SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ
สมมติฐาน
 ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเกิดจากการขาดความเชื่อมั่นในการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ
 ปัญหาสุขภาพจิตของผ้สูงอายุเกิดจากการนอนไม่หลับ
 ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเกิดจากการกลัวถูกทอดทิ้ง
 ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเกิดจากการกลัวตาย
 ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเกิดจากกลัวการไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากลูกหลาน
สมมติฐานที่เลือก
 ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเกิดจากกลัวการไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากลูกหลาน
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ผู้สูงอายุ เป็นบุคคลที่สร้างคุณประโยชน์แก่ลูกหลาน และประเทศชาติเป็นอันมาก เป็นทรัพยากรที่
ทรงคุณค่า จากการที่ท่านได้สั่งสมประสบการณ์จากชีวิตของท่านท่านจึงเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่อง เคารพนับถือ
ของผู้ที่อ่อนวัยกว่า อันเป็นประเพณีที่ยึดถือกันมาตั้งแต่สมัยก่อน
ปัจจุบัน วัฒนธรรมตะวันตกได้แผ่ขยายเข้ามามาก ชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนแปลงไปจากครอบครัวขยาย
มีปู่ ย่า ตา ยายอาศัยรวมอยู่ด้วย มาเป็นครอบครัวเดี่ยว จะมีเฉพาะพ่อ แม่ และลูกเท่านั้น ครอบครัวแต่ละ
ครอบครัวมีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ขาดประสบการณ์ชีวิต ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างผู้สูงอายุกับผู้ที่อ่อนวัยกว่า
ผู้สูงอายุจึงไม่ได้รับการเคารพนับถือเหมือนสมัยก่อน ผู้สูงอายุจึงเป็นกลุ่มที่ควรให้ความห่วงใย ในฐานะที่ท่าน
เคยเป็นผู้ให้แก่พวกเรา ทั้งลูกหลานและบ้านเมืองประเทศไทย ในปัจจุบันพบว่า กลุ่มผู้สูงอายุมีจานวนเพิ่มมาก
ขึ้นโดยโครงสร้างประชากรของผู้ที่อายุ มากกว่า 60 ปี พบว่ามีจานวนเพิ่มมากขึ้น ทางรัฐบาลและผู้มีหน้าที่ทาง
สุขภาพจิต ได้ให้ความสาคัญแก่ผู้สูงอายุมากขึ้น จัดให้มีความรู้เผยแพร่แก่ประชาชนทั่วไป ในเรื่องการดูแล
ผู้สูงอายุ
เหตุสุขภาพจิตเสื่อมแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล แต่ถ้าจะกล่าวโดยทั่วไป ส่วนใหญ่ที่ทาให้สุขภาพจิต
เสื่อม อยู่ที่การไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้เมื่อปรับไม่ได้ก็เกิดความเครียดขึ้น จากการศึกษาพบว่า
ผู้สูงอายุไทยมีปัญหาในชีวิตประจาวันมากมายหลายอย่าง แต่พอจะประมวลรวมกันได้ว่า มีปัญหาหลักอยู่ 3
ประการคือ
1.ปัญหาเรื่องสุขภาพกายที่มีความเสื่อมไปตามอายุขัย ทาให้สมรรถภาพต่างๆ ของร่างกายที่เคยดี-เคย
เก่ง-เคยรวดเร็ว ลดลง ไม่สามารถดาเนินได้ดีเท่าหนุ่มหรือเท่าเดิม หู-ตา เสื่อมลง-ความคล่องแคล่ว-การตัดสินใจ
ลดลง แถมเพิ่มความหลงลืมขึ้น สิ่งต่างๆ เหล่านี้ทาให้ความเป็นเลิศในอดีตกลายมาเป็นความเป็นรอง ผลก็คือทา
ให้จิตใจไหวหวั่น ได้รับความกระทบกระเทือนพอสมควร ซ้ายังไม่มีทางจะไปร้องเรียนเอากับใครได้
2.ปัญหาเรื่องการเงินหรือสถานภาพทางเศรษฐกิจ โดยทั่วไปจะลดลง เพราะต้องเกษียณจากการงาน
เงินเดือนเคยมากก็จะลดลง หรือแม้จะไม่ต้องเกษียณอายุการงาน เพราะกิจการเป็นของตนเอง ผลงานก็จะลด
ต่าลง เพราะสภาพร่างกายลดความแข็งแรง จะเห็นได้จากผู้มีอาชีพเกษตรกรรม อายุมากเข้าก็ทาไม่ไหว ทาให้
รายได้ตกต่าลง เพราะสภาพร่างกายลดความแข็งแรงลง ผู้ใดมีเงินออมเก็บไว้มากพอก็ดีไป ผู้สูงอายุใดไม่ได้
สะสมเงินออมไว้จะเกิดปัญหา ยิ่งค่าครองชีพสูงขึ้น ยิ่งลาบาก บางทีต้องอาศัยเงินทองจากบุตรหลาน ทาให้ความ
ภาคภูมิใจลดต่าลง ปะเหมาะเคราะห์ร้าย บุตรไม่ดีอย่างใจยิ่งซ้าร้ายเข้าไปอีก เรื่องอย่างนี้สุมอยู่ในอก-ในจิตทา
ให้สุขภาพจิตเสื่อมลงได้มาก
3.ปัญหาทางสังคม ยิ่งผู้สูงอายุใดเคยมีบทบาทในสังคมสูง เช่น เป็นข้าราชการระดับสูง มีอานาจวาสนา
คนนับหน้าถือตาล้อมหน้าล้อมหลัง เมื่อสูงอายุ เกษียณอายุการงานออกมาเป็นคนธรรมดา จะยิ่งมีปัญหาทาง
สุขภาพจิตมากกว่าคนธรรมดา ประกอบกับสังคมสมัยใหม่ สิ่งแวดล้อมใหม่ คนรุ่นใหม่ มีความรู้เฉลียวฉลาด
มากขึ้น มองคนสูงอายุเป็นไดโนเสาร์เต่าล้านปี ผู้สูงอายุไม่สบอารมณ์ในสถานภาพทางสังคมอย่างใด ก็ไม่มี
อานาจในการต่อรองทางสังคมได้ สิ่งเหล่านี้เป็นผลต่อจิตใจค่อนข้างมาก
ที่มา : กลุ่มที่ 6.2 นิสิตคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีชั้นปีที่ 2.
http://www.pharm.chula.ac.th/physiopharm/content/activity_%20lh/6.2.9.html วันที่สืบค้น (8 กันยายน 2559)
บันทึกย่อผลการสืบค้น
ผู้สูงอายุ เป็นบุคคลที่สร้างคุณประโยชน์แก่ลูกหลาน และประเทศชาติเป็นอันมาก เป็นทรัพยากรที่
ทรงคุณค่า จากการที่ท่านได้สั่งสมประสบการณ์จากชีวิตของท่านท่านจึงเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่อง เคารพนับถือ
ของผู้ที่อ่อนวัยกว่า อันเป็นประเพณีที่ยึดถือกันมาตั้งแต่สมัยก่อน
เหตุสุขภาพจิตเสื่อมแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล แต่ถ้าจะกล่าวโดยทั่วไป ส่วนใหญ่ที่ทาให้สุขภาพจิต
เสื่อม มีปัญหาหลักอยู่ 3 ประการคือ
1.ปัญหาเรื่องสุขภาพกายที่มีความเสื่อมไปตามอายุขัย ทาให้สมรรถภาพต่างๆ ของร่างกายที่เคยดี-เคย
เก่ง-เคยรวดเร็ว ลดลง ไม่สามารถดาเนินได้ดีเท่าหนุ่มหรือเท่าเดิม หู-ตา เสื่อมลง-ความคล่องแคล่ว-การตัดสินใจ
ลดลง
2.ปัญหาเรื่องการเงินหรือสถานภาพทางเศรษฐกิจ โดยทั่วไปจะลดลง เพราะต้องเกษียณจากการงาน
เงินเดือนเคยมากก็จะลดลง หรือแม้จะไม่ต้องเกษียณอายุการงาน เพราะกิจการเป็นของตนเอง ผลงานก็จะลด
ต่าลง
3.ปัญหาทางสังคม ยิ่งผู้สูงอายุใดเคยมีบทบาทในสังคมสูง เช่น เป็นข้าราชการระดับสูง มีอานาจวาสนา
คนนับหน้าถือตาล้อมหน้าล้อมหลัง เมื่อสูงอายุ เกษียณอายุการงานออกมาเป็นคนธรรมดา
สรุปองค์ความรู้
ปัจจุบัน วัฒนธรรมตะวันตกได้แผ่ขยายเข้ามามาก ชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนแปลงไปจากครอบครัวขยาย
มีปู่ ย่า ตา ยายอาศัยรวมอยู่ด้วย มาเป็นครอบครัวเดี่ยว จะมีเฉพาะพ่อ แม่ และลูกเท่านั้น ครอบครัวแต่ละ
ครอบครัวมีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ขาดประสบการณ์ชีวิต ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างผู้สูงอายุกับผู้ที่อ่อนวัยกว่า
ปัญหาส่วนใหญ่ที่ทาให้สุขภาพจิตของผู้สูงอายุเสื่อม มีปัญหาหลักอยู่ 3 ประการคือ 1.ปัญหาเรื่องสุขภาพกายที่มี
ความเสื่อมไปตามอายุขัย 2.ปัญหาเรื่องการเงินหรือสถานภาพทางเศรษฐกิจ 3.ปัญหาทางสังคม
จัดทาโดย
นางสาวธนัญญา ศรีพูลพันธ์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เลขที่ 25
เสนอ
อาจารย์เศรษฐ์ฐวัฒน์ ปิ่นเปี้ ย
รายวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
(Independent Study : IS)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี

More Related Content

Viewers also liked

Marketing Plan - Elderly House by Group4
Marketing Plan - Elderly House by Group4Marketing Plan - Elderly House by Group4
Marketing Plan - Elderly House by Group4
Somchai Siricharoenphol
 

Viewers also liked (7)

Future+health Vision
Future+health VisionFuture+health Vision
Future+health Vision
 
Website Design for Senior Citizens
Website Design for Senior CitizensWebsite Design for Senior Citizens
Website Design for Senior Citizens
 
SXSW2013: Design for Aging, Your Future-Self
SXSW2013: Design for Aging, Your Future-SelfSXSW2013: Design for Aging, Your Future-Self
SXSW2013: Design for Aging, Your Future-Self
 
Marketing Plan - Elderly House by Group4
Marketing Plan - Elderly House by Group4Marketing Plan - Elderly House by Group4
Marketing Plan - Elderly House by Group4
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
Designing for Older Adults: Usability Considerations for Real Users
Designing for Older Adults:  Usability Considerations for Real UsersDesigning for Older Adults:  Usability Considerations for Real Users
Designing for Older Adults: Usability Considerations for Real Users
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 

ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ

  • 1. ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ สมมติฐาน  ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเกิดจากการขาดความเชื่อมั่นในการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ  ปัญหาสุขภาพจิตของผ้สูงอายุเกิดจากการนอนไม่หลับ  ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเกิดจากการกลัวถูกทอดทิ้ง  ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเกิดจากการกลัวตาย  ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเกิดจากกลัวการไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากลูกหลาน สมมติฐานที่เลือก  ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเกิดจากกลัวการไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากลูกหลาน ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุ เป็นบุคคลที่สร้างคุณประโยชน์แก่ลูกหลาน และประเทศชาติเป็นอันมาก เป็นทรัพยากรที่ ทรงคุณค่า จากการที่ท่านได้สั่งสมประสบการณ์จากชีวิตของท่านท่านจึงเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่อง เคารพนับถือ ของผู้ที่อ่อนวัยกว่า อันเป็นประเพณีที่ยึดถือกันมาตั้งแต่สมัยก่อน ปัจจุบัน วัฒนธรรมตะวันตกได้แผ่ขยายเข้ามามาก ชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนแปลงไปจากครอบครัวขยาย มีปู่ ย่า ตา ยายอาศัยรวมอยู่ด้วย มาเป็นครอบครัวเดี่ยว จะมีเฉพาะพ่อ แม่ และลูกเท่านั้น ครอบครัวแต่ละ
  • 2. ครอบครัวมีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ขาดประสบการณ์ชีวิต ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างผู้สูงอายุกับผู้ที่อ่อนวัยกว่า ผู้สูงอายุจึงไม่ได้รับการเคารพนับถือเหมือนสมัยก่อน ผู้สูงอายุจึงเป็นกลุ่มที่ควรให้ความห่วงใย ในฐานะที่ท่าน เคยเป็นผู้ให้แก่พวกเรา ทั้งลูกหลานและบ้านเมืองประเทศไทย ในปัจจุบันพบว่า กลุ่มผู้สูงอายุมีจานวนเพิ่มมาก ขึ้นโดยโครงสร้างประชากรของผู้ที่อายุ มากกว่า 60 ปี พบว่ามีจานวนเพิ่มมากขึ้น ทางรัฐบาลและผู้มีหน้าที่ทาง สุขภาพจิต ได้ให้ความสาคัญแก่ผู้สูงอายุมากขึ้น จัดให้มีความรู้เผยแพร่แก่ประชาชนทั่วไป ในเรื่องการดูแล ผู้สูงอายุ เหตุสุขภาพจิตเสื่อมแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล แต่ถ้าจะกล่าวโดยทั่วไป ส่วนใหญ่ที่ทาให้สุขภาพจิต เสื่อม อยู่ที่การไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้เมื่อปรับไม่ได้ก็เกิดความเครียดขึ้น จากการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุไทยมีปัญหาในชีวิตประจาวันมากมายหลายอย่าง แต่พอจะประมวลรวมกันได้ว่า มีปัญหาหลักอยู่ 3 ประการคือ 1.ปัญหาเรื่องสุขภาพกายที่มีความเสื่อมไปตามอายุขัย ทาให้สมรรถภาพต่างๆ ของร่างกายที่เคยดี-เคย เก่ง-เคยรวดเร็ว ลดลง ไม่สามารถดาเนินได้ดีเท่าหนุ่มหรือเท่าเดิม หู-ตา เสื่อมลง-ความคล่องแคล่ว-การตัดสินใจ ลดลง แถมเพิ่มความหลงลืมขึ้น สิ่งต่างๆ เหล่านี้ทาให้ความเป็นเลิศในอดีตกลายมาเป็นความเป็นรอง ผลก็คือทา ให้จิตใจไหวหวั่น ได้รับความกระทบกระเทือนพอสมควร ซ้ายังไม่มีทางจะไปร้องเรียนเอากับใครได้ 2.ปัญหาเรื่องการเงินหรือสถานภาพทางเศรษฐกิจ โดยทั่วไปจะลดลง เพราะต้องเกษียณจากการงาน เงินเดือนเคยมากก็จะลดลง หรือแม้จะไม่ต้องเกษียณอายุการงาน เพราะกิจการเป็นของตนเอง ผลงานก็จะลด ต่าลง เพราะสภาพร่างกายลดความแข็งแรง จะเห็นได้จากผู้มีอาชีพเกษตรกรรม อายุมากเข้าก็ทาไม่ไหว ทาให้ รายได้ตกต่าลง เพราะสภาพร่างกายลดความแข็งแรงลง ผู้ใดมีเงินออมเก็บไว้มากพอก็ดีไป ผู้สูงอายุใดไม่ได้ สะสมเงินออมไว้จะเกิดปัญหา ยิ่งค่าครองชีพสูงขึ้น ยิ่งลาบาก บางทีต้องอาศัยเงินทองจากบุตรหลาน ทาให้ความ ภาคภูมิใจลดต่าลง ปะเหมาะเคราะห์ร้าย บุตรไม่ดีอย่างใจยิ่งซ้าร้ายเข้าไปอีก เรื่องอย่างนี้สุมอยู่ในอก-ในจิตทา ให้สุขภาพจิตเสื่อมลงได้มาก 3.ปัญหาทางสังคม ยิ่งผู้สูงอายุใดเคยมีบทบาทในสังคมสูง เช่น เป็นข้าราชการระดับสูง มีอานาจวาสนา คนนับหน้าถือตาล้อมหน้าล้อมหลัง เมื่อสูงอายุ เกษียณอายุการงานออกมาเป็นคนธรรมดา จะยิ่งมีปัญหาทาง สุขภาพจิตมากกว่าคนธรรมดา ประกอบกับสังคมสมัยใหม่ สิ่งแวดล้อมใหม่ คนรุ่นใหม่ มีความรู้เฉลียวฉลาด มากขึ้น มองคนสูงอายุเป็นไดโนเสาร์เต่าล้านปี ผู้สูงอายุไม่สบอารมณ์ในสถานภาพทางสังคมอย่างใด ก็ไม่มี อานาจในการต่อรองทางสังคมได้ สิ่งเหล่านี้เป็นผลต่อจิตใจค่อนข้างมาก
  • 3. ที่มา : กลุ่มที่ 6.2 นิสิตคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีชั้นปีที่ 2. http://www.pharm.chula.ac.th/physiopharm/content/activity_%20lh/6.2.9.html วันที่สืบค้น (8 กันยายน 2559) บันทึกย่อผลการสืบค้น ผู้สูงอายุ เป็นบุคคลที่สร้างคุณประโยชน์แก่ลูกหลาน และประเทศชาติเป็นอันมาก เป็นทรัพยากรที่ ทรงคุณค่า จากการที่ท่านได้สั่งสมประสบการณ์จากชีวิตของท่านท่านจึงเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่อง เคารพนับถือ ของผู้ที่อ่อนวัยกว่า อันเป็นประเพณีที่ยึดถือกันมาตั้งแต่สมัยก่อน เหตุสุขภาพจิตเสื่อมแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล แต่ถ้าจะกล่าวโดยทั่วไป ส่วนใหญ่ที่ทาให้สุขภาพจิต เสื่อม มีปัญหาหลักอยู่ 3 ประการคือ 1.ปัญหาเรื่องสุขภาพกายที่มีความเสื่อมไปตามอายุขัย ทาให้สมรรถภาพต่างๆ ของร่างกายที่เคยดี-เคย เก่ง-เคยรวดเร็ว ลดลง ไม่สามารถดาเนินได้ดีเท่าหนุ่มหรือเท่าเดิม หู-ตา เสื่อมลง-ความคล่องแคล่ว-การตัดสินใจ ลดลง 2.ปัญหาเรื่องการเงินหรือสถานภาพทางเศรษฐกิจ โดยทั่วไปจะลดลง เพราะต้องเกษียณจากการงาน เงินเดือนเคยมากก็จะลดลง หรือแม้จะไม่ต้องเกษียณอายุการงาน เพราะกิจการเป็นของตนเอง ผลงานก็จะลด ต่าลง 3.ปัญหาทางสังคม ยิ่งผู้สูงอายุใดเคยมีบทบาทในสังคมสูง เช่น เป็นข้าราชการระดับสูง มีอานาจวาสนา คนนับหน้าถือตาล้อมหน้าล้อมหลัง เมื่อสูงอายุ เกษียณอายุการงานออกมาเป็นคนธรรมดา สรุปองค์ความรู้ ปัจจุบัน วัฒนธรรมตะวันตกได้แผ่ขยายเข้ามามาก ชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนแปลงไปจากครอบครัวขยาย มีปู่ ย่า ตา ยายอาศัยรวมอยู่ด้วย มาเป็นครอบครัวเดี่ยว จะมีเฉพาะพ่อ แม่ และลูกเท่านั้น ครอบครัวแต่ละ ครอบครัวมีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ขาดประสบการณ์ชีวิต ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างผู้สูงอายุกับผู้ที่อ่อนวัยกว่า ปัญหาส่วนใหญ่ที่ทาให้สุขภาพจิตของผู้สูงอายุเสื่อม มีปัญหาหลักอยู่ 3 ประการคือ 1.ปัญหาเรื่องสุขภาพกายที่มี ความเสื่อมไปตามอายุขัย 2.ปัญหาเรื่องการเงินหรือสถานภาพทางเศรษฐกิจ 3.ปัญหาทางสังคม
  • 4. จัดทาโดย นางสาวธนัญญา ศรีพูลพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เลขที่ 25 เสนอ อาจารย์เศรษฐ์ฐวัฒน์ ปิ่นเปี้ ย รายวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี