
ก า ร เ ก็ บ ข น แ ล ะ ก า จั ด ที่ ดี จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ชุ ม ช น เ กิ ด ค ว า ม ส ว ย ง า ม
มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยอันส่อแสดงถึงความเจริญและวัฒนธรรมของชุมชน ฉะนั้นหากเก็บขนไม่ดี
ไม่ห มด ก าจัดไม่ดี ย่อมก่อให้ เกิดความไม่น่าดู ขาดความสวยงาม บ้าน เมือง สกป รก
และความไม่เป็นระเบียบ ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ผลกระทบของขยะมูลฝอยต่อสภาวะแวดล้อม
ข ย ะ มู ล ฝ อ ย นั้ น นั บ วัน จ ะ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น ต า ม จ า น ว น ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร
ถ้าห ากไม่มีการกาจัดขยะ มูลฝอยให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว ปั ญห าความสกปรกต่าง ๆ
ที่ เกิด จ าก ข ยะ มูล ฝอ ย จะ ต้อ ง เกิดขึ้ น อ ย่าง แ น่ น อ น ถ้าม อง กัน อ ย่าง ผิ ว เผิ น แ ล้ว
ขยะมูลฝอยนั้นไม่ได้มีผลกระทบต่อมนุษย์มากนักทั้งนี้อาจเป็นเพราะผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรงต่อมนุษย์
ยังอยู่ในขั้นที่ไม่รุนแรงมากนัก ผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงไม่ชัดเจนเท่าไร แต่ในความเป็นจริงแล้ว
ข ย ะ มู ล ฝ อ ย จ ะ ก่อ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า ต่ อ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก
และจะมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ด้วย ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ทั้งนี้เนื่องจาก
๑. ขยะมูลฝอย เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงนาโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง ฯลฯ
และเป็นที่ซุกซ่อนของหนูและสัตว์อื่นๆ
๒. ขยะมูลฝอย ทาให้เกิดกลิ่นเหม็นและก่อให้เกิดความราคาญ
14
๓. ขยะมูลฝอยที่ทิ้งเกลื่อนกลาด ถูกลมพัดกระจัดกระจายไปตกอยู่ตามพื้น ทาให้พื้นที่บริเวณนั้นสกปรก
ข าด ค ว ามส ว ยง าม เป็ น ที่ รั ง เกี ยจ แ ก่ผู้พ บ เ ห็ น แ ล ะ ผู้ที่ อ า ศัยบ ริ เว ณ ใ ก ล้ เคี ย ง
นอกจากนี้ขยะมูลฝอยที่ตกอยู่หรือถูกทิ้งลงในคูคลอง หรือทางระบายน้าจะไปสกัดกั้นการไหลของน้า
ทาให้แหล่งน้าสกปรกและเกิดการเน่าเสีย
๔.น้าเสียที่เกิดจากกองขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว้เป็นน้าเสียที่มีความสกปรกสูงมาก ซึ่งมีทั้งสารอินทรีย์
ส า ร อ นิ น ท รี ย์ เ ชื้ อ โ ร ค แ ล ะ ส า ร พิ ษ ต่ า ง ๆ เ จื อ ป น อ ยู่
เ มื่ อ น้ า เ สี ย จ า ก ก อ ง ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ไ ห ล ไ ป ต า ม พื้ น ดิ น บ ริ เ ว ณ ใ ด
ก็จะทาให้บริเวณนั้น เกิดความสกปรกและความเสื่อมโทรมของพื้น ดิน และอาจเปลี่ยนสภาพ
ท า ใ ห้ ดิ น มี คุ ณ ส ม บั ติ เ ป็ น ดิ น ด่ า ง ห รื อ ดิ น ก ร ด ไ ด้
ใน กรณี ที่ น้ าเสี ยจากกอง ขยะ มูลฝอยไห ลลงสู่แห ล่ง น้ าก็จะ ทาใ ห้ คุณ ภ าพ น้ าเสี ยไป
ทั้ ง นี้ ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น แ ห ล่ ง น้ า ผิ ว ดิ น ห รื อ แ ห ล่ ง น้ า ใ ต้ ดิ น ก็ ต า ม
ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้ใช้น้าและสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในแหล่งน้า น้าที่สกปรกมากหรือมีสารพิษเจือปนอยู่
ก็อาจทาใ ห้ สัตว์น้ าตายใน เวลาอัน สั้ น น อกจากนั้ น สิ่ งส กปรกต่าง ๆที่ เจือปน ใ น น้ า
ก็จ ะ ส่ ง ผ ล ต่อ ร ะ บ บ นิ เว ศ ข อ ง น้ า ท าใ ห้ สั ต ว์น้ าที่ มี ค่า บ าง ช นิ ด สู ญ พั น ธุ์ ไ ป
น อ ก จ าก นี้ น้ า ที่ มีสิ่ ง ส ก ป ร ก เ จื อ ป น ย่อ ม ไ ม่เ ห ม า ะ แ ก่ก า ร อุ ป โ ภ ค บ ริ โ ภ ค
แ ม้จ ะ น า ไ ป ป รั บ ป รุ ง คุ ณ ภ า พ แ ล้ ว ก็ ต า ม เช่ น ก า ร ท า ร ะ บ บ น้ า ป ร ะ ป า
ซึ่งก็ต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ามากขึ้น
๕ . ข ยะ มูลฝ อ ยท าใ ห้ เกิด ม ลพิ ษ แ ก่อาก าศ ข ยะ มูล ฝ อ ยที่ ก อง ทิ้ ง ไว้ใ น เข ตชุ มช น
ห รื อ ที่ ก อ ง ทิ้ ง ไ ว้ ใ น แ ห ล่ ง ก า จั ด ซึ่ ง ไ ม่ มี ก า ร ฝั ง ก ล บ
ห รื อ ข ณ ะ ที่ ท า ก า ร เ ก็ บ ข น โ ด ย พ า ห น ะ ที่ ไ ม่มี ก า ร ป ก ปิ ด อ ย่ า ง มิ ด ชิ ด
ขยะมูลฝอยเหล่านั้นส่งกลิ่นเหม็นน่ารังเกียจออกมา
ผลกระทบจากขยะมูลฝอยต่อเศรษฐกิจ
ก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การจัดการขยะทาให้เกิดค่าใช้จ่าย ตั้งแต่การเก็บรวบรวม การเก็บขน
ก า ร แ ป ร ส ภ า พ ก า ร ก า จั ด ห รื อ ก า ร ท า ล า ย
นอกจากนั้นยังต้องจัดห าซื้อที่ดินเพื่อการฝังกลบและการติดตั้งเครื่องเผาขยะซึ่งมีราคาแพ ง
ยิ่งมีขยะมากก็ยิ่งส่งผลกระทบต่อรายได้ทางเศรษฐกิจมาก
ผลกระทบจากขยะมูลฝอยต่อภาวะโลกร้อน
การที่เราทิ้งขยะทุกประเภทรวมกันโดยไม่แยกนั้น ทาให้ขยะที่สามารถนามาใช้ใหม่ได้ (Reuse)
แล ะ ข ยะ ที่ ส ามารถ น าไป รี ไซ เคิ ลได้ ( Recycle) ถูก ทิ้ ง รวม ไป กับ ข ยะ เปี ยก ทั้ ง ห ล าย
และ อาจจะ ไม่ได้ถูกน ามาใช้ประ โยช น์ ได้อีก และที่อัน ตรายมากก็คือขยะที่เป็ น สารพิ ษ
15
พวกบรรจุภัณฑ์สารเคมี กระป๋ องยาฉีดกันยุง พ วกห ลอดไฟซึ่งมีสารเคมีฉาบไว้ถ่านไฟฉาย
เห ล่านี้ ล้วนเป็ น อันตรายต่อสิ่งแวดล้อมมากๆ ถ้าเราเอาทิ้งไปรวมกับขยะอื่นๆโดยที่ไม่แยก
สารเคมีก็จะไห ลลงสู่พื้น ดิน ถ้าถูกเผาก็จะเป็ น ก๊าซพิษลอยขึ้นไปใน อากาศ ห รือถ้าถูกฝั่ ง
ก ร ะ บ ว น ก า ร ย่ อ ย ส ล า ย ก็ จ ะ ท า ใ ห้ เ กิ ด ก๊ า ซ พิ ษ ล อ ย ขึ้ น ไ ป ใ น อ า ก า ศ
ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและเป็นสาเหตุหนึ่ง
ใ น บ้ า น เ ร า ยั ง ไ ม่ มี ก ฎ ห ม า ย ที่ เ ข้ ม ง ว ด เ กี่ ย ว กั บ ก า ร แ ย ก ข ย ะ
แต่ถ้าเราทุกคนช่วยกันทาก็คงจะดีต่อสิ่งแวดล้อม เวลาจะทิ้งก็ให้เราแยกระหว่าง ขยะเปียก แก้ว พลาสติก
แ ล ะ ข ย ะ ที่ เป็ น พิ ษ เว ล าเ ข าเ ก็บ ไ ป จ ะ ไ ด้ ส ามา ร ถ น าไ ป ก า จัด ไ ด้อ ย่าง ถู ก วิธี
บรรจุภัณฑ์ประ เภ ทแก้วน อกจากจะ ดีต่อสิ่ งแวดล้อม เพ ราะว่าสามารถน ามารีไซเคิลได้
นอกจากนั้นยังดีต่อสุขภาพของเราอีกด้วย เพราะขวดแก้วจะไม่ทาปฏิกิริยาต่อสิ่งที่บรรจุอยู่ในนั้น
ซึ่งหมายความว่ามันดีต่อสุขภาพของเรา และถือว่าเป็นบรรจุภัณฑ์ของยุคภาวะโลกร้อน
การดาเนินงานจัดการขยะมูลฝอย
แนวทางจัดการขยะมูลฝอย
1. กาจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิชาการ เช่น การเผาในเตาเผาขยะ การฝังกลบอย่างถูกสุขลักษณะ
และการหมักทาปุ๋ย เป็นต้น
ซึ่ งแต่ละ วิธีมีความแตกต่าง กัน ใน ด้าน ต้น ทุน การดาเนิ น ง าน ความพ ร้อมของ องค์กร
ปริมาณและประเภทของขยะ
2. จัดการขยะ โดยอาศัยหลัก 5 R คือ
– Reduce การลดปริมาณขยะ โดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์สิ้นเปลือง
– Reuse การนามาใช้ซ้า เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลัง เป็นต้น
– Repair การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆ ให้สามารถใช้งานต่อได้
– Reject การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ
– Recycle การแปรสภาพและหมุนเวียนนากลับมาใช้ได้ใหม่ โดยนาไปผ่านกระบวนการผลิตใหม่อีกครั้ง
3. การแยกขยะ เพื่อลดขยะที่ต้องนาไปกาจัดจริงๆ ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น
– ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนามากลับมาใช้ได้อีก ได้แก่ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก
– ขยะเปียกสามารถนามาหมักทาปุ๋ยน้าชีวภาพ
– ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องฉีดสเปรย์ ต้องมีวิธีกาจัดที่ปลอดภัย
16
4. ส่งเสริมการผลิตที่สะอาดใน ภาคการผลิต โดยลดการใช้วัสดุ ลดพลังงาน และลดมลพิษ
เ พิ่ ม ศั ก ย ภ า พ ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ห มุ น เ วี ย น
การนาของเสียกลับมาใช้ประโยชน์และการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีอายุการใช้งานได้นานขึ้น
5. ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนรวมลงทุนและดาเนินการจัดการขยะ
6. ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการจัดการขยะอย่างถูกหลักวิชาการ
7 . ร ณ ร ง ค์ แ ล ะ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ เพื่ อ ส ร้ า ง จิ ต ส านึ ก ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น เ ข้ า ใ จ
และยอมรับว่าเป็นภาระหน้าที่ของตนเอง ในการร่วมมือกันจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชน
วิธีการกาจัดขยะมูลฝอย
วิธีการกาจัดขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน (Integratedsolid waste disposal)
1) การเผาในเตาเผา (Incineration)เตาเผาที่สามารถเผาขยะชนิดต่างๆ ได้อย่างสมบูรณ์ จะไม่ทาให้เกิดกลิ่น
และควัน รบกวน,ไม่ก่อให้เกิดอากาศเป็นพิษ ความร้อนของเตาเผาขยะที่ใช้โดยทั่วไปคือระหว่าง 676 -
1 1 0 0 อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ย ส , ณ ที่ ค ว า ม ร้ อ น 6 7 6 อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ย ส
จะช่วยทาให้ก๊าซที่เกิดขึ้นจากการเผาขยะถูกเผาไหม้ได้อย่างสมบูรณ์,ที่อุณหภูมิ 760 องศาเซลเซียส
จ ะ ท า ใ ห้ ก า ร เ ผ า ไ ห ม้ ไ ม่ มี ก ลิ่ น ร บ ก ว น
อย่างไรก็ตามการกาจัดขยะมูลฝอยโดยวิธีนี้เหมาะกับขยะติดเชื้อบางชนิด เช่น ขยะติดเชื้อจากโรงพยาบาล
2) วิธีฝังกลบแบบขุดเป็นร่อง (Trend Method) เหมาะสาหรับพื้นที่ซึ่งเป็นที่ราบ โดยขุดดินเป็นร่องลึก2-3
เมตร ผนังด้าน ข้างควรทามุม 30 องศากับแนวระดับ ก้นร่องควรกว้างประมาณ 3 -10 เมตร
ดินที่ขุดขึ้นจะกองไว้ข้าง ๆ เพื่อสะดวกใน การนามาปิดทับหน้าขยะ เมื่อนาขยะมาเทกองในร่อง
ก็ใ ช้ ร ถ แ ท ร ก เต อ ร์ เก ลี่ ย แ ล ะ บ ด อั ด ข ย ะ ใ ห้ แ น่ น ห ลั ง จ าก นั้ น ตั ก ดิ น ข้า ง ๆ
มาปิ ดทับและบดอัดขยะด้วยรถแทรกเตอร์อีกครั้ง ดินที่นามาบดทับหน้าขยะหน า 10-15 ซม.
สาห รับความห น าของ ดิน ที่จะ ใช้บด อัดเพื่ อปิ ดทับห น้ าร่อง ควรมีความห น า 15-60
ซม.และร่องดินที่จะเตรียมขึ้นใหม่ ควรขุดให้ห่างจากร่องเดิมไม่น้อยกว่า 60 ซม.
3) วิธีฝังกลบขยะมูลฝอยแบบกลบบนพื้นดิน (Area Method) เป็นวิธีฝังกลบที่เริ่มจากระดับดินเดิม
โดยไม่มีการขุดดิน โดยบดอัดขยะตามแนวราบก่อน แล้วค่อยบดอัดทับในชั้นถัดไปจนถึงระดับที่กาหนดไว้
ท า คั น ดิ น ต า ม แ น ว ข อ ง พื้ น ที่ ก่อ น เพื่ อ ท า ห น้ า ที่ เ ป็ น ผ นั ง ห รื อ ข อ บ ยั น
ส ามาร ถ ป้ อ ง กัน น้ าเสี ย ที่ เกิด จาก การ ย่อ ยส ล าย ไม่ใ ห้ น้ าเสี ย ซึ ม อ อ กด้าน น อ ก
ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มหรือที่มีระดับน้า ใต้ดินสูงหรือน้าใต้ดินอยู่ต่ากว่าผิวดินเล็กน้อย
( ไ ม่เกิ น 1 เม ต ร ) ไ ม่ส า ม าร ถ ขุ ด ดิ น เพื่ อ ก า จัด ด้ ว ย วิธี ก ล บ แ บ บ ขุ ด ร่อ ง ไ ด้
เพราะจะทาให้เกิดการปนเปื้อนของน้าโสโครกจากขยะต่อน้าใต้ดิน
17
4) การทาปุ๋ ยหมัก (Composting)การกาจัดมูลฝอยโดยวิธีนี้ เป็นวิธีที่นิยมทาต่อเนื่องกันมาจนถึงปัจจุบัน
เพ ร าะ ป ร ะ โ ย ช น์ ที่ ไ ด้คื อ ปุ๋ ย อิ น ท รี ย์ ส า มาร ถ น าไ ป ใ ช้ ใ น ด้ าน เก ษ ต รก ร ร ม
เช่นใช้เป็นปุ๋ยปลูกต้นไม้ได้เป็นอย่างดี
วิธีการทาปุ๋ยหมัก (Composting)
คัดแยกเอาขยะที่ไม่มีคุณค่าที่จะนามาทาเป็นปุ๋ยออก เช่น เศษกระป๋อง แก้วโลหะ และถุงพลาสติก
ฯลฯเหลือเฉพาะขยะที่สามารถจะถูกย่อยสลายโดยเชื้อจุลินทรีย์ได้ทาให้ขยะเป็นชิ้นเล็กๆโดยส่งเข้าเครื่อง
หั่ น บ ด ข ย ะ จ ะ ถู ก น า ไ ป เ ข้ า ถั ง ห มั ก ถ้ า เ ป็ น ร ะ บ บ ใ ช้ อ า ก า ศ ย่อ ย ส ล า ย
จะเป็นถังเปิดให้มีการระบายอากาศเข้าออกได้สะดวก ถังหมักจะเรียงซ้อนกันเป็นชั้น ๆเป็ นแถว ๆ
มีป ระ มาณ 5 ชั้น โดย ขยะ ที่เข้ามาใ น ครั้ งแรกจะ อยู่ถัง ชั้น บ น สุ ด เมื่อห มักครบ 1 วัน
จะถูกพลิกกลับถ่ายลงถังซึ่งอยู่ในชั้นล่างถัดไปขนาดถังหมัก ลึกประมาณ 0.90 –1.20 ม. X2.5 –3.0
ม.ด้าน ข้าง ข อง ถัง ห มัก จะ ท าเป็ น รู โด ยรอบ เพื่ อ ใ ห้ มีก ารระ บ ายอากาศได้รอบ ถัง
จะช่วยให้จุลินทรีย์ทาปฏิกิริยาย่อยสลายได้มากที่สุดระยะเวลาของการย่อยสลายโดยระบบที่ใช้อากาศ
( Aerobic Process) นี้ ใ ช้ เ ว ล า ป ร ะ ม า ณ 5 -6 วั น
ก็จะทาให้เกิดการย่อยสลายของอินทรีย์สารได้ค่อนข้างสมบูรณ์ความร้อนที่เกิดขึ้นจากการหมัก
จะทาให้พวกเชื้อโรคที่ติดมากับขยะหยุดการเจริญเติบโต และตายไปได้ ขยะที่หมักโดยสมบูรณ์นี้
จะมีความปลอดภัยมากพอที่จะนามาใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์
อีกวิธีหนึ่ งที่เลือกใช้ในการหมักขยะพวกที่มีความชื้นสูง คือ ระบบหมักไร้อากาศ (Anaerobic
Process) คือเป็นการหมักขยะชนิดทีไม่ต้องใช้อากาศหรือ ออกซิเจนในการย่อยสลายจึงต้องหมักในถังปิด
การ ห มัก ใ ช้เว ล าน าน ก ว่าวิธี Aerobic Process ป รก ติ จ ะ ใ ช้ เว ล าป ร ะ มาณ 1 -3 เดื อ น
จะย่อยสลายขยะได้สมบูรณ์ จึงจะนามาใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ได้ เช่นกัน
นอกจากจะใช้วิธีกาจัดขยะมูลฝอยชนิดต่าง ๆแล้ว แผนการลดขยะมูลฝอยจากแหล่งกาเนิด
และการนามูลฝอยกลับไปใช้ใหม่ จะทาให้แผนการกาจัดมูลฝอยโดยรวมมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
แนวทางการแก้ไขปัญหา
1. เร่ง รัด ใ ห้ ท้อ ง ถิ่น เท ศบ าล สุ ขาภิ บ าล ทุ กแ ห่ง ท าแ ผน การจัดก ารข ยะ มูล ฝอ ย
ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวในการดาเนินการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่การเก็บรวบรวมการขนส่ง การบาบัด
และการกาจัดขั้นสุดท้าย ตลอดจนการเร่งจัดหาที่ดินสาหรับใช้กาจัดขยะมูลฝอยได้อย่างเพียงพอในระยะยาว
และดาเนินการให้มีการกาจัดอย่างถูกสุขลักษณะ
2. เร่งรัด ให้มีการก่อสร้างโรงงาน กาจัดขยะมูลฝอยให้ได้มาตรฐาน และมีประสิ ทธิภ าพ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเมืองศูน ย์กลางความเจริญใน ภูมิภาค
และเมืองท่องเที่ยวที่สาคัญ
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is

More Related Content

More from Boonwiset Seaho

บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องBoonwiset Seaho
 
บทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำบทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำBoonwiset Seaho
 
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานบทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานBoonwiset Seaho
 
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานบทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานBoonwiset Seaho
 
บทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำบทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำBoonwiset Seaho
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องBoonwiset Seaho
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)Boonwiset Seaho
 
งานนำเสนอ Is3
งานนำเสนอ Is3งานนำเสนอ Is3
งานนำเสนอ Is3Boonwiset Seaho
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาBoonwiset Seaho
 

More from Boonwiset Seaho (14)

It news 1
It news 1It news 1
It news 1
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำบทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำ
 
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานบทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
 
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานบทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
 
บทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำบทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำ
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
 
งานนำเสนอ Is3
งานนำเสนอ Is3งานนำเสนอ Is3
งานนำเสนอ Is3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
It news
It newsIt news
It news
 
It news
It newsIt news
It news
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
 
Google glass
Google glassGoogle glass
Google glass
 

Recently uploaded

ตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdfตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่าง_หนังสือความสำเร็จเริ่มจากรายล้อมตัวเองด้วยคนที่ใช่.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือความสำเร็จเริ่มจากรายล้อมตัวเองด้วยคนที่ใช่.pdfตัวอย่าง_หนังสือความสำเร็จเริ่มจากรายล้อมตัวเองด้วยคนที่ใช่.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือความสำเร็จเริ่มจากรายล้อมตัวเองด้วยคนที่ใช่.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่าง_หนังสือทักษะออกแบบชีวิตที่ใช้ได้ตลอดชีวิต.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือทักษะออกแบบชีวิตที่ใช้ได้ตลอดชีวิต.pdfตัวอย่าง_หนังสือทักษะออกแบบชีวิตที่ใช้ได้ตลอดชีวิต.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือทักษะออกแบบชีวิตที่ใช้ได้ตลอดชีวิต.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ _ความลับเรื่องเงินที่แม่อยากบอกลูกก่อนตาย.pdf
ตัวอย่างหนังสือ _ความลับเรื่องเงินที่แม่อยากบอกลูกก่อนตาย.pdfตัวอย่างหนังสือ _ความลับเรื่องเงินที่แม่อยากบอกลูกก่อนตาย.pdf
ตัวอย่างหนังสือ _ความลับเรื่องเงินที่แม่อยากบอกลูกก่อนตาย.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ_กล้าที่จะเลิก คำว่าพ่ายแพ้ไม่ได้หมายความว่าพยายามไม่พอ.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_กล้าที่จะเลิก คำว่าพ่ายแพ้ไม่ได้หมายความว่าพยายามไม่พอ.pdfตัวอย่างหนังสือ_กล้าที่จะเลิก คำว่าพ่ายแพ้ไม่ได้หมายความว่าพยายามไม่พอ.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_กล้าที่จะเลิก คำว่าพ่ายแพ้ไม่ได้หมายความว่าพยายามไม่พอ.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่าง_หนังสือสำเร็จทุกเป้าหมายด้วยการจัดระเบียบชีวิตดิจิทัล.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือสำเร็จทุกเป้าหมายด้วยการจัดระเบียบชีวิตดิจิทัล.pdfตัวอย่าง_หนังสือสำเร็จทุกเป้าหมายด้วยการจัดระเบียบชีวิตดิจิทัล.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือสำเร็จทุกเป้าหมายด้วยการจัดระเบียบชีวิตดิจิทัล.pdfPiyapong Sirisutthanant
 

Recently uploaded (6)

ตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdfตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdf
 
ตัวอย่าง_หนังสือความสำเร็จเริ่มจากรายล้อมตัวเองด้วยคนที่ใช่.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือความสำเร็จเริ่มจากรายล้อมตัวเองด้วยคนที่ใช่.pdfตัวอย่าง_หนังสือความสำเร็จเริ่มจากรายล้อมตัวเองด้วยคนที่ใช่.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือความสำเร็จเริ่มจากรายล้อมตัวเองด้วยคนที่ใช่.pdf
 
ตัวอย่าง_หนังสือทักษะออกแบบชีวิตที่ใช้ได้ตลอดชีวิต.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือทักษะออกแบบชีวิตที่ใช้ได้ตลอดชีวิต.pdfตัวอย่าง_หนังสือทักษะออกแบบชีวิตที่ใช้ได้ตลอดชีวิต.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือทักษะออกแบบชีวิตที่ใช้ได้ตลอดชีวิต.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ _ความลับเรื่องเงินที่แม่อยากบอกลูกก่อนตาย.pdf
ตัวอย่างหนังสือ _ความลับเรื่องเงินที่แม่อยากบอกลูกก่อนตาย.pdfตัวอย่างหนังสือ _ความลับเรื่องเงินที่แม่อยากบอกลูกก่อนตาย.pdf
ตัวอย่างหนังสือ _ความลับเรื่องเงินที่แม่อยากบอกลูกก่อนตาย.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_กล้าที่จะเลิก คำว่าพ่ายแพ้ไม่ได้หมายความว่าพยายามไม่พอ.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_กล้าที่จะเลิก คำว่าพ่ายแพ้ไม่ได้หมายความว่าพยายามไม่พอ.pdfตัวอย่างหนังสือ_กล้าที่จะเลิก คำว่าพ่ายแพ้ไม่ได้หมายความว่าพยายามไม่พอ.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_กล้าที่จะเลิก คำว่าพ่ายแพ้ไม่ได้หมายความว่าพยายามไม่พอ.pdf
 
ตัวอย่าง_หนังสือสำเร็จทุกเป้าหมายด้วยการจัดระเบียบชีวิตดิจิทัล.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือสำเร็จทุกเป้าหมายด้วยการจัดระเบียบชีวิตดิจิทัล.pdfตัวอย่าง_หนังสือสำเร็จทุกเป้าหมายด้วยการจัดระเบียบชีวิตดิจิทัล.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือสำเร็จทุกเป้าหมายด้วยการจัดระเบียบชีวิตดิจิทัล.pdf
 

รูปเล่ม Is

  • 1. โครงงาน ลดขยะลดมลพิษ เรื่อง จัดทาโดย นายบุญวิเศษ แซ่ฮ้อ เลขที่ 3 นายสิรภพ สัมมาคุณ เลขที่ 5 นายกิตติภพ บุญเลิศ เลขที่ 7 นางสาวฌัชรินทร์ สุขสมเลขที่ 13 นางสาวมนต์นภา อินทร์แสง เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายวิชา IS3 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
  • 2. สารบัญ เนื้อหา หน้า คำนำ............................................................................................................................................ก กิตติกรรมประกำศ............................................................................................................................. ข เกี่ยวกับโครงกำร...............................................................................................................................ค บทที่ 1...........................................................................................................................................1 หลักกำรและเหตุผล....................................................................................................................... 1 2.กำรบูรนำกำรปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง....................................................................................... 1 3.วัตถุประสงค์ของโครงกำร............................................................................................................. 2 4.สถำนที่ ดำเนินกำร...................................................................................................................... 2 5.วิธีกำรดำเนินงำน........................................................................................................................ 2 6.ระยะเวลำกำรดำเนินงำน............................................................................................................. 2 7.รำยละเอียดงบประมำณของโครงกำร.............................................................................................. 2 8.ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ............................................................................................................ 3 บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง................................................................................................................... 4 ควำมหมำยของขยะชนิดต่ำงๆ..........................................................................................................4 แหล่งกำเนิดขยะ........................................................................................................................... 6 สำเหตุของมลพิษทำงขยะ................................................................................................................ 7 สำเหตุปัญหำขยะในเมืองไทย...........................................................................................................7 ผลเสียที่เกิดจำกขยะมูลฝอย........................................................................................................... 10 ผลกระทบจำกขยะมูลฝอยต่อสิ่งแวดล้อม........................................................................................... 11 ผลกระทบของขยะมูลฝอยต่อสภำวะแวดล้อม ..................................................................................... 13 ผลกระทบจำกขยะมูลฝอยต่อเศรษฐกิจ............................................................................................. 14 ผลกระทบจำกขยะมูลฝอยต่อภำวะโลกร้อน........................................................................................ 14 กำรดำเนินงำนจัดกำรขยะมูลฝอย.................................................................................................... 15 วิธีกำรกำจัดขยะมูลฝอย................................................................................................................ 16
  • 3. วิธีกำรทำปุ๋ ยหมัก (Composting) ................................................................................................... 17 แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ............................................................................................................... 17 กำรคัดแยกขยะมูลฝอย................................................................................................................. 18 ภำชนะรองรับขยะมูลฝอย.............................................................................................................. 19 บทที่ 3 วิธีกำรดำเนินงำน.................................................................................................................. 20 วัสดุอุปกรณ์ .............................................................................................................................. 20 วิธีกำรดำเนินงำน........................................................................................................................ 20 บทที่ 4 ผลกำรดำเนินงำน................................................................................................................. 22 บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรำย............................................................................................................... 23 สรุปผลและอภิปรำยผล................................................................................................................. 23 ประโยชน์ที่ได้รับ......................................................................................................................... 24 ข้อเสนอแนะ.............................................................................................................................. 24 ภำคผนวก..................................................................................................................................... 24 บรรณำนุกรม................................................................................................................................. 27
  • 4. สารบัญรูปภาพ รูปที่ หน้า ภาพที่ 1 ศึกษาค้นคว้าเรื่องที่จะทาโครงการ…………………………………………………….23 ภาพที่ 2 นาเสนอโครงการ………………………………………………………………………23 ภาพที่ 3 จัดทาบอร์ดความรู้หน้าห้องม. 6/1……………………………………………………..24 ภาพที่ 4 ติดใบความรู้ตามที่ต่างๆตามอาคารเรียน……………………………………………....24 ภาพที่ 5 ให้เพื่อนๆและน้องร่วมกันทาแบบประเมิน…………………………………………..25 ภาพที่ 6 นักเรียนศึกษาความรู้เรื่องปัญหาขยะ…………………………………………………..25
  • 5. ก คานา จากการเราได้ศึกษาถึงปัญหาของขยะเราก็พบว่าในปัจจุบันขยะเป็นมลพิษที่อันตราย และยังเป็นปัญหาอย่างยิ่งสาหรับหลายๆประเทศในโลกนี้ด้วย รวมทั้งในโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ กาญจนบุรี ก็มีปัญหาเกี่ยวกับการทิ้งขยะไม่เป็นที่ ทาให้บริเวณโรงเรียนอาจเกิดมลพิษทางอากาศและส่งผลร้ายต่างๆตามมาได้กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้มีการจัด ทาป้ายนิเทศให้ความรู้ในเรื่องของขยะและปลูกจิตสานึกในการทิ้งขยะให้กับบุคคลในโรงเรียนเพื่อหวังว่าโ รงเรียนจะสะอาดยิ่งขึ้น กลุ่มของข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานการลดขยะลดมลพิษ จะเป็นประโยชน์แก่โรงเรียนและสามารถเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมอนุรักษ์โลกของเราได้ หากกลุ่มของข้าพเจ้าทาผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 6. ข กิตติกรรมประกาศ โครงการเรื่องลดขยะลดมลพิษสาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ได้แก่อาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ที่ได้ให้คาปรึกษา แนะนา ชี้แนะในการศึกษาค้นคว้า แนะนาขั้นตอนและวิธีจัดทาโครงงานจนสาเร็จลุล่วงด้วยดี คณะผู้จัดทาจึงขอขอบคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณเพื่อน และน้องๆที่ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมโครงการในครั้งนี้ ตลอดจนได้ให้คาปรึกษาแนะนาการจัดทาโครงการจนประสบผลสาเร็จ ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียน และสมาชิกในกลุ่มที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทาโครงการครั้งนี้จนกระทั่งประสบความสาเร็จด้วยดี คณะผู้จัดทา
  • 7. ค เกี่ยวกับโครงการ เรื่อง ลดขยะลดมลพิษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ IS3 ผู้จัดทา นายบุญวิเศษ แซ่ฮ้อ นายสิรภพ สัมมาคุณ นายกิตติภพ บุญเลิศ นางสาวฌัชรินทร์ สุขสม นางสาวมนต์นภา อินทร์แสง ครูที่ปรึกษา ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม สถานศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ปีการศึกษา 2558
  • 8. 1 บทที่ 1 โครงการ ลดขยะลดมลพิษ หลักการและเหตุผล ปั จ จุบั น อัต ราก ารเพิ่ ม ขึ้ น ข อ ง ป ร ะ ช าก ร โ ล ก เป็ น ไ ป อ ย่าง อ ย่าง รว ด เร็ ว ควบคู่ไปกับการบุกรุกทาลายทรัพยากรป่ าไม้เพื่อแสวงห าที่ดิน ทากินของประช ากรโลก มี ก า ร ใ ช้ ที่ ดิ น เ พิ่ ม ขึ้ น มี ก า ร ผ ลิ ต เพื่ อ ก า ร อุ ป โ ภ ค บ ริ โ ภ ค เพิ่ ม ม า ก ขึ้ น เป็นเหตุให้เกิดขยะเศษสิ่งของเหลือใช้มีปริมาณมากขึ้น มนุษย์เราผลิตขยะในแต่ละวันโดยเฉลี่ยวัน ๑ กิโลกรัมประชากรโลกกว่า ๖,๐๐๐ ล้านคน ก็จะผลิตขยะมีปริมาณมากมายมหาศาลสูงถึงวันละ ๖,๐๐๐ ล้านกิโลกรัม แล้วขยะเหล่านี้ประกอบด้วยอะไรกันบ้าง ขยะถูกนาไปจากัดอย่างไร ใน ปั จจุบัน ปั ญ ห าสิ่ งแวดล้อมของ ประ เทศไทยที่ควรใ ห้ความสาคัญ อย่างยิ่งคือ ปัญหาขยะที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทุกวันนี้คนไทยกว่า60 ล้านคน สามารถสร้างขยะได้มากถึง 14 ล้าน ตัน ต่อปี แต่ความสามารถ ใ น การจัดเก็บขยะ กลับมีไม่ถึง 70 % ของ ขยะ ที่เกิดขึ้ น จึ ง ท า ใ ห้ เ กิ ด ป ริ ม า ณ มู ล ฝ อ ย ต ก ค้ า ง ต า ม ส ถ า น ที่ ต่ า ง ๆ หรือมีการนาไปกาจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยภ ายใน โรงเรียน ก็เป็ น อีกสถาน ที่ ห นึ่ งที่มีปั ญ ห าเรื่ องการทิ้ งขยะ ไม่เป็ น ที่ ซึ่ ง มี ผ ล ท า ใ ห้ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ภ า ย ใ น โ ร ง เ รี ย น เ ป็ น ม ล พิ ษ เพื่อเป็นการทาให้สภาพแวดล้อมดีขึ้นจึงมีการจัดทาบอร์ดให้ความรู้เกี่ยวกับการทิ้งขยะให้ถูกที่และให้ความ รู้เกี่ยวกับมลพิษทางขยะกับนักเรียนภายใน โรงเรียน เพื่อเป็ น การให้เห็นถึงปัญหาของขยะ และยังเป็นการช่วยลดปัญหาการทิ้งขยะไม่ถูกที่ 2.การบูรนาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ก. ความพอประมาณ กลุ่มเราเลือกทากิจกรรมในโรงเรียน ทาให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และประหยัดเวลาในการจัดกิจกรรม ข. ความมีเหตุผล เนื่องจากในโรงเรียนของเรานั้นมีพื้นที่บริเวณที่ยังสกปรกอยู่ พวกเราจึงเลือกจัดกิจกรรมนี้ในโรงเรียน ค. การมีภูมิคุ้นกันที่ดี เนื่องจากกลุ่มของพวกเราไม่ค่อยมีเวลาในการทากิจกรรม เราจึงเลือกทากิจกรรมนี้แค่ในโรงเรียนของเรา ง. เงื่อนไข 1.เงื่อนไขความรู้ มีความรู้ในการจาแนกประเภทขยะก่อนทิ้ง เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมกับขยะประเภทต่างๆ
  • 9. 2 2.เงื่อนไขคุณธรรม สมาชิกในกลุ่มแบ่งหน้าที่กันทางาน มีการทางานกันเป็นทีม ร่วมแรงร่วมใจกันทางานด้วยความสามัคคี เพื่อให้กิจกรรมนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี 3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนภายในโรงเรียนมีจิตสานึกในการทิ้งขยะให้ถูกที่ 2. เพื่อให้พื้นที่ภายในโรงเรียนให้มีความสะอาดขึ้น 4.สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี154 หมู่ที่ 1 ตาบลท่าล้อ อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี 71000 5.วิธีการดาเนินงาน 1. ขั้นเตรียมการ - ปรึกษาสมาชิกในกลุ่มเกี่ยวกับการทาโครงการ - หาข้อมูล 2. ขั้นดาเนินการ - หาข้อมูลจัดทาบอร์ดให้ความรู้เกี่ยวกับการทิ้งขยะให้ถูกต้อง - จัดหาอุปกรณ์ในการทาบอร์ด - ลงมือทาบอร์ดให้ความรู้เกี่ยวกับการทิ้งขยะให้ถูกต้อง - ให้ความรู้เกี่ยวกับการทิ้งขยะให้ถูกต้องแก่นักเรียนภายในโรงเรียน - ให้นักเรียนภายในโรงเรียนทาแบบสอบถามเกี่ยวกับโครงการนี้ - เขียนโครงการ - สรุปโครงการ - จัดทาเว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูล 6. ระยะเวลาการดาเนินงาน เดือน พฤษภาคม –กันยายน 2558 7. รายละเอียดงบประมาณของโครงการ - ค่าอุปกรณ์จัดบอร์ด 150 บาท
  • 11. 4 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ข ย ะ ห ม า ย ถึ ง สิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและอุปโภคซึ่งเสื่อมสภาพจนใช้การไม่ได้หรือไม่ต้องการใช้แล้ว บางชนิดเป็นของแข็งหรือกากของเสีย มีผลเสียต่อสุขภาพทางกายและจิตใจเนื่องจากความสกปรก เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคทาให้เกิดมลพิษและทัศนะอุจาดมูลฝอย มูลฝอย หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้าเศษอาหารเศษสินค้าถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น ความหมายของขยะชนิดต่างๆ จาแนกประเภทได้ดังนี้ 1. ขยะมูลฝอยที่เผาไหม้ได้ เช่น เศษไม้, ใบหญ้า, พลาสติก, กระดาษ, ผ้า, สิ่งทอ, ยาง ฯลฯ 2. ขยะมูลฝอยที่เผาไหม้ไม่ได้ ได้แก่เศษโลหะ เหล็ก แก้ว กระเบื้อง เปลือกหอย หิน ฯลฯ 3. ขยะมูลฝอยที่ไม่เป็นพิษหรือขยะมูลฝอยทั่วไป ได้แก่ขยะมูลฝอยที่เกิดจากบ้านเรือน ร้านค้า เช่น พวกเศษอาหาร กระดาษ พลาสติก เปลือกและใบไม้ เป็นต้น 4.ขยะมูลฝอยที่เป็นพิษ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตมนุษย์ตลอดจนสิ่งแวดล้อมอื่นๆได้แก่ ของเสียที่มีส่วนประกอบของสารอันตรายหรือของเสียที่มีฤทธิ์กัดกร่อนหรือติดไฟง่าย หรือมีเชื้อโรค ติดต่อปะปนอยู่เช่น ซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดฟลูออเรสเซ นต์ กาก สารเคมี สาลี และผ้าพันแผลจากโรงพยาบาล ถ้าแบ่งประเภทขยะตามลักษณะของส่วนประกอบของขยะมูลฝอย มีประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. กระดาษ ถุงกระดาษ กล่อง ลัง เศษกระดาษจากสานักงาน 2. พลาสติก มีความทน ทานต่อการทาลายได้สู ง วัสดุ ห รือผลิตภัณฑ์ที่ทาจากพลาสติก เช่น ถุงภาชนะของเด็กเล่น ของใช้ 3. แก้ว วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่ทาจากแก้ว เช่น ขวด หลอดไฟ เศษกระจก ฯลฯ 4 . เ ศ ษ อ า ห า ร ผั ก ผ ล ไ ม้ ซึ่ ง เ ป็ น ส า ร ป ร ะ ก อ บ อิ น ท รี ย์ ย่อ ย ส ล า ย ไ ด้ ง่ า ย เ ป็ น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ส า คั ญ ที่ ท า ใ ห้ ข ย ะ เ กิ ด ก ลิ่ น เ ห ม็ น ส่งกลิ่นรบกวนหากไม่มีการเก็บขนออกจากแหล่งทิ้งทุกวัน
  • 12. 5 5. ผ้าสิ่งทอต่าง ๆที่ทามาจากเส้นใยธรรมชาติ และใยสังเคราะห์ เช่น ผ้าไนล่อน ขนสัตว์ ลินิน ฝ้าย 6. ยางและหนัง เช่น รองเท้า กระเป๋า บอล 7. ไม้เศษเฟอร์นิเจอร์ โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ 8. หิน กระเบื้อง กระดูก และเปลือกหอย พวกนี้ไม่เน่าเปื่อย พบมากในแหล่งก่อสร้างตึกที่ทุบทิ้ง 9. โลหะต่าง ๆ เช่น กระป๋อง ลวด สายไฟ ตาปู 10. อื่น ๆที่ไม่อาจจัดกลุ่มได้ ถ้าแบ่งประเภทขยะตามแหล่งที่มา 1. ขยะมูลฝอยจากถนน ( StreetRefuse ) ได้แก่เศษสิ่งของต่าง ๆ ที่ปรากฏและกวาดจากถนน ตรอก ซอย เช่น เศษกระดาษ ผง ฝุ่น ใบไม้พลาสติก อิฐ หิน ทราย กรวด 2. ขยะมูลฝอยที่เกิดจากสิ่งที่เหลือจากการเผาไหม้ที่เรียกว่า ขี้เถ้า ( Ashes) เช่น เถ้าที่เกิดจาก เตาไฟ, การเผาถ่าน ฯลฯ 3. ขยะมูลฝอยจากการก่อสร้าง ( Contruction Refuse ) ได้แก่เศษวัสดุก่อสร้าง เช่น เศษไม้เศษกระเบื้อง เศษปูน อิฐหัก ฯลฯ 4 . ข ย ะ มู ล ฝ อ ย จ า ก ก า ร รื้ อ ถ อ น สิ่ ง ก่ อ ส ร้ า ง ( Demolition Refuse ) ไ ด้ แ ก่ เศษสิ่งที่ไม่ต้องการที่เกิดจากการรื้อถอนอาคาร บ้านเรือนเก่า ฯลฯ 5. ซากสัตว์ ( Dead Animal ) จากสัตว์ตาย เน่าเปื่อย เหม็น 6.ซากยานพาหนะ ( Abandond Vehicles) ทุกชนิดที่หมดสภาพ ใช้งานไม่ได้ รวมทั้งชิ้นส่วนประกอบ เช่น แบตเตอรี่ ยาง ฯลฯ 7. ขยะมูลฝอยจากโรงงาน อุตสาห กรรม ( IndustrialRefuse ) ได้แก่เศษวัตถุที่เกิดจากการผลิต หรือขั้นตอนการผลิต 8 . ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ป ร ะ เ ภ ท ท า ล า ย ย า ก ( Hazardous Refuse ) ไ ด้ แ ก่ ขยะมูลฝอยที่ต้องการใช้กรรมวิธีทาลายเป็นพิเศษ เช่น พลาสติก ฟิลม์ถ่ายรูป กากแร่ธาตุต่าง ๆ 9. ขยะสด ( Garbage ) 10. ขยะแห้ง ( Rubbish ) 11. ขยะพิเศษ ( Special Wastes )
  • 13. 6 12. ของใช้ชารุด ( Buldy Wastes ) 13. ขยะจากการกสิกรรม ( Agricultural Wastes ) 14. กากตะกอนของน้าโสโครก ( Sewage treatment residues ) ประเภทของขยะมูลฝอย ที่สานักรักษาความสะอาดของกรุงเทพมหานคร กล่าวไว้มี 3ประเภทใหญ่คือ 1.มูลฝอยเปียกได้แก่พวกเศษอาหาร เศษพืชผักเปลือกผลไม้อินทรีย์วัตถุที่สามารถย่อยสลายเน่าเปื่อยง่าย มีความชื้นสูง และส่งกลิ่นเหม็นได้รวดเร็ว 2. มูลฝอยแห้ง ได้แก่พวกเศษกระดาษ เศษผ้า แก้ว โลหะ ไม้พ ลาสติก ยาง ฯลฯ ขยะมูลฝอย ชนิดนี้จะมีทั้งที่เผาไหม้ได้และเผาไหม้ไม่ได้ขยะแห้ง เป็นขยะมูลฝอยที่สามารถเลือกวัสดุที่ยังมีประโยชน์ ก ลั บ ม า ใ ช้ ไ ด้ อี ก โดยการทาคัดแยกมูลฝอยก่อนนาทิ้งซึ่งจะช่วยให้สามารถลดปริมาณมูลฝอยที่จะต้องนาไปทาลายลงได้ และถ้านาส่วนที่ใช้ประโยชน์ได้นี้ไปขายก็จะทารายได้กลับคืนมา 3. ขยะมูลฝอยอัน ตราย มูลฝอยนี้ ได้แก่ของเสียที่เป็ นพิษ มีฤทธิ์ กัดกร่อน และระเบิดได้ง่าย ต้องใช้กรรมวิธีในการทาลายเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นวัสดุที่มีอันตราย เช่น สารฆ่าแมลง ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ รถยนต์ หลอดไฟ สเปรย์ฉีดผม ฯลฯ แหล่งกาเนิดขยะ ขยะเป็นสิ่งที่เหลือใช้หรือสิ่งที่ไม่ต้องการอีกต่อไปสามารถแบ่งตามแหล่งกาเนิดได้ดังนี้ 1 .ข อ ง เ สี ย จ า ก อุ ต ส า ห ก ร ร ม ข อ ง เ สี ย อั น ต ร า ย ทั่ ว ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย 7 3 %มาจากระบบอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ยังไม่มีการจัดการที่เหมาะสมโดยทิ้งกระจายอยู่ตามสิ่งแวดล้อมและทิ้ งร่วมกับมูลฝอยรัฐบาลได้ก่อตั้งศูนย์กาจัดกากอุตสาหกรรมขึ้นแห่งแรกที่แขวงแสมดาเขตบางขุนเทียน เริ่มเปิดบริการตั้งแต่2531ซึ่งก็เพียงสามารถกาจัดของเสียได้บางส่วน 2.ของเสียจากโรงพยาบาลและสถานที่ศึกษาวิจัย ของเสียจากโรงพยาบาลเป็นของเสียอันตรายอย่างยิ่ง เช่น ขยะติดเชื้อเศษอวัยวะจากผู้ป่วยและการรักษาพยาบาลรวมทั้งของเสียที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีสารเคมีได้ ทิ้งสู่สิ่งแวดล้อมโดยปะปนกับมูลฝอยสิ่งปฏิกูลเป็นการเพิ่มความเสี่ยงในการแพร่กระจายของเชื้อโรคและส ารอันตราย 3.ของเสียจากภาคเกษตรกรรม เช่นยาฆ่าแมลง ปุ๋ย มูลสัตว์ น้าทิ้งจากการทาปศุสัตว์ ฯลฯ 4.ของเสียจากบ้านเรือนแหล่งชุมชน เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉายแบตเตอรี่ แก้วเศษอาหารพลาสติกโลหะ หินไม้กระเบื้อง หนัง ยาง ฯลฯ
  • 14. 7 5. ของเสียจากสถานประกอบการในเมือง เช่น ภัตตาคาร ตลาดสด วัด สถานเริงรมย์ แหล่งชุมชน กิจกรรมอุตสาห กรรม และกิจกรรมเกษตร จัดได้ว่าเป็ นแหล่งกาเนิดของขยะมูลฝอยที่สาคัญ เ มื่ อ ป ร ะ ช า ก ร เ พิ่ ม ขึ้ น ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ก็ จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น เ ป็ น เ ง า ต า ม ตั ว ประกอบกับมีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ก็ยิ่งทาให้มีขยะมูลฝอยใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย ขยะมูลฝอยเหล่านี้มีทั้งขยะมูลฝอยทั่วไปและของเสียอันตราย สาเหตุของมลพิษทางขยะ 1. ความมัก ง่ายและ ขาดความส านึ กถึ งผ ลเสี ยที่จะ เกิดขึ้ น เป็ น สาเห ตุที่ พ บบ่อยมาก ซึ่งจะเห็น ได้จากการทิ้งขยะลงตาพื้น ห รือแห ล่งน้ า โดยไม่ทิ้งลง ในถังรองรับที่จัดไว้ใ ห้ และโรงงานอุตสาหกรรมบางแห่งลักลอบนาสิ่งปฏิกูลไปทิ้งตามที่ว่างเปล่า 2. การผลิตหรือใช้สิ่งของมากเกินความจาเป็น เช่น การผลิตสินค้าที่มีกระดาษหรือพลาสติกหุ้มหลายชั้น และการซื้อสินค้าโดยห่อแยกหรือใส่ถุงพลาสติกหลายถุง ทาให้มีขยะปริมาณมาก 3.การเก็บและทาลาย หรือนาขยะไปใช้ประโยชน์ไม่มีประสิทธิภาพ จึงมีขยะตกค้าง กองหมักหมม และส่งกลิ่นเหม็นไปทั่วบริเวณจนก่อปัญหามลพิษให้กับสิ่งแวดล้อม สาเหตุปัญหาขยะในเมืองไทย ปัญหาขยะในเมืองไทยเป็นปัญหาโลกแตก เป็นเวลาหลายสิบปีที่เจ้าหน้าที่ทางราชการ หน่วยงานวิจัย สถ าบัน ท าง การศึก ษ า พ ยายามห าห น ท าง ใ น ก ารแก้ไขปั ญ ห าเรื่ อ ง ขยะ ล้น เมือ ง ไม่มีที่ใ ดยอมให้ ก่อสร้าง โรง กาจัดขยะ ใกล้ที่อยู่อาศัยของตน เอง ทาไมจึงเป็ น เช่น นั้ น ทั้ ง ๆ ที่ เสี ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ตั้ ง ม า ก ม า ย พ า เจ้ า ห น้ า ที่ ไ ป ดู ง า น ที่ ต่า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ ช้ ง บ ป ร ะ ม า ณ ใ น ก า ร ร ณ ร ง ค์ ใ ห้ ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร แ ก้ไ ข ปั ญ ห าเ รื่ อ ง ข ย ะ มีเ ท ค โ น โ ล ยี ม า ก มา ย ที่ ส า มา ร ถ จ ะ น า ม าใ ช้ ใ น ก าร แ ก้ไ ข ปั ญ ห า เรื่ อ ง ข ย ะ แต่ปัจจุบันยังไม่มีที่ไหนในประเทศไทยสามารถจัดการขยะได้อย่างครบวงจรเป็นที่พึงพอใจของคนทุกฝ่าย เพื่อให้ง่ายสรุปได้เป็นข้อๆดังนี้ 1.ประชาชนยังยึดติดกับการแก้ไขปัญหาขยะแบบเดิมๆ สถานที่มีกลิ่นเหม็น สกปรกไม่น่าชวนมอง จนทาให้ไม่มีใครยอมที่จะให้มีการสร้างโรงกาจัดขยะในบริเวณใกล้เคียงกับที่ตนเองอยู่อาศัย เนื่องจากว่าก็ยังไม่มีที่ใดใน ประ เทศไทย มีระ บบจัดการขยะ ที่ประสบความสาเร็จ สะอาด สถานที่น่าชวนมองอย่างที่ไปดูงานที่ต่างประเทศ
  • 15. 8 2.เทศบาลไม่มีแหล่งกาจัดขยะเนื่องจากสาเหตุข้อแรก เพราะไม่รู้ว่าจะชี้แจงยังไงให้ประชาชนในพื้น ที่เข้าใจ จึ ง ต้ อ ง น า ข ย ะ ไ ป ทิ้ ง ใ น พื้ น ที่ ห่ า ง ไ ก ล น อ ก พื้ น ที่ ใ น ป่ า ส ถ า น ที่ ร ก ร้ า ง สร้างปัญหาให้กับชุมชนในพื้นที่นั้นๆตามมา 3.ทุกคนยังมองไม่เห็นคุณค่าของขยะเพราะว่ามีมูลค่าเล็กน้อย ไม่ทราบว่าขยะบางชนิดมีมูลค่า เมื่อแยกขยะแล้วจะไปขายที่ไหนหรือมีวิธีใดบ้างที่จะจัดการขยะได้โดยเปลี่ยนให้เป็นรายได้เข้ามา 4.เนื่ อง จากทาง ภ าค รัฐยัง ไม่มีสถ าน ที่แล ะ วีธี การที่ถูก ต้อง ใน การแ ก้ไข ปั ญ ห าขยะ มีการกาจัดขยะที่สามารถรองรับการแยกขยะได้ จึงทาให้โครงการรณรงค์ให้ประชนคัดแยกขยะ ไ ม่ ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ เ ป็ น เ พี ย ง แ ค่ ไ ฟ ไ ห ม้ ฟ า ง ใ น ช่ ว ง ต้ น ๆ แต่เมื่อประชาชนคัดแยกขยะแล้วกลับไม่มีการเก็บขยะแบบแยก เพื่อน าไปกาจัดอย่างถูกวิธี ขยะเศษอาหารถูกเก็บนาไปปนกับขยะทั่วไปเช่นเดิม 5.การหาวิธีการจัดการขยะยังไม่ลงลึกเพียงพอในการแก้ไขปัญหาขยะตามสถุานที่อยู่อาศัยที่ต่างๆกัน บ้านเรือน ตลาดสด อาคารพาณิชย์ โรงเรียน อาคารสูงอย่างโรงแรมและคอนโดมิเนียมชมชนชนบท บ า ง ที่ ส า ม า ร ถ ก า จั ด ข ย ะ ไ ด้ ด้ ว ย ตั ว เ อ ง บ า ง ที่ ท า ไ ด้ เ พี ย ง แ ย ก ข ย ะ ทาให้แต่ละ ที่จะต้องมีวิธีการจัดการที่แตกต่างกัน เราสงเสริมให้ประ ชาชน ทาปุ๋ ยจากขยะ แ ต่ ผู้ ที่ อ ยู่ อ า ศั ย ใ น อ า ค า ร สู ง อ า ค า ร พ า ณิ ช ย์ ไม่รู้ว่าจะเอาปุ๋ ยไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรเพราะไม่ได้มีพื้นที่ปลูกพืช นี่เป็นตัวอย่างชี้ให้เห็นอย่างง่ายๆ ที่แสดงให้เห็นเด่นชัดถึงการใช้วิธีจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสมกับสถานที่ 6.เทคโนโลยีที่ใช้กาจัดขยะ สามารถกาจัดขยะได้เฉพาะขยะแยกประเภท ไม่ว่าจะเป็นการทาปุ๋ยหมักจากขยะ การทาก๊าซชีวภาพจากขยะเศษอาหาร การนาขยะมาเผาเป็นพลังงานความร้อนเพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้ า แ ต่ ข ย ะ ที่ เ ข้ า สู่ ก ร ะ บ ว น ก า ร ก า จั ด ยั ง ไ ม่ ไ ด้ แ ย ก อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ ทาให้เทคโนโลยีดังกล่าวประสบปัญหาในการดาเนินการ 7.การขัดผลประโยชน์ของกลุ่มผู้ฝังกลบขยะ โครงการใหม่ที่จะเกิดขึ้นเพื่อพัฒนาระบบกาจัดขยะจึงถูกระงับ ถูกต่อต้านจากชุมชนโดยมีผู้มีอิทธิผลที่เสียผลประโยชน์หนุนอยู่ภายหลัง จ า ก ส า เ ห ตุ ห ลั ก ๆ เ ห ล่ น นี้ ท า ใ ห้ ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ข ย ะ ยั ง ค ง ไ ม่ มี ค ว า ม คื บ ห น้ า แ ล ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า ห นั ก ขึ้ น ทุ ก วั น ดัง นั้ น แน วท าง ใ น ก ารแก้ไขปั ญ ห าขยะ จึง ต้อ ง มีการปรับ เปลี่ ยน แน วท าง วิธี การ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ เ ห ม า ะ ส ม ใ น แ ต่ ล ะ พื้ น ที่ ที่ มี ส ถ า น ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น ใช้ลักษณะเด่นของแต่ละพื้นที่มาแก้ไขปัญหาเรื่องขยะ อย่างเช่น
  • 16. 9 1 .ใ น ชุ ม ช น ที่ ห่ า ง ไ ก ล จ า ก ตั ว เ มื อ ง มี พื้ น ที่ เพ า ะ ป ลู ก ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร เป็ น ชุ มช น ที่ มีค วาม ต้อ ง ก ารปุ๋ ย ห มัก จ าก ข ยะ เพ รา ะ ต้อ ง ใ ช้ ใ น ก ารเพ าะ ป ลู ก การใช้ปุ๋ ยหมักจากขยะสามารถลดค่าใช้จ่ายในการใช้ปุ๋ ยเคมี ซึ่งน่าจะมีการรวมกลุ่มของเกษตรกร เพื่อทาโครงการปุ๋ ยหมักจากขยะสด ขยะเศษผักเศษอาหาร เพื่อความยั่งยืนในการทาการเกษตร และเป็นการช่วยภาครัฐในการแก้ไขปัญหาขยะ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับขยะ 2.ในชุมชนเมืองใหญ่มีปริมาณขยะเป็ นจานวนมาก โดยเฉพาะตลาดสด ตลาดค้าส่งสินค้าเกษตร เ ป็ น แ ห ล่ ง ผ ลิ ต ข ย ะ ที่ ส า ม า ร ถ ย่ อ ย ส ล า ย ไ ด้ เ ป็ น จ า น ว น ม า ก ซึ่งขยะที่ว่านี้เป็นวัตถุดิบชั้นดีในการนามาผลิตปุ๋ยหมักเนื่องจากมีการเจือปนของขยะชนิดอื่นเช่นพลาสติก ก ร ะ ด า ษ ข ว ด แ ก้ ว น้ อ ย หากมีการทาข้อตกลงร่วมในการส่งขยะที่คัดแยกแต่เศษผักเศษอาหารใ ห้กับกลุ่มเกษตรกร ก็จะสามารถทาขยะที่เคยเป็นปัญหา เป็นประโยชน์ขึ้นมาได้ 3.การจัดพื้น ที่ใ ห้มีการรับซื้ อขยะ ที่สามารถรีไซเคิลได้ ป ระ จาเดือน ตามชุมช น ต่าง ๆ โ ด ย ข อ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ค้ า ข อ ง เ ก่ า เริ่มต้นโดยการะประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงราคาที่รับซื้อของขยะชนิดต่างๆ สถานที่รับซื้อ และ วัน เวลาที่จะ มารับซื้อเป็ น ประ จา วีธีการนี้ จะทาให้ผู้ค้าของเก่ามีผู้ใช้บริการมากขึ้ น มี ป ริ ม า ณ ข ย ะ ที่ จ ะ น า ส่ ง โ ร ง ง า น รี ไ ซ เ คิ ล ไ ด้ ม า ก ขึ้ น ประชาชนมีรายได้มากขึ้นจากการแยกขยะและเก็บสะสมขยะเพื่อจาหน่าย เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสในภาวะที่ข้าวของทุกอย่างมีราคาแพง 4.บ้าน ที่ อยู่อาศัย มีบริ เวณ บ้าน ที่ เป็ น ส วน ส ามารถแยกขยะ เศษอาห ารกาจัดเอง ได้ โดยทาบ่อฝั่งย่อยสลายเสษอาหารได้ทาให้ขยะที่จะทาการกาจัดไม่มีขยะเศษอาหารปนอยู่ไม่เกิดกลิ่นเหม็น ท า ใ ห้ ก า ร แ ย ก ข ย ะ เ พื่ อ รี ไ ซ เ คิ ล ท า ไ ด้ ง่ า ย แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ การแยกขยะที่ต้นทางสามารถทาได้ดีกว่าการแยกขยะที่ปลายทาง 5.ผู้ที่ อ ยู่อ าศัย ใ น อาค ารสู ง อ ย่าง อ าค ารพ าณิ ช ย์ ตึ ก แถ ว ห อ พั ก ค อน โด มิเนี ย ม ผู้ที่ อยู่อาศัยประ เภ ท นี้ ไม่สามารถกาจัดขยะ ด้วยตัวเอง ได้ เนื่ อง จากข้อกาจัดใ น พื้ น ที่ ผู้ที่ พั ก อ าศัย อ ยู่ใ น อ าค ารป ร ะ เภ ท นี้ ท าไ ด้เพี ยง แ ย ก ข ย ะ ร ะ ห ว่าง เศ ษ อ าห า ร ข ย ะ ทั่ ว ไ ป ที่ ส า ม า ร ถ รี ไ ซ เ คิ ล ไ ด้ แ ล ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ รี ไ ซ เ คิ ล ไ ด้ ท าง เท ศบ าล ห าก ส ามารถ ก าจัดแ บ บ แ ยก ป ระ เภ ท ได้ มีการท าปุ๋ ย จาก เศ ษ อาห าร อ า จ จ ะ ท า ก า ร เ ก็ บ ข ย ะ แ บ บ แ ย ก ป ร ะ เ ภ ท เ ช่ น แ ย ก สี ถุ ง ขยะที่ย่อยสลายได้แยกถุงเป็ น อีกสี หนึ่ งเพื่อเทศบาลจะได้แยกจัดเก็บเพื่อไปทาปุ๋ ยต่อไป ส่วนขยะทั่วไปที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ จะแยกเก็บเป็นถุงดาเพื่อนาไปคัดแยกหรือกาจัดต่อไป
  • 17. 10 6.การเริ่มทาการกาจัดแบบคัดแยก อาจะเริ่มโดยจากัดพื้นที่ก่อนเพื่อให้ง่ายต่อการเริ่มต้นประชาสัมพันธ์ อ ย่ า ง เ ช่ น ก า ร ข อ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ตลาดสดแห่งใดแห่งหนึ่ งก่อนเพื่อขอขยะที่คัดแยกเฉพาะเศษผักเศษอาหารเพื่อใช้ในการทาปุ๋ ย โ ร ง แ ร ม แ ห่ ง ใ ด แ ห่ ง ห นึ่ ง เ พื่ อ ใ ห้ มี ก า ร คั ด แ ย ก ข ย ะ ให้ห้องพักทุกห้องมีถึงขยะ แยกประ เภทระห ว่างขยะ รีไซเคิลและขยะ ทั่วไปเพื่อรอกาจัด หมู่บ้านใดหมู่บ้านห นึ่ งที่จะมีการเก็บขยะแบบแยกประเภท เกษตรกรกลุ่มหนึ่ งพื่อทาปุ๋ ยหมัก เมื่อเริ่มต้นในจุดเล็กๆสาเร็จย่อมจะเป็นตัวอย่างในการดูงานให้กับพื้นที่อื่นๆที่จะนามาเข้าร่วมโครงการต่อไ ป ผลเสียที่เกิดจากขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดปัญหาต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมหลายประการ คือ 1 .ท าใ ห้ เกิ ด ทั ศ น ะ อุ จ าด คื อ แ ล ดู ส ก ป ร ก ข าด ค ว าม เป็ น ร ะ เบี ย บ เรี ย บ ร้ อ ย เป็นที่น่ารังเกียจแก่ผู้อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงรวมทั้งผู้พบเห็น โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 2.เป็ น แห ล่ง เพ าะ แ ล ะ แ พ ร่เชื้ อ โร ค โ ดย เฉ พ าะ ข ยะ ติ ด เชื้ อ จาก ส ถ าน พ ยาบ าล และขยะเปี ยกที่แบคทีเรียทาหน้าที่ย่อยสลาย เชื้อโรคตามขยะจะแพร่ไปกับน้ า แมลง ห นู และสุนัขที่มาตอมหรือคุ้ยเขี่ย เช่น เชื้อที่ทาให้เกิดโรคอหิวาต์ ไทฟอยด์และโรคบิด 3.ทาให้ดินเสื่อมและเกิดมลพิษ เพราะจะทาให้พื้นดินสกปรกดินมีสภาพเป็นเกลือ ด่าง หรือกรด หรือมีสารพิษที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในดิน ตลอดจนทาให้สมบัติทางกายภาพของดินเปลี่ยนแปลงไป เช่น โซเดียมทาให้เนื้อดินแตกร่วน 4.ทาลายแหล่งน้า 4.1) ขยะ ที่ ต ก ใ น แ ห ล่ง น้ าลาค ล อง แ ล ะ ท่อ ระ บ ายน้ า จะ ท าใ ห้ แ ห ล่ง น้ าตื้น เขิ น การไหลของน้าไม่สะดวกจึงเกิดสภาวะน้าท่วมได้ง่าย 4.2 ) ท าใ ห้ เกิด ม ล พิ ษ ท า ง น้ า ใ น ลัก ษ ณ ะ ต่าง ๆ เช่น ท าใ ห้ น้ าเน่ า น้ าเป็ น พิ ษ น้ าที่ มีเชื้ อ โร ค แ ล ะ น้ าที่ มีค ร าบ น้ ามัน ซึ่ ง ไ ม่เห ม าะ กับ ก ารใ ช้อุ ป โ ภ ค บ ริ โ ภ ค สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงคุณภาพ เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะพืชและสัตว์น้า 4.3 ) ท าใ ห้ เกิด มล พิ ษ ท าง อ าก า ศ เพ รา ะ ก าร เผ าข ยะ ท าใ ห้ เ กิด ค วัน แ ล ะ ขี้ เถ้ า การหมักหมมและเน่าสลายของขยะ จะก่อให้เกิดก๊าซพิษและกลิ่นเหม็น
  • 18. 11 4.4) ก่อความราคาญและบั่นทอนสุขภาพของมนุษย์ เป็นผลจากการเกิดทัศนะอุจาด ก๊าซพิษ กลิ่นเหม็น เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคตลอดจนการเกิดมลพิษทางน้าและอากาศ 4.5) ทาให้เกิดอัคคีภัย เนื่องจากขยะหลายชนิดติดไฟได้ง่าย โดยเฉพาะเมื่อแห้ง 4.6) สร้างปัญหาในการจัดการ เช่น ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรวบรวมและกาจัด ผลกระทบจากขยะมูลฝอยต่อสิ่งแวดล้อม ข ย ะ เ ศ ษ วั ส ดุ ข อ ง เ สี ย มี ป ริ ม า ณ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น ทุ ก ข ณ ะ เนื่ องจากการขยายตัวของ เมือง การพัฒ น าเทคโน โลยีเพื่ออาน วยความสะ ดวกสบาย การอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น หากใช้วิธีกาจัดที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดปัญหาตามมา น้าเสียจากกองขยะ ( Leachate) มีความสกปรกสูง มีสภาพเป็นกรด มีเชื้อโรค หากน้าจากขยะรั่ว ไห ลปน เปื้ อน สู่สิ่ งแวดล้อม เป็ น ผลใ ห้เกิดอัน ตรายและ เกิดมลพิษใน บริเวณ ที่ปน เปื้ อน ดัง ใ น แ ห ล่ง ทิ้ ง ข ยะ ข อ ง เท ศ บ าล ต่าง ๆ ที่ เอ าข ย ะ ไ ป เ ท ก อ ง ไว้เป็ น ภู เข า ข ย ะ น้ า จ า ก ข ย ะ จ ะ ไ ห ล ซึ ม อ อ ก ท าง บ ริ เว ณ ข้า ง ก อ ง ส่ ว น ห นึ่ ง ก็ ซึ ม ล ง สู่ ใ ต้ ดิ น ใน ที่สุดก็ไปปน เปื้ อนกับน้ าใต้ดิน เกิดปัญห าต่อสุ ขภ าพ อน ามัยของชาวบ้าน ที่บริโภคน้ า ถ้ า น้ า จ า ก ก อ ง ข ย ะ ไ ห ล ซึ ม ล ง สู่ แ ห ล่ ง น้ า ใ น บ ริ เ ว ณ ใ ก ล้ เ คี ย ง ก็จะทาให้น้าในแหล่งน้านั้นเน่าเสียถ้าปนเปื้อนมากถึงขนาดก็จะทาให้สัตว์น้าต่าง ๆ เช่น กุ้ง หอยปู ปลากบ เขียด พืชน้ า ตายได้ เพราะขาดออกซิเจน และขาดแสงแดดที่จะส่งผ่านน้ า เนื่ องจากน้ ามีสีดา ห ากน้ าข ยะ มีการป น เปื้ อน ลง ใน แ ห ล่ง น้ าที่ใ ช้เพื่ อก ารอุป โภ คบ ริโภ คของ ชุมช น ก็จะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงคุณภาพน้ามากขึ้น ขยะมูลฝอยที่ทาให้เกิดมลพิษในอากาศ กองขยะมูลฝอยขนาดมหึมาของเทศบาล จะเกิดการหมัก โ ด ย จุ ลิ น ท รี ย์ ใ น ก อ ง ข ย ะ จ ะ เ กิด ก๊ า ซ ต่าง ๆ เป็ น อั น ต ร าย ต่อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม หากไม่มีการกาจัดก๊าซเหล่านี้ อย่างเหมาะสม ก๊าซที่เกิดขึ้นได้แก่มีเทน คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮ โด รเ จน ซั ล ไ ฟ ด์ ( ก๊ าซ ไข่เน่ า ) เ ป็ น ต้น แ ล ะ ยัง มีฝุ่ น ล ะ อ อ ง จา ก ก อ ง ข ย ะ ก่อให้เกิดปัญหากับระบบทางเดินหายใจ โรคผิวหนัง แก่ประชาชนที่อยู่ในบริเวณ ใกล้เคียง ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์หลายประการดังต่อไปนี้ คือ 1. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลง และพาหะของโรค ข ย ะ เ ศ ษ วั ส ดุ ข อ ง เ สี ย มี ป ริ ม า ณ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น ทุ ก ข ณ ะ เนื่ องจากการขยายตัวของ เมือง การพัฒ น าเทคโน โลยีเพื่ออาน วยความสะ ดวกสบาย การอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น หากใช้วิธีกาจัดที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดปัญหาตามมา
  • 19. 12 เนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนมากับขยะมูลฝอยมีโอกาสที่จะขยายพันธุ์เพิ่มจานวนมากยิ่งขึ้นได้ เพราะขยะมูลฝอยมีทั้งความชื้นและสารอินทรีย์ที่จุลินทรีย์ใช้เป็นอาหาร ขยะพวกอินทรีย์สารที่ทิ้งค้างไว้ จะเกิดการเน่าเปื่อยกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงวัน นอกจากนั้นพวกขยะที่ปล่อยทิ้งไว้นาน ๆ จะเป็ นที่อยู่อาศัยของหนู โดยหนูจะเข้ามาทารังขยายพันธุ์ เพราะมีทั้งอาหารและที่หลบซ่อน ดังนั้นขยะที่ขาดการเก็บรวบรวม และการกาจัด จึงทาให้เกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ที่สาคัญของเชื้อโรค แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซึ่งเป็นหาหะนาโรคมาสู่คน 2. เป็นบ่อเกิดของโรค เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ก า ร ก า จั ด ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ไ ม่ ดี หรือปล่อยปละละเลยทาให้มีขยะมูลฝอยเหลือทิ้งค้างไว้ในชุมชน จะเป็นบ่อเกิดของเชื้อโรคต่าง ๆ เช่น ตับอักเสบ เชื้อไทฟ อยด์ เชื้อโรคเอดส์ ฯลฯ เป็ น แห ล่ง กาเนิ ดและอาห ารของสัตว์ต่าง ๆ ที่เป็นพาหะนาโรคมาสู่คน เช่น แมลงวัน แมลงสาบ และหนู เป็นต้น 3. ก่อให้เกิดความราคาญ ขยะมูลฝอย การเก็บรวบรวมได้ไม่หมดก็จะเกิดเป็ นกลิ่นรบกวน กระจายอยู่ทั่วไปในชุมชน น อ ก จ า ก นั้ น ฝุ่ น ล ะ อ อ ง ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ก า ร ข น ถ่ า ย และการกาจัดขยะก็ยังคงเป็นเหตุราคาญที่มักจะได้รับการร้องเรียนจากประชาชนในชุมชนอยู่เสมอ อีกทั้งอุดจาดตาน่าขยะแขยง 4. ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ขยะมูลฝอยเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดมลพิษของน้ า มลพิษของดิน และมลพิษของอากาศ เนื่องจากขยะส่วนที่ขาดการเก็บรวบรวม หรือไม่นามากาจัดให้ถูกวิธี ปล่อยทิ้งค้างไว้ในพื้นที่ของชุมชน เมื่อมีฝน ตกลงมาจะ ไห ลช ะน าความสกปรก เชื้อโรค สา รพิษจากขยะไห ลลงสู่แห ล่ง น้ า ทาให้แห ล่งน้ าเกิดเน่าเสี ยได้ และ น อกจากนี้ ขยะมูลฝอยยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพ ดิน ซึ่งจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับคุณลักษณะของขยะมูลฝอย ถ้าขยะมีซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดฟลูออเรสเซนต์มาก ก็จะส่งผลต่อปริมาณโลหะหนักพวกปรอท แคดเมียม ตะกั่ว ในดินมาก ซึ่งจะ ส่งผลเสียต่อระบบนิ เวศน์ ในดิน และสารอิน ทรีย์ใน ขยะ มูลฝอยเมื่อมีการย่อยสลาย จ ะ ท า ใ ห้ เ กิ ด ส ภ า พ ค ว า ม เ ป็ น ก ร ด ใ น ดิ น และเมื่อฝนตกมาชะกองขยะมูลฝอยจะทาให้น้าเสียจากกองขยะมูลฝอยไหลปนเปื้อนดินบริเวณรอบ ๆ ทาให้ เกิดมลพิ ษของดิน ได้ การปน เปื้ อน ของ ดิน ยัง เกิดจากการน ามูลฝอยไป ฝัง กลบ ห รื อ ก า ร ยั ก ย อ ก น า ไ ป ทิ้ ง ท า ใ ห้ ข อ ง เ สี ย อั น ต ร า ย ป น เ ปื้ อ น ใ น ดิ น ถ้ามีการเผาขยะ มูลฝอยกลางแจ้ง ทาให้เกิดควัน มีสารพิษทาให้คุณ ภ าพ ของอากาศเสี ย ส่ ว น ม ล พิ ษ ท า ง อ า ก า ศ จ า ก ข ย ะ มู ล ฝ อ ย นั้ น
  • 20. 13 อาจเกิดขึ้ น ได้ทั้ง จากมลสารที่มีอยู่ใน ขยะ และ พ วกแก๊สห รื อไอระ เห ย ที่สาคัญ ก็คือ กลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเน่าเปื่อย และสลายตัวของอินทรีย์สารเป็นส่วนใหญ่ 5. ทาให้เกิดการเสี่ยงต่อสุขภาพ ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ที่ ทิ้ ง แ ล ะ ร ว บ ร ว ม โ ด ย ข า ด ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ โดยเฉพ าะ อย่าง ยิ่ง ขยะ มูลฝอ ยพ วกของ เสี ยอัน ตราย ถ้าข าดการจัดการที่ เห ม าะ ส ม ย่อ ม ก่อ ใ ห้ เ กิ ด ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ ง่ า ย เ ช่ น โรคทางเดินอาหารที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีแมลงวันเป็นพาหะ หรือได้รับสารพิษที่มากับของเสียอันตราย 6. เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ ขยะมูลฝอยปริมาณมาก ๆ ย่อมต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในการจัดการเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพ น อ ก จ า ก นี้ ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ไ ม่ว่า จ ะ เ ป็ น น้ า เ สี ย อ า ก า ศ เ สี ย ดินปนเปื้อนเหล่านี้ย่อมส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ 7. ทาให้ขาดความสง่างาม ก า ร เ ก็ บ ข น แ ล ะ ก า จั ด ที่ ดี จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ชุ ม ช น เ กิ ด ค ว า ม ส ว ย ง า ม มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยอันส่อแสดงถึงความเจริญและวัฒนธรรมของชุมชน ฉะนั้นหากเก็บขนไม่ดี ไม่ห มด ก าจัดไม่ดี ย่อมก่อให้ เกิดความไม่น่าดู ขาดความสวยงาม บ้าน เมือง สกป รก และความไม่เป็นระเบียบ ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ผลกระทบของขยะมูลฝอยต่อสภาวะแวดล้อม ข ย ะ มู ล ฝ อ ย นั้ น นั บ วัน จ ะ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น ต า ม จ า น ว น ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร ถ้าห ากไม่มีการกาจัดขยะ มูลฝอยให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว ปั ญห าความสกปรกต่าง ๆ ที่ เกิด จ าก ข ยะ มูล ฝอ ย จะ ต้อ ง เกิดขึ้ น อ ย่าง แ น่ น อ น ถ้าม อง กัน อ ย่าง ผิ ว เผิ น แ ล้ว ขยะมูลฝอยนั้นไม่ได้มีผลกระทบต่อมนุษย์มากนักทั้งนี้อาจเป็นเพราะผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรงต่อมนุษย์ ยังอยู่ในขั้นที่ไม่รุนแรงมากนัก ผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงไม่ชัดเจนเท่าไร แต่ในความเป็นจริงแล้ว ข ย ะ มู ล ฝ อ ย จ ะ ก่อ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า ต่ อ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก และจะมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ด้วย ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ทั้งนี้เนื่องจาก ๑. ขยะมูลฝอย เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงนาโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง ฯลฯ และเป็นที่ซุกซ่อนของหนูและสัตว์อื่นๆ ๒. ขยะมูลฝอย ทาให้เกิดกลิ่นเหม็นและก่อให้เกิดความราคาญ
  • 21. 14 ๓. ขยะมูลฝอยที่ทิ้งเกลื่อนกลาด ถูกลมพัดกระจัดกระจายไปตกอยู่ตามพื้น ทาให้พื้นที่บริเวณนั้นสกปรก ข าด ค ว ามส ว ยง าม เป็ น ที่ รั ง เกี ยจ แ ก่ผู้พ บ เ ห็ น แ ล ะ ผู้ที่ อ า ศัยบ ริ เว ณ ใ ก ล้ เคี ย ง นอกจากนี้ขยะมูลฝอยที่ตกอยู่หรือถูกทิ้งลงในคูคลอง หรือทางระบายน้าจะไปสกัดกั้นการไหลของน้า ทาให้แหล่งน้าสกปรกและเกิดการเน่าเสีย ๔.น้าเสียที่เกิดจากกองขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว้เป็นน้าเสียที่มีความสกปรกสูงมาก ซึ่งมีทั้งสารอินทรีย์ ส า ร อ นิ น ท รี ย์ เ ชื้ อ โ ร ค แ ล ะ ส า ร พิ ษ ต่ า ง ๆ เ จื อ ป น อ ยู่ เ มื่ อ น้ า เ สี ย จ า ก ก อ ง ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ไ ห ล ไ ป ต า ม พื้ น ดิ น บ ริ เ ว ณ ใ ด ก็จะทาให้บริเวณนั้น เกิดความสกปรกและความเสื่อมโทรมของพื้น ดิน และอาจเปลี่ยนสภาพ ท า ใ ห้ ดิ น มี คุ ณ ส ม บั ติ เ ป็ น ดิ น ด่ า ง ห รื อ ดิ น ก ร ด ไ ด้ ใน กรณี ที่ น้ าเสี ยจากกอง ขยะ มูลฝอยไห ลลงสู่แห ล่ง น้ าก็จะ ทาใ ห้ คุณ ภ าพ น้ าเสี ยไป ทั้ ง นี้ ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น แ ห ล่ ง น้ า ผิ ว ดิ น ห รื อ แ ห ล่ ง น้ า ใ ต้ ดิ น ก็ ต า ม ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้ใช้น้าและสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในแหล่งน้า น้าที่สกปรกมากหรือมีสารพิษเจือปนอยู่ ก็อาจทาใ ห้ สัตว์น้ าตายใน เวลาอัน สั้ น น อกจากนั้ น สิ่ งส กปรกต่าง ๆที่ เจือปน ใ น น้ า ก็จ ะ ส่ ง ผ ล ต่อ ร ะ บ บ นิ เว ศ ข อ ง น้ า ท าใ ห้ สั ต ว์น้ าที่ มี ค่า บ าง ช นิ ด สู ญ พั น ธุ์ ไ ป น อ ก จ าก นี้ น้ า ที่ มีสิ่ ง ส ก ป ร ก เ จื อ ป น ย่อ ม ไ ม่เ ห ม า ะ แ ก่ก า ร อุ ป โ ภ ค บ ริ โ ภ ค แ ม้จ ะ น า ไ ป ป รั บ ป รุ ง คุ ณ ภ า พ แ ล้ ว ก็ ต า ม เช่ น ก า ร ท า ร ะ บ บ น้ า ป ร ะ ป า ซึ่งก็ต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ามากขึ้น ๕ . ข ยะ มูลฝ อ ยท าใ ห้ เกิด ม ลพิ ษ แ ก่อาก าศ ข ยะ มูล ฝ อ ยที่ ก อง ทิ้ ง ไว้ใ น เข ตชุ มช น ห รื อ ที่ ก อ ง ทิ้ ง ไ ว้ ใ น แ ห ล่ ง ก า จั ด ซึ่ ง ไ ม่ มี ก า ร ฝั ง ก ล บ ห รื อ ข ณ ะ ที่ ท า ก า ร เ ก็ บ ข น โ ด ย พ า ห น ะ ที่ ไ ม่มี ก า ร ป ก ปิ ด อ ย่ า ง มิ ด ชิ ด ขยะมูลฝอยเหล่านั้นส่งกลิ่นเหม็นน่ารังเกียจออกมา ผลกระทบจากขยะมูลฝอยต่อเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การจัดการขยะทาให้เกิดค่าใช้จ่าย ตั้งแต่การเก็บรวบรวม การเก็บขน ก า ร แ ป ร ส ภ า พ ก า ร ก า จั ด ห รื อ ก า ร ท า ล า ย นอกจากนั้นยังต้องจัดห าซื้อที่ดินเพื่อการฝังกลบและการติดตั้งเครื่องเผาขยะซึ่งมีราคาแพ ง ยิ่งมีขยะมากก็ยิ่งส่งผลกระทบต่อรายได้ทางเศรษฐกิจมาก ผลกระทบจากขยะมูลฝอยต่อภาวะโลกร้อน การที่เราทิ้งขยะทุกประเภทรวมกันโดยไม่แยกนั้น ทาให้ขยะที่สามารถนามาใช้ใหม่ได้ (Reuse) แล ะ ข ยะ ที่ ส ามารถ น าไป รี ไซ เคิ ลได้ ( Recycle) ถูก ทิ้ ง รวม ไป กับ ข ยะ เปี ยก ทั้ ง ห ล าย และ อาจจะ ไม่ได้ถูกน ามาใช้ประ โยช น์ ได้อีก และที่อัน ตรายมากก็คือขยะที่เป็ น สารพิ ษ
  • 22. 15 พวกบรรจุภัณฑ์สารเคมี กระป๋ องยาฉีดกันยุง พ วกห ลอดไฟซึ่งมีสารเคมีฉาบไว้ถ่านไฟฉาย เห ล่านี้ ล้วนเป็ น อันตรายต่อสิ่งแวดล้อมมากๆ ถ้าเราเอาทิ้งไปรวมกับขยะอื่นๆโดยที่ไม่แยก สารเคมีก็จะไห ลลงสู่พื้น ดิน ถ้าถูกเผาก็จะเป็ น ก๊าซพิษลอยขึ้นไปใน อากาศ ห รือถ้าถูกฝั่ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ย่ อ ย ส ล า ย ก็ จ ะ ท า ใ ห้ เ กิ ด ก๊ า ซ พิ ษ ล อ ย ขึ้ น ไ ป ใ น อ า ก า ศ ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและเป็นสาเหตุหนึ่ง ใ น บ้ า น เ ร า ยั ง ไ ม่ มี ก ฎ ห ม า ย ที่ เ ข้ ม ง ว ด เ กี่ ย ว กั บ ก า ร แ ย ก ข ย ะ แต่ถ้าเราทุกคนช่วยกันทาก็คงจะดีต่อสิ่งแวดล้อม เวลาจะทิ้งก็ให้เราแยกระหว่าง ขยะเปียก แก้ว พลาสติก แ ล ะ ข ย ะ ที่ เป็ น พิ ษ เว ล าเ ข าเ ก็บ ไ ป จ ะ ไ ด้ ส ามา ร ถ น าไ ป ก า จัด ไ ด้อ ย่าง ถู ก วิธี บรรจุภัณฑ์ประ เภ ทแก้วน อกจากจะ ดีต่อสิ่ งแวดล้อม เพ ราะว่าสามารถน ามารีไซเคิลได้ นอกจากนั้นยังดีต่อสุขภาพของเราอีกด้วย เพราะขวดแก้วจะไม่ทาปฏิกิริยาต่อสิ่งที่บรรจุอยู่ในนั้น ซึ่งหมายความว่ามันดีต่อสุขภาพของเรา และถือว่าเป็นบรรจุภัณฑ์ของยุคภาวะโลกร้อน การดาเนินงานจัดการขยะมูลฝอย แนวทางจัดการขยะมูลฝอย 1. กาจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิชาการ เช่น การเผาในเตาเผาขยะ การฝังกลบอย่างถูกสุขลักษณะ และการหมักทาปุ๋ย เป็นต้น ซึ่ งแต่ละ วิธีมีความแตกต่าง กัน ใน ด้าน ต้น ทุน การดาเนิ น ง าน ความพ ร้อมของ องค์กร ปริมาณและประเภทของขยะ 2. จัดการขยะ โดยอาศัยหลัก 5 R คือ – Reduce การลดปริมาณขยะ โดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์สิ้นเปลือง – Reuse การนามาใช้ซ้า เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลัง เป็นต้น – Repair การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆ ให้สามารถใช้งานต่อได้ – Reject การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ – Recycle การแปรสภาพและหมุนเวียนนากลับมาใช้ได้ใหม่ โดยนาไปผ่านกระบวนการผลิตใหม่อีกครั้ง 3. การแยกขยะ เพื่อลดขยะที่ต้องนาไปกาจัดจริงๆ ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น – ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนามากลับมาใช้ได้อีก ได้แก่ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก – ขยะเปียกสามารถนามาหมักทาปุ๋ยน้าชีวภาพ – ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องฉีดสเปรย์ ต้องมีวิธีกาจัดที่ปลอดภัย
  • 23. 16 4. ส่งเสริมการผลิตที่สะอาดใน ภาคการผลิต โดยลดการใช้วัสดุ ลดพลังงาน และลดมลพิษ เ พิ่ ม ศั ก ย ภ า พ ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ห มุ น เ วี ย น การนาของเสียกลับมาใช้ประโยชน์และการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีอายุการใช้งานได้นานขึ้น 5. ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนรวมลงทุนและดาเนินการจัดการขยะ 6. ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการจัดการขยะอย่างถูกหลักวิชาการ 7 . ร ณ ร ง ค์ แ ล ะ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ เพื่ อ ส ร้ า ง จิ ต ส านึ ก ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น เ ข้ า ใ จ และยอมรับว่าเป็นภาระหน้าที่ของตนเอง ในการร่วมมือกันจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชน วิธีการกาจัดขยะมูลฝอย วิธีการกาจัดขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน (Integratedsolid waste disposal) 1) การเผาในเตาเผา (Incineration)เตาเผาที่สามารถเผาขยะชนิดต่างๆ ได้อย่างสมบูรณ์ จะไม่ทาให้เกิดกลิ่น และควัน รบกวน,ไม่ก่อให้เกิดอากาศเป็นพิษ ความร้อนของเตาเผาขยะที่ใช้โดยทั่วไปคือระหว่าง 676 - 1 1 0 0 อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ย ส , ณ ที่ ค ว า ม ร้ อ น 6 7 6 อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ย ส จะช่วยทาให้ก๊าซที่เกิดขึ้นจากการเผาขยะถูกเผาไหม้ได้อย่างสมบูรณ์,ที่อุณหภูมิ 760 องศาเซลเซียส จ ะ ท า ใ ห้ ก า ร เ ผ า ไ ห ม้ ไ ม่ มี ก ลิ่ น ร บ ก ว น อย่างไรก็ตามการกาจัดขยะมูลฝอยโดยวิธีนี้เหมาะกับขยะติดเชื้อบางชนิด เช่น ขยะติดเชื้อจากโรงพยาบาล 2) วิธีฝังกลบแบบขุดเป็นร่อง (Trend Method) เหมาะสาหรับพื้นที่ซึ่งเป็นที่ราบ โดยขุดดินเป็นร่องลึก2-3 เมตร ผนังด้าน ข้างควรทามุม 30 องศากับแนวระดับ ก้นร่องควรกว้างประมาณ 3 -10 เมตร ดินที่ขุดขึ้นจะกองไว้ข้าง ๆ เพื่อสะดวกใน การนามาปิดทับหน้าขยะ เมื่อนาขยะมาเทกองในร่อง ก็ใ ช้ ร ถ แ ท ร ก เต อ ร์ เก ลี่ ย แ ล ะ บ ด อั ด ข ย ะ ใ ห้ แ น่ น ห ลั ง จ าก นั้ น ตั ก ดิ น ข้า ง ๆ มาปิ ดทับและบดอัดขยะด้วยรถแทรกเตอร์อีกครั้ง ดินที่นามาบดทับหน้าขยะหน า 10-15 ซม. สาห รับความห น าของ ดิน ที่จะ ใช้บด อัดเพื่ อปิ ดทับห น้ าร่อง ควรมีความห น า 15-60 ซม.และร่องดินที่จะเตรียมขึ้นใหม่ ควรขุดให้ห่างจากร่องเดิมไม่น้อยกว่า 60 ซม. 3) วิธีฝังกลบขยะมูลฝอยแบบกลบบนพื้นดิน (Area Method) เป็นวิธีฝังกลบที่เริ่มจากระดับดินเดิม โดยไม่มีการขุดดิน โดยบดอัดขยะตามแนวราบก่อน แล้วค่อยบดอัดทับในชั้นถัดไปจนถึงระดับที่กาหนดไว้ ท า คั น ดิ น ต า ม แ น ว ข อ ง พื้ น ที่ ก่อ น เพื่ อ ท า ห น้ า ที่ เ ป็ น ผ นั ง ห รื อ ข อ บ ยั น ส ามาร ถ ป้ อ ง กัน น้ าเสี ย ที่ เกิด จาก การ ย่อ ยส ล าย ไม่ใ ห้ น้ าเสี ย ซึ ม อ อ กด้าน น อ ก ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มหรือที่มีระดับน้า ใต้ดินสูงหรือน้าใต้ดินอยู่ต่ากว่าผิวดินเล็กน้อย ( ไ ม่เกิ น 1 เม ต ร ) ไ ม่ส า ม าร ถ ขุ ด ดิ น เพื่ อ ก า จัด ด้ ว ย วิธี ก ล บ แ บ บ ขุ ด ร่อ ง ไ ด้ เพราะจะทาให้เกิดการปนเปื้อนของน้าโสโครกจากขยะต่อน้าใต้ดิน
  • 24. 17 4) การทาปุ๋ ยหมัก (Composting)การกาจัดมูลฝอยโดยวิธีนี้ เป็นวิธีที่นิยมทาต่อเนื่องกันมาจนถึงปัจจุบัน เพ ร าะ ป ร ะ โ ย ช น์ ที่ ไ ด้คื อ ปุ๋ ย อิ น ท รี ย์ ส า มาร ถ น าไ ป ใ ช้ ใ น ด้ าน เก ษ ต รก ร ร ม เช่นใช้เป็นปุ๋ยปลูกต้นไม้ได้เป็นอย่างดี วิธีการทาปุ๋ยหมัก (Composting) คัดแยกเอาขยะที่ไม่มีคุณค่าที่จะนามาทาเป็นปุ๋ยออก เช่น เศษกระป๋อง แก้วโลหะ และถุงพลาสติก ฯลฯเหลือเฉพาะขยะที่สามารถจะถูกย่อยสลายโดยเชื้อจุลินทรีย์ได้ทาให้ขยะเป็นชิ้นเล็กๆโดยส่งเข้าเครื่อง หั่ น บ ด ข ย ะ จ ะ ถู ก น า ไ ป เ ข้ า ถั ง ห มั ก ถ้ า เ ป็ น ร ะ บ บ ใ ช้ อ า ก า ศ ย่อ ย ส ล า ย จะเป็นถังเปิดให้มีการระบายอากาศเข้าออกได้สะดวก ถังหมักจะเรียงซ้อนกันเป็นชั้น ๆเป็ นแถว ๆ มีป ระ มาณ 5 ชั้น โดย ขยะ ที่เข้ามาใ น ครั้ งแรกจะ อยู่ถัง ชั้น บ น สุ ด เมื่อห มักครบ 1 วัน จะถูกพลิกกลับถ่ายลงถังซึ่งอยู่ในชั้นล่างถัดไปขนาดถังหมัก ลึกประมาณ 0.90 –1.20 ม. X2.5 –3.0 ม.ด้าน ข้าง ข อง ถัง ห มัก จะ ท าเป็ น รู โด ยรอบ เพื่ อ ใ ห้ มีก ารระ บ ายอากาศได้รอบ ถัง จะช่วยให้จุลินทรีย์ทาปฏิกิริยาย่อยสลายได้มากที่สุดระยะเวลาของการย่อยสลายโดยระบบที่ใช้อากาศ ( Aerobic Process) นี้ ใ ช้ เ ว ล า ป ร ะ ม า ณ 5 -6 วั น ก็จะทาให้เกิดการย่อยสลายของอินทรีย์สารได้ค่อนข้างสมบูรณ์ความร้อนที่เกิดขึ้นจากการหมัก จะทาให้พวกเชื้อโรคที่ติดมากับขยะหยุดการเจริญเติบโต และตายไปได้ ขยะที่หมักโดยสมบูรณ์นี้ จะมีความปลอดภัยมากพอที่จะนามาใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ อีกวิธีหนึ่ งที่เลือกใช้ในการหมักขยะพวกที่มีความชื้นสูง คือ ระบบหมักไร้อากาศ (Anaerobic Process) คือเป็นการหมักขยะชนิดทีไม่ต้องใช้อากาศหรือ ออกซิเจนในการย่อยสลายจึงต้องหมักในถังปิด การ ห มัก ใ ช้เว ล าน าน ก ว่าวิธี Aerobic Process ป รก ติ จ ะ ใ ช้ เว ล าป ร ะ มาณ 1 -3 เดื อ น จะย่อยสลายขยะได้สมบูรณ์ จึงจะนามาใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ได้ เช่นกัน นอกจากจะใช้วิธีกาจัดขยะมูลฝอยชนิดต่าง ๆแล้ว แผนการลดขยะมูลฝอยจากแหล่งกาเนิด และการนามูลฝอยกลับไปใช้ใหม่ จะทาให้แผนการกาจัดมูลฝอยโดยรวมมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น แนวทางการแก้ไขปัญหา 1. เร่ง รัด ใ ห้ ท้อ ง ถิ่น เท ศบ าล สุ ขาภิ บ าล ทุ กแ ห่ง ท าแ ผน การจัดก ารข ยะ มูล ฝอ ย ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวในการดาเนินการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่การเก็บรวบรวมการขนส่ง การบาบัด และการกาจัดขั้นสุดท้าย ตลอดจนการเร่งจัดหาที่ดินสาหรับใช้กาจัดขยะมูลฝอยได้อย่างเพียงพอในระยะยาว และดาเนินการให้มีการกาจัดอย่างถูกสุขลักษณะ 2. เร่งรัด ให้มีการก่อสร้างโรงงาน กาจัดขยะมูลฝอยให้ได้มาตรฐาน และมีประสิ ทธิภ าพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเมืองศูน ย์กลางความเจริญใน ภูมิภาค และเมืองท่องเที่ยวที่สาคัญ