SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
สวัสดีครับ/ค่ะ
โสตทัศนวัสดุ
(audio-visual materials)
ทรัพยากร
สารสนเทศ
วัสดุไม่ตีพิมพ์
ประเภท โสตทัศนวัสดุ
ความหมายของโสตทัศนวัสดุ
วัสดุที่สื่อสารโดยผ่านทั้งประสาทหูและตา
ความสาคัญของโสตทัศนวัสดุ
ทรัพยากรสารสนเทศที่มีความสาคัญในการให้บริการข้อมูล สามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย และในทุกสถานที่ เป็นแหล่งข้อมูลเคลื่อนที่ใน
การตอบคาถามเฉพาะเรื่อง เป็ นแหล่งให้ความรู้ความบันเทิง เป็ นแหล่งการ
เรียนรู้ที่สาคัญในกระบวนการเรียนการสอนและปัจจุบันเป็นเครื่องมือที่สาคัญ
ในการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล ในระบบอินเทอร์เน็ต
ประเภทของโสตทัศนวัสดุ
1. วัสดุกราฟฟิก
รูปภาพ
โปสเตอร์
แผนภูมิ
ฟิล์มสตริป
สไลด์
2. วัสดุประเภทเทป
เทปเสียง(เทปตลับ เทปม้วน)
เทปวีดีทัศน์
3. สื่อออปติคัล
ซีดี (CD-Audio)
MP3
วีดีทัศน์ : VCD (CD-Video)
DVD
CD-ROM (ฐานข้อมูล)
ประเภทของโสตทัศนวัสดุ (ต่อ)
4. วัสดุประเภทแผนที่ (Cartographic Materials)
หนังสือแผนที่ (Atlases)
แผนที่
ลูกโลก
5. Microforms
Microfilm
Microfiche
6. หุ่นจาลอง
ลักษณะของสื่อโสตทัศนวัสดุ
1. ภาพยนตร์
3. วีดีทัศน์2. สไลด์ประกอบเสียง
1. ภาพยนตร์
กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิ ล์ม แล้วนาออกฉายให้เห็น
ภาพเคลื่อนไหวภาพที่ปรากฏบนฟิ ล์ม ภาพยนตร์หลังจากผ่าน
กระบวนการถ่ายทาแล้วเป็นเพียงภาพ นิ่งจานวนมากที่มีอิริยาบถหรือ
แสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยน แปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ
ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทาและตัดต่อมา
ข้อดีของภาพยนตร์
- มีทั้งแสง สี เสียงและภาพเคลื่อนไหวประกอบดนตรี ทาให้ประทับใจและจดจา
- สามารถเร่งเร้าความสนใจของผู้ชมได้ตลอดเวลาที่ภาพยนตร์ฉายอยู่
- สามารถสอดแทรกความคิดเห็น และเป็นสื่อในการเปลี่ยนแปลงทัศนคติพฤติกรรม
ได้ง่าย
- สามารถเสนอภาพในอดีตที่เราไม่สามารถย้อนกลับไปชมได้อีก
- ใช้เทคนิคสร้างเหตุการณ์ประกอบฉากการถ่ายทาได้อย่างสมจริงสมจังที่สุด
ข้อจากัดของภาพยนตร์
- ค่าใช้จ่ายและระยะเวลาในการถ่ายทาภาพยนตร์สูงมาก
- ไม่สามารถเข้าถึงกลุ่มชนเป้าหมายจานวนมาก ๆ ได้ชมได้ในจานวน
จากัดเพราะผู้ชมอยู่ในห้องฉายภาพยนตร์เท่านั้น
- มีข้อจากัดเกี่ยวกับเครื่องอุปกรณ์และห้องฉายภาพยนตร์
บทบาทหน้าที่ของภาพยนตร์
1. ภาพยนตร์ช่วยเชื่อมการเห็นภาพลักษณะเคลื่อนไหวกับเสียงบรรยาย
2. ภาพยนตร์ช่วยขจัดอุปสรรคในด้านความสามารถในการเรียนรู้ภาพยนตร์
เป็นเสมือนผู้สื่อสารที่มีแนวคิดที่มีประสิทธิภาพ
3. ภาพยนตร์ช่วยสร้างสิ่งต่างๆในอดีตได้ เช่น เหตุการณ์ต่างๆใน
ประวัติศาสตร์ ทาให้น่าตื่นเต้นและเชื่อถือได้โดยการแสดงนาฏกรรมต่างๆ
4. ภาพยนตร์ช่วยสร้างประสบการณ์ “ร่วม”ช่วยเชื่อมประสบการณ์ที่
แตกต่างกันของสมาชิกในกลุ่มได้
บทบาทหน้าที่ของภาพยนตร์ (ต่อ)
5. ภาพยนตร์สามารถแสดงการการกระทาที่ติดต่อเนื่องกันให้เห็นและทาได้
เหมือนสภาพความเป็นจริงตามธรรมชาติได้
6. สามารถเรียนรู้โลกภาพนอกได้กว้างขวาง เช่น การศึกษาชีวิตความเป็นอยู่
ของชาวจีน สเปน ฯลฯ หรือชีวิตสัตว์ใต้ทะเล การทัศนะศึกษา ภูมิประเทศถิ่น
ทะเลทราย ภูเขา ป่ าไม้ ฯลฯ โดยภาพยนตร์
7. ภาพยนตร์บางชนิดสามารถใช้ในการทดสอบได้ด้วยคุณสมบัติของ
ภาพยนตร์ที่มีความยืดหยุ่นได้เช่น ใช้บางตอนไม่จาเป็นจะต้องใช้ทั้งเรื่องก็ได้
ปิดเสียงบรรยายตามตอนที่ต้องการก็ได้
ประโยชน์ของภาพยนตร์
ภาพยนตร์มักจะมีจุดประสงค์ด้านการขายความบันเทิง หากใช้
ภาพยนตร์เป็นสื่อสาหรับการศึกษา ก็น่าเชื่อว่าภาพยนตร์จะสามารถถ่ายทอด
ความรู้ความคิดที่เป็นประโยชน์ไปสู่ประชาชนอย่างกว้างขวาง ภาพยนตร์
สามารถถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆให้ผู้ชมเข้าใจ หรือเกิดความซาบซึ้งได้ดีกว่าสื่อ
ประเภทอื่น
2. สไลด์ประกอบเสียง
สื่อประเภทภาพนิ่งโปร่งแสงที่บันทึกไว้บนฟิล์มหรือกระจก
ใช้ฉายผ่านทางเครื่องฉายให้ภาพปรากฏบนจอและมีเสียงประกอบ
ข้อดีของสไลด์ประกอบเสียง
- ผลิตง่าย
- ปรับปรุงแก้ไขได้ง่าย
- บันทึกภาพจากสื่ออื่นลงสไลด์ได้ง่าย
- สะดวกในการใช้และการเก็บรักษา
- ใช้ร่วมกับสื่ออื่นได้ดี เช่น เทป
- ศึกษานานเท่าไหร่ก็ได้
ข้อจากัดของสไลด์ประกอบเสียง
- ภาพอาจสับสนได้ง่าย หายได้ง่าย
- การใส่ภาพอาจกลับหัวหรือกลายซ้ายเป็นขวา
- สไลด์เป็นภาพนิ่ง ไม่เคลื่อนไหว ไม่เป็นกระบวนการ
ในปัจจุบันมีผู้นิยมใช้สไลด์กันอย่างกว้างขวาง ทั้งในสถานศึกษา หน่วยงาน
ของรัฐ องค์การธุรกิจเอกชน และตลอดจนนามาใช้ในครอบครัว เพื่อความสนุกสนาน
เพื่อบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ สไลด์ประกอบเสียงนั้นเป็ นสื่อที่น่าสนใจเพราะสไลด์
ประกอบเสียงเป็ นการยกฐานะสไลด์ที่ไม่มีเสียงประกอบให้มีประสิทธิภาพที่ดี
น่าสนใจมากขึ้น ทั้งนี้นอกจากจะมีเสียงบรรยายแล้วยังอาจมีเสียงประกอบพิเศษอื่น ๆ
ได้อีกด้วย เช่น เสียงดนตรี เสียงรถ เสียงคนสนทนา เสียงนกร้อง เสียงน้าตก เป็นต้น
บทบาทหน้าที่ของสไลด์ประกอบเสียง
ประโยชน์ของสไลด์ประกอบเสียง
1. สามารถสร้างงานนาเสนอได้ แม้ว่าจะไม่เคยสร้างงานนาเสนอมาก่อน
2. ในส่วนการนาเสนอภาพนิ่ง สามารถที่จะนาองค์ประกอบมัลติมีเดีย เช่น การนา
เอฟเฟค เสียง ดนตรีและวีดีโอ มาใช้ประกอบร่วมได้
3. วีดีทัศน์
เป็ นเทปแม่เหล็กที่ใช้บันทึกภาพและเสียงในรูปของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า สามารถลบและบันทึกใหม่ได้เช่นเดียวกับเทป
บันทึกเสียง การใช้ต้องใช้ร่วมกับเครื่องบันทึกภาพ เครื่องเล่นวีดีทัศน์
และเครื่องรับโทรทัศน์
ข้อดีของวีดีทัศน์
- แสดงการเคลื่อนไหวทั้งภาพและเสียงพร้อมกัน
- นาเสนอเนื้อหาเป็นลาดับและไม่เรียงลาดับได้
- นาเสนอได้พร้อมกันในหลายๆพื้นที่
- สอนได้ทั้งรายบุคคลและกลุ่มใหญ่และหลายกลุ่มใหญ่
- ย้อนกลับหรือข้ามเนื้อหาหรือหยุดดูรายละเอียดของภาพได้
- ถ่ายทา/บันทึกภาพแล้วดูได้ทันที
- เทปบันทึกภาพสามารถนามาใช้ได้อีก
ข้อจากัดของวีดีทัศน์
- ต้นทุนในการผลิตสูงกล้องและอุปกรณ์จัดต่อ อุปกรณ์บันทึกเสียง
- ต้องมีทักษะในการผลิตรายการ
- แก้ไขเนื้อหายาก
บทบาทหน้าที่ของวีดีทัศน์
ปัจจุบันวีดีทัศน์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของหน่วยงานและชีวิตประจาวัน
ของบุคคลทุกคน ภาพทุกภาพ เรื่องทุกเรื่องจากสื่อวีดีทัศน์ มีอิทธิพลต่อทัศนคติ
ความเชื่อ ความรู้สึกนึกคิดของบุคคลทั่วไป เนื่องจากเป็ นการบริการถึงบ้าน บาง
รายการใช้กลยุทธ์ทางการตลาดและจิตวิทยา บางโฆษณา ใช้การนาเสนอซ้าบ่อยครั้ง
ทาให้ผู้ดูจาติดตา ประทับใจ และเปลี่ยนแปลงตามสื่อนั้นๆ โดยไมรู้ตัว ทาให้วีดีทัศน์
เป็นสื่อที่ให้ภาพและเสียงได้สมจริง โดยใช้เครื่องรับวีดีทัศน์เป็ นช่องทางสื่อสาร ภาพ
และการแสดงต่างๆ สามารถใช้กล้องบันทึกได้ง่ายเสมือนภาพถ่าย แต่ที่เหนือกว่า
ภาพถ่ายคือ การนาเสนอภาพที่บันทึกจากกล้องวีดีทัศน์นั้น มีการเคลื่อนไหวได้อย่าง
เป็นธรรมชาติ
บทบาทหน้าที่ของวีดีทัศน์ (ต่อ)
โสตทัศนวัสดุ เป็ นทรัพยากรสารนิเทศที่มีความสาคัญในการให้บริการ
ข้อมูล สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย และในทุกสถานที่ เป็นแหล่งข้อมูล
เคลื่อนที่ในการตอบคาถามเฉพาะเรื่อง เป็นแหล่งให้ความรู้ความบันเทิง เป็นแหล่ง
การเรียนรู้ที่สาคัญในกระบวนการเรียนการสอน และปัจจุบันเป็นเครื่องมือที่สาคัญใน
การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล ในระบบอินเทอร์เน็ต ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้
ความคิด ประสบการณ์ที่เป็นแก่นหรือเนื้อหาสาคัญที่ได้จาแนก ชี้แจง แสดงออกมาให้
ปรากฏ โดยการกลั่นกรองเรียบเรียงและประมวลไว้โดยใช้ภาษา สัญลักษณ์ รูปภาพ
รหัส และอื่นๆ รวมทั้งบันทึกลงบนวัสดุหลายชนิด เป็ นบ่อเกิดแห่งปัญญา
บทบาทหน้าที่ของวีดีทัศน์ (ต่อ)
เครื่องเล่นวีดีทัศน์ (Video Player) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่าเครื่องเล่น
วิดีโอเป็ นเครื่องแปลงสัญญาณแม่เหล็กจากแถบเทปเป็ นสัญญาณภาพและเสียง
ถ่ายทอดออกทาง จอโทรทัศน์หรือผ่านเครื่องเล่นแอลซีดี เพื่อฉายภาพบนจอให้เป็น
ภาพที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
ประโยชน์ของวีดีทัศน์
1. สามารถฉายกลับดูภาพที่บันทึกไว้ได้ทันที
2. เทปวีดีทัศน์มีราคาถูกใช้บันทึกได้หลายครั้ง ขณะเดียวกันก็สามารถทาการตัดต่อ
ภาพด้วย กระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ได้ภาพและเสียงที่สมบูรณ์ หรือหากจะ
ทาสาเนาเพื่อการเผย แพร่จานวนมากก็ทาได้
3. ชุดอุปกรณ์แบบกระเป๋ าหิ้วสามารถนาไปถ่ายทายังสถานที่ต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก
รวดเร็ว
4. วีดีทัศน์มีความเหมาะสมที่จะนาไปใช้ในวงการศึกษาการแพทย์ การอุตสาหกรรม
และอื่นๆ ที่มีงบประมาณจากัด
1. นางสาวซอฟียะห์ ตาเละ รหัสนักศึกษา 405928023
2. นางสาวฮุสนา เจ๊ะสะมะแอ รหัสนักศึกษา 405928035
3. นางสาวไซมะห์ มูยา รหัสนักศึกษา 405928037
สาขาวิชาภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษา
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
สมาชิกในกลุ่ม
โสตทัศนวัสดุ

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานJanchai Pokmoonphon
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาOhm Tarit
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Utai Sukviwatsirikul
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานaragamammy
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการKittiphat Chitsawang
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรมตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอสื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
G.14วัสดุย่อส่วน
G.14วัสดุย่อส่วนG.14วัสดุย่อส่วน
G.14วัสดุย่อส่วน
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 

Similar to โสตทัศนวัสดุ

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 
บทที่+7
บทที่+7บทที่+7
บทที่+7paynarumon
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้vizaza
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้vizaza
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7tum521120935
 
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาnatwadee
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7sirinan120
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7vizaza
 

Similar to โสตทัศนวัสดุ (20)

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่+7
บทที่+7บทที่+7
บทที่+7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7
 
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Ojo
OjoOjo
Ojo
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7...
บทที่7...บทที่7...
บทที่7...
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 

โสตทัศนวัสดุ