SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
โปรแกรมย่อย เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่เฉพาะในแต่ละตัว
การแยกโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ มีข้อดีคือ
1.ลดความซ้าซ้อนในการเขียนโปรแกรมในส่วนที่ทางานอย่างเดียวกัน
2.ช่วยให้ทาความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย เพราะมีการแบ่งเป็นส่วนย่อยๆ
3.ทาให้สามารถแก้ไขและเพิ่มเติมการทางานของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
4.ช่วยให้นาโปรแกรมที่สร้างไปใช้งานในโปรแกรมอื่นได้ถ้าในโปรแกรมนั้นต้องการฟังก์ชัน
ในการทางานที่เหมือนกัน
1.โปรแกรมย่อย Sub มาจากคาว่า Subroutine เป็นโปรแกรมย่อยที่
เมื่อทางานอย่างหนึ่งเสร็จแล้วจะไม่มีการส่งผลการทางานกลับไปยังโปรแกรม
2.โปรแกรมย่อย Function เป็นโปรแกรมย่อยที่เมื่อทางานเสร็จแล้วจะ
คืนผลลัพธ์ที่ได้จากการทางานกลับไปยังโปรแกรมที่เรียกใช้งานฟังก์ชันนี้
เป็นโปรแกรมย่อยที่ถูกสร้างขึ้นมาทางานโดยที่อาจจะรับหรือไม่มีการรับ
ค่าพารามิเตอร์มาทางานก็ได้ แต่จะไม่มีการส่งผลการทางานกลับไปยังโปรแกรมที่
เรียกใช้งาน Subroutine นี้มีรูปแบบในการเขียน ดังนี้
เป็นโปรแกรมย่อยที่ถูกสร้างขึ้นมาทางานโดยที่อาจจะรับหรือไม่มีการ
รับค่าพารามิเตอร์มาทางานก็ได้ และเมื่อทางานเสร็จแล้วจะมีการส่งผลการทางาน
กลับไปยังโปรแกรมที่เรียกใช้งานฟังก์ชั่นนี้มีรูปแบบในการเขียน ดังนี้
1. พิมพ์ส่วนหัวของโปรแกรมย่อยลงในหน้าต่าง Code Editor จากนั้น
กด Enter
2. จะปรากฏข้อความ End Sub ของโปรแกรมย่อยนั้น จากนั้นพิมพ์
คาสั่งสร้างโปรแกรมย่อย
1. เลือกคลาสที่จะประกาศโปรแกรมย่อย จากรายการ Object ListBox
(เลือก Module1)
2. เลือกชื่อโปรแกรมย่อยที่ต้องการ จากรายการ Procedure ListBox
(เลือก MyFunction)
3. VB.NET จะแสดงโปรแกรมย่อยที่เลือก
เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้น ได้แก่
1.ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematic functions)
2.ฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร (character functions)
3.ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง (string functions)
4.ฟังก์ชันทั่วไปที่ใช้งานบ่อย ๆ
เป็นฟังก์ชันที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนที่จะ
ใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง #include แทรกอยู่ตอนต้นของ
โปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องมีชนิด (type) เป็น
double เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากฟังก์ชันประเภทนี้จะได้ค่าส่งกลับของ
ข้อมูลเป็น double เช่นกัน
ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่ควรทราบ มีดังนี้
acos(x) asin(x)
atan(x) floor(x)
sin(x) cos(x)
tan(x) sqrt(x)
exp(x) fabs(x)
ceil(x) pow(x,y)
log(x) log10(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลที่มีชนิดเป็น single char (ใช้เนื้อที่ 1 byte)
เท่านั้น และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง #include แทรกอยู่ตอนต้น
ของโปรแกรม จึงจะสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้
ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับตัวอักษรที่ควรทราบ มีดังนี้
isalnum(ch) isalpha(ch)
isdigit(ch) isxdigit(ch)
islower(ch) isupper(ch)
tolower(ch) toupper(ch)
isspace(ch)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลชนิดสตริง (string) โดยก่อนที่จะใช้ฟังก์ชัน
ประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง #include แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรมก่อน จึงจะ
เรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้
ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับสตริงที่ควรทราบ มีดังนี้
strlen(s) strcmp(s1,s2)
strcpy(s) trcat(s1,s2)
1. ฟังก์ชัน clrscr( ) 2. ฟังก์ชัน gotoxy(x,y)
รูปแบบ รูปแบบ
clrscr( ); gotoxy(x,y );
3. ฟังก์ชัน clreol( ) 4. ฟังก์ชัน atol(s)
รูปแบบ รูปแบบ
clreol( ); atol(s);
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน

More Related Content

Similar to โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)Boonwiset Seaho
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมIce Ice
 
Shreet5-3
Shreet5-3Shreet5-3
Shreet5-3sdcpnw
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานWorapod Khomkham
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานF'olk Worawoot
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานF'olk Worawoot
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2Kamonthip Konkaew
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2Kamonthip Konkaew
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2Kamonthip Konkaew
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานWasin Kunnaphan
 
ใบความรู้ที่ 1.1
ใบความรู้ที่  1.1ใบความรู้ที่  1.1
ใบความรู้ที่ 1.1Naowarat Jaikaroon
 

Similar to โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (15)

3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
 
Shreet5-3
Shreet5-3Shreet5-3
Shreet5-3
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
ใบความรู้ที่ 1.1
ใบความรู้ที่  1.1ใบความรู้ที่  1.1
ใบความรู้ที่ 1.1
 
presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 

More from Wasin Kunnaphan

More from Wasin Kunnaphan (20)

การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
แผ่นพับ3
แผ่นพับ3แผ่นพับ3
แผ่นพับ3
 
ไวนิล
ไวนิลไวนิล
ไวนิล
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
ไวนิล
ไวนิลไวนิล
ไวนิล
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ไวนิล
ไวนิลไวนิล
ไวนิล
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ของใช้จากขยะ2
ของใช้จากขยะ2ของใช้จากขยะ2
ของใช้จากขยะ2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน