SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
ทัศนวัสดุ
ทัศนวัสดุ
ทัศนวัสดุ (visual materials) คือ วัสดุสารสนเทศที่ต้อง
ใช้สายตาเป็นสื่อในการรับรู้สารสนเทศโดยการมองดู อาจดูโดย
ตาเปล่าหรือใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์สาหรับฉายประกอบ เป็น
ทรัพยากรสานสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์(non-printed
material) ทัศนวัสดุ วัสดุที่ใช้ในการรับสารสนเทศด้วยการดู มี
หลายประเภทดังนี้
1. รูปภาพ ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพผลงานเดิม ภาพพิมพ์ ภาพ
จาลอง
ภาพโปสเตอร์ ภาพโปสการ์ด ภาพเทคนิค ภาพศึกษา
โปสเตอร์ (poster) คือภาพขนาดใหญ่
พิมพ์บนกระดาษ ออกแบบเพื่อใช้ติด
หรือแขวนบนผนังหรือกาแพง โปสเตอร์
อาจจะเป็นภาพพิมพ์และหรือภาพเขียน
จุดเด่น
• ข้อความที่กะทัดรัด ทาให้เกิดความสนใจ
• เป็นจุดเด่นที่ทาให้เกิดความจดจา
ข้อจากัด
• การผลิตจาเป็นต้องใช้ความละเอียดอ่อนสูง
• เสียค่าใช้จ่ายมาก
ประโยชน์
• บางครั้งก็ผลิตมาเพื่อใช้ในการศึกษาหรือเป็นสื่อการสอน เป็น
ศิลปะการค้าที่ทารายได้ดีให้ทั้งพิพิธภัณฑ์และบริษัทการค้า
2.แผนภูมิ แสดงความสัมพันธ์ของเรื่องราว แนวความคิด ฯลฯ
เช่น แผนภูมิแบบตาราง แบบเปรียบเทียบ แบบองค์กร แบบต้นไม้แบบ
สายธาร แบบต่อเนื่อง แบบวิวัฒนาการ แบบขยาย แบบพลิก แบบผนัง
ต่อไปนี้คือตัวอย่างของชนิดแผนภูมิที่พบบ่อยที่สุด
แผนภูมิคอลัมน์จะแสดงถึง
การเปลี่ยนแปลงของข้อมูลตลอด
ช่วงเวลาหนึ่ง หรือแสดงการเปรียบเทียบ
ข้อมูลต่าง ๆ แผนภูมิคอลัมน์จะมีแผนภูมิย่อยชนิดต่าง ๆ
จุดเด่น
• อ่านข้อมูลได้ชัดเจน รวดเร็ว และเปรียบเทียบขนาดของข้อมูลได้ง่าย
• เหมาะสาหรับการเปรียบเทียบข้อมูลส่วนย่อยกับข้อมูลส่วนใหญ่
ข้อจากัด
• เปรียบเทียบขนาดของข้อมูลได้อย่างหยาบ
• ยุ่งยากต่อการสร้าง เพราะจะต้องแปลงจานวนข้อมูลให้เป็นร้อยละหรือ
อัตราก่อน
ประโยชน์
• เมื่อต้องการแสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลตามช่วงเวลา หรือเพื่อ
แสดงการเปรียบเทียบระหว่างรายการต่าง
3. แผ่นภาพโปร่งใส (Transparency Material) เป็นสื่อการ
เรียนการสอนประเภทวัสดุ (Software) ที่ต้องอาศัยเครื่องฉายภาพข้าม
ศีรษะเพื่อเสนอภาพประกอบข้อความที่มีขนาดใหญ่บนจอภาพ ภาพ
โปร่งใสอาจทาจากวัสดุใดก็ได้ที่มีคุณสมบัติโปร่งใส เช่น กระจกใส
แผ่นพลาสติก เป็นต้น แต่ที่นิยมใช้ในปัจจุบันเป็นแผ่นพลาสติกใสที่
เรียกว่า อาซีเตท (Acetate)
• ผู้สอนสามารถหันหน้าเข้าหาผู้เรียนได้
• แผ่นใสบางประเภท สามารถแสดงการเคลื่อนไหวได้
• เหมาะสาหรับการเรียนเป็นกลุ่มใหญ่
จุดเด่น
• แผ่นโปร่งใสที่มีลักษณะพิเศษต้องใช้ต้นทุนในการผลิตสูง
• ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนน้อย
ข้อจากัด
• แผ่นใสช่วยแก้ปัญหาให้กับโรงเรียนหรือหน่วยงานที่ต้องการใช้สื่อ
ฉาย แต่ไม่มีงบประมาณในการจัดซื้อสื่อสมัยใหม่ยุคไอที เพราะแผ่น
โปร่งใสมีราคาถูกกว่ามาก
ประโยชน์
4. ฟิล์มสตริปหรือภาพเลื่อน คือภาพโปร่งใสจานวนหนึ่งซึ่งมีข้อความ
เนื้อหาที่ต่อเนื่องกัน โดยถ่ายเรียงลาดับติดต่อบนฟิล์มขนาด 35ม.ม.เรื่องละ
ประมาณ 30-60 ภาพ บันทึกภาพนิ่งเช่นเดียวกับสไลด์แต่ไม่ตัดฟิล์มออกเป็นภาพ ๆ
เมื่อจะฉายก็ใส่ฟิล์มทั้งม้วนเข้าในเครื่อง แล้วฉายภาพทีละภาพตามลาดับ อาจ
เป็นภาพสีหรือขาวดา มีคาบรรยายหรือไม่มีก็ได้
ฟิล์มสตริปมี 2 ขนาด คือ
1) ขนาดกรอบภาพคู่ (Double
Frame or Full Frame)
2) ขนาดกรอบภาพเดี่ยวหรือครึ่งกรอบ
ภาพ (Single Frame or Half Frame)
เรียงลาดับภาพไว้อย่างดีแล้วจึงเหมาะสมสาหรับ
การสอนเรื่องราวที่เป็นลาดับขั้นตอน
เปลี่ยนแปลงปรับปรุงเนื้อหาหรือลาดับภาพใหม่
เพิ่มเข้าตัดออกไม่ได้เหมือนสไลด์
ใช้ในการสอนเรื่องราวที่เป็นลาดับขั้น ราคาถูกกว่า
สไลด์ ใช้สะดวกและสามารถควบคุมเวลาเรียนได้ด้วยตัวเอง
จุดเด่น
ข้อจากัด
ประโยชน์
5. สไลด์ เป็นภาพนิ่งที่บันทึกลงฟิล์มโปร่งแสงหรือกระจก เป็น
สื่อการสอนประเภทภาพนิ่งโปร่งแสงที่บันทึกไว้บนฟิล์มหรือกระจกใช้
ฉายผ่านทางเครื่องฉายให้ภาพปรากฏบนจอโดยเริ่มแรกมีการวาดภาพลง
บนกระจกใสและนาไปฉายเรียกว่า Lantern Slide ,ขนาด 3(1/4)” x 4”
หรือใกล้เคียง
จุดเด่น
• ผลิตง่าย
• ปรับปรุงแก้ไขได้ง่าย
• บันทึกภาพจากสื่ออื่นลงสไลด์ได้ง่าย
ข้อจากัด
• การใส่ภาพอาจกลับหัวหรือกลายซ้ายเป็นขวา
• สไลด์เป็นภาพนิ่ง ไม่เคลื่อนไหว ไม่เป็นกระบวนการ
ประโยชน์
• การจับแผ่นสไลด์ให้ถูกต้องจะต้องจับที่ขอบแผ่นภาพ ไม่ควรจับบนภาพ
แผ่นฟิล์ม เพราะจะเกิดรอยมือบนแผ่นฟิล์มและจะถูกขยายให้มีขนาดโต
6. แผนที่ คือ รูปภาพอย่างง่ายซึ่งจาลองบริเวณบริเวณหนึ่ง และมีการ
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น วัตถุ หรือบริเวณย่อย ๆ ที่
อยู่ในบริเวณนั้น แผนที่มักเป็นรูปสองมิติซึ่งแสดงระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้อย่างถูกต้องตามหลักเรขาคณิตยกตัวอย่างเช่น แผน
ที่ทางภูมิศาสตร์
จุดเด่น
• ทาให้ทราบลักษณะทางธรรมชาติของพื้นผิวโลก รวมทั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
บนพื้นผิวโลก
• ทาให้ทราบข้อมูล สถิติต่าง ๆ เพื่อการเปรียบเทียบ การพัฒนาการวางแผนใน
ด้านต่าง ๆ รวมทั้งด้านยุทธศาสตร์
ข้อจากัด
• ข้อมูลที่ได้มาไม่กระจ่างแจ่มแจ้ง
• ข้อมูลมีน้อยเพราะและมีแต่หัวข้อสาคัญๆไม่มีคาอธิบายขยายความ
เพิ่มเติม
ประโยชน์
• ช่วยให้รู้จักที่ตั้งของประเทศ จังหวัด อาเภอ ภูเขา แม่น้า ตลอดจนสิ่งต่างๆ ที่
มนุษย์สร้างขึ้น
• ช่วยในการเดินทาง แผนที่ที่นักเดินทางใช้มักเป็นแผนที่ที่แสดงเส้นทาง
คมนาคมทางบก ทางน้า
7.ลูกโลก ลูกโลกจาลองมักแสดงรายละเอียดลักษณะผิวโลก โดยแบ่งผิว
โลกออกเป็น 2 ส่วนอย่างชัดเจน คือ ส่วนที่เป็นพื้นน้า ซึ่งได้แก่น้าทะเลเป็นส่วน
ใหญ่ จะแสดงด้วยสีน้าเงินอ่อน และส่วนที่เป็นแผ่นดินซึ่งได้แก่ทวีปและเกาะขนาด
ต่างกัน ส่วนที่เป็นแผ่นดิน ลูกโลกจาลองจะแสดงลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ
หลายอย่างได้แก่ แสดงลักษณะภูมิอากาศพืชพรรณธรรมชาติ เขตประเทศ หรือชื่อ
เมืองหลวงหลักบนผิวโลก
• ทาให้สามารถรู้ถึงส่วนประกอบของโลกง่าย เส้นจุดศูนย์กลาง
ของโลก
• รู้อาณาเขต การแบ่งเขต รูปร่าง พื้นที่ของแต่ละประเทศ
จุดเด่น
• ข้อมูลที่แสดงบนลูกโลกมีจานวนน้อยขาดรายละเอียด
• การเคลื่อนย้ายหรือ นาติดตัวลาบากไม่สะดวกเหมือนแผนที่ข้อจากัด
• ใช้เป็นอุปกรณ์การเรียนการสอน ช่วยให้เข้าใจลักษณะภูมิ
ประเทศ สัณฐานของโลกเสมือนจริง ทั้งรูปร่างของพื้นดิน
และพื้นน้าได้ดีและเด่นชัดกว่าแผนที่
• ช่วยให้ทราบตาแหน่งที่ตั้งของประเทศ เมืองหลวง ได้อย่าง
รวดเร็ว เพราะมองเห็นได้ง่าย
ประโยชน์
8. วัสดุสามมิติ คือผลงานทางศิลปะที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อเลียแบบของจริง
เช่น ศิลปะผลงานเดิมศิลปะจาลอง หุ่นจาลอง ตู้อันตรทัศน์ เกม เป็นต้น
หุ่นจาลอง (models) หมายถึง วัสดุสามมิติที่สร้างขึ้นเพื่อเลียนแบบของ
จริง เนื่องจากข้อจากัดบางประการที่ไม่สามารถจะใช้ของจริง ประกอบการเรียน
การสอนได้เช่น การอธิบายลักษณะและตาแหน่ง ของอวัยวะภาพในร่างกายของคน
หรือสัตว์
• อยู่ในลักษณะสามมิติ
• สามารถจับต้องและพิจารณารายละเอียด
• เหมาะสาหรับการแสดงที่ไม่สามารถเห็นได้
ด้วยตาเปล่า (เช่น ส่วนกลางหู)
จุดเด่น
• ต้องอาศัยความชานาญในการผลิต
• ส่วนมากราคาแพง
• ชารุดเสียหายง่าย
ข้อจากัด
• ช่วยแก้ปัญหาเรื่องขนาด ของจริงอาจมีขนาด
เล็กใหญ่เกิน ช่วยให้เข้าใจสิ่งที่มีความวับซ้อน
เช่น อวัยวะ แทนของจริง
ประโยชน์
9. ของจริง คือของหรือสิ่งเร้าที่ยังคงสภาพธรรมชาติ เป็นของเดิมแท้ๆ
ของสิ่งนั้นอาจเป็นสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติหรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น และเป็นได้ทั้ง
สิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต ผู้เรียนสามารถรับรู้และเรียนรู้ของจริงได้ด้วยประสาท
สัมผัสทั้ง 5 ทาให้สามารถมองเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ได้ลิ้มรส และได้สัมผัสกับ
บรรยากาศ
ของจริงอาจแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
• ของจริงแท้
• ของจริงแปรสภาพ
จุดเด่น
• มีขนาดพอเหมาะสมที่จะใช้ในห้องเรียน
• ไม่มีความลาบากในการใช้มีความปลอดภัย
ข้อจากัด
• ของจริงที่นามาอาจถูกแปรสภาพไปจากเดิม ไม่มีความสมบูรณ์ในตัว
• ของจริงบางอย่างมีส่วนประกอบที่ยุ่งยากซับซ้อนยากแก่การเรียนรู้
ประโยชน์
• ของจริงมีคุณค่ามากต่อการเรียนการสอน ก็ต่อเมื่อของจริงที่นามานั้น
จะต้องเหมาะสมแก่การสังเกต จับต้อง ตั้งแสดง อภิปราย ฯลฯ แต่ของจริง
บางอย่าง อาจไม่ให้ความรู้ตามข้อเท็จจริงได้ทั้งนี้เพราะมีข้อจากัด
จัดทาโดย
นางสาวซูรัยดาร์ สอละซอ 405928004
นางสาวยุสรอ สะมะแอ 405928011
นางสาวฟาตีมะห์ หะยีวาเด็ง 405928024
นางสาวฐิติมา บุญเรืองรุ่ง 405928036
รายวิชาสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สาขาภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษา ชั้นปีที่ 2
มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

More Related Content

What's hot

เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินBenjarat Meechalat
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานDulyawat Boonvut
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานJanchai Pokmoonphon
 
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำเรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำSiriporn Sonangam
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่Sopa
 
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อSuwichaPanyakhai
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54RMUTT
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012Kruthai Kidsdee
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 

What's hot (20)

เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำเรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
 
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยาฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 

Similar to ทัศนวัสดุ

G.14(18.ทัศนวัสดุ)
G.14(18.ทัศนวัสดุ)G.14(18.ทัศนวัสดุ)
G.14(18.ทัศนวัสดุ)Asmataa
 
G.1418.ทัศนวัสดุ
G.1418.ทัศนวัสดุG.1418.ทัศนวัสดุ
G.1418.ทัศนวัสดุAsmataa
 
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาnatwadee
 
บทที่+7
บทที่+7บทที่+7
บทที่+7paynarumon
 
โสตทัศนวัสดุ 1
โสตทัศนวัสดุ 1โสตทัศนวัสดุ 1
โสตทัศนวัสดุ 1Sofeeyah Taleh
 
โสตทัศนวัสดุ
โสตทัศนวัสดุ โสตทัศนวัสดุ
โสตทัศนวัสดุ Sofeeyah Taleh
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Anny Hotelier
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อpoms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 

Similar to ทัศนวัสดุ (20)

G.14(18.ทัศนวัสดุ)
G.14(18.ทัศนวัสดุ)G.14(18.ทัศนวัสดุ)
G.14(18.ทัศนวัสดุ)
 
G.1418.ทัศนวัสดุ
G.1418.ทัศนวัสดุG.1418.ทัศนวัสดุ
G.1418.ทัศนวัสดุ
 
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่+7
บทที่+7บทที่+7
บทที่+7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
โสตทัศนวัสดุ 1
โสตทัศนวัสดุ 1โสตทัศนวัสดุ 1
โสตทัศนวัสดุ 1
 
โสตทัศนวัสดุ
โสตทัศนวัสดุ โสตทัศนวัสดุ
โสตทัศนวัสดุ
 
test pppt
test pppttest pppt
test pppt
 
Testpppt
TestppptTestpppt
Testpppt
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
7
77
7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 

ทัศนวัสดุ

  • 2. ทัศนวัสดุ ทัศนวัสดุ (visual materials) คือ วัสดุสารสนเทศที่ต้อง ใช้สายตาเป็นสื่อในการรับรู้สารสนเทศโดยการมองดู อาจดูโดย ตาเปล่าหรือใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์สาหรับฉายประกอบ เป็น ทรัพยากรสานสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์(non-printed material) ทัศนวัสดุ วัสดุที่ใช้ในการรับสารสนเทศด้วยการดู มี หลายประเภทดังนี้
  • 3. 1. รูปภาพ ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพผลงานเดิม ภาพพิมพ์ ภาพ จาลอง ภาพโปสเตอร์ ภาพโปสการ์ด ภาพเทคนิค ภาพศึกษา โปสเตอร์ (poster) คือภาพขนาดใหญ่ พิมพ์บนกระดาษ ออกแบบเพื่อใช้ติด หรือแขวนบนผนังหรือกาแพง โปสเตอร์ อาจจะเป็นภาพพิมพ์และหรือภาพเขียน
  • 4. จุดเด่น • ข้อความที่กะทัดรัด ทาให้เกิดความสนใจ • เป็นจุดเด่นที่ทาให้เกิดความจดจา ข้อจากัด • การผลิตจาเป็นต้องใช้ความละเอียดอ่อนสูง • เสียค่าใช้จ่ายมาก ประโยชน์ • บางครั้งก็ผลิตมาเพื่อใช้ในการศึกษาหรือเป็นสื่อการสอน เป็น ศิลปะการค้าที่ทารายได้ดีให้ทั้งพิพิธภัณฑ์และบริษัทการค้า
  • 5. 2.แผนภูมิ แสดงความสัมพันธ์ของเรื่องราว แนวความคิด ฯลฯ เช่น แผนภูมิแบบตาราง แบบเปรียบเทียบ แบบองค์กร แบบต้นไม้แบบ สายธาร แบบต่อเนื่อง แบบวิวัฒนาการ แบบขยาย แบบพลิก แบบผนัง ต่อไปนี้คือตัวอย่างของชนิดแผนภูมิที่พบบ่อยที่สุด แผนภูมิคอลัมน์จะแสดงถึง การเปลี่ยนแปลงของข้อมูลตลอด ช่วงเวลาหนึ่ง หรือแสดงการเปรียบเทียบ ข้อมูลต่าง ๆ แผนภูมิคอลัมน์จะมีแผนภูมิย่อยชนิดต่าง ๆ
  • 6. จุดเด่น • อ่านข้อมูลได้ชัดเจน รวดเร็ว และเปรียบเทียบขนาดของข้อมูลได้ง่าย • เหมาะสาหรับการเปรียบเทียบข้อมูลส่วนย่อยกับข้อมูลส่วนใหญ่ ข้อจากัด • เปรียบเทียบขนาดของข้อมูลได้อย่างหยาบ • ยุ่งยากต่อการสร้าง เพราะจะต้องแปลงจานวนข้อมูลให้เป็นร้อยละหรือ อัตราก่อน ประโยชน์ • เมื่อต้องการแสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลตามช่วงเวลา หรือเพื่อ แสดงการเปรียบเทียบระหว่างรายการต่าง
  • 7. 3. แผ่นภาพโปร่งใส (Transparency Material) เป็นสื่อการ เรียนการสอนประเภทวัสดุ (Software) ที่ต้องอาศัยเครื่องฉายภาพข้าม ศีรษะเพื่อเสนอภาพประกอบข้อความที่มีขนาดใหญ่บนจอภาพ ภาพ โปร่งใสอาจทาจากวัสดุใดก็ได้ที่มีคุณสมบัติโปร่งใส เช่น กระจกใส แผ่นพลาสติก เป็นต้น แต่ที่นิยมใช้ในปัจจุบันเป็นแผ่นพลาสติกใสที่ เรียกว่า อาซีเตท (Acetate)
  • 8. • ผู้สอนสามารถหันหน้าเข้าหาผู้เรียนได้ • แผ่นใสบางประเภท สามารถแสดงการเคลื่อนไหวได้ • เหมาะสาหรับการเรียนเป็นกลุ่มใหญ่ จุดเด่น • แผ่นโปร่งใสที่มีลักษณะพิเศษต้องใช้ต้นทุนในการผลิตสูง • ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนน้อย ข้อจากัด • แผ่นใสช่วยแก้ปัญหาให้กับโรงเรียนหรือหน่วยงานที่ต้องการใช้สื่อ ฉาย แต่ไม่มีงบประมาณในการจัดซื้อสื่อสมัยใหม่ยุคไอที เพราะแผ่น โปร่งใสมีราคาถูกกว่ามาก ประโยชน์
  • 9. 4. ฟิล์มสตริปหรือภาพเลื่อน คือภาพโปร่งใสจานวนหนึ่งซึ่งมีข้อความ เนื้อหาที่ต่อเนื่องกัน โดยถ่ายเรียงลาดับติดต่อบนฟิล์มขนาด 35ม.ม.เรื่องละ ประมาณ 30-60 ภาพ บันทึกภาพนิ่งเช่นเดียวกับสไลด์แต่ไม่ตัดฟิล์มออกเป็นภาพ ๆ เมื่อจะฉายก็ใส่ฟิล์มทั้งม้วนเข้าในเครื่อง แล้วฉายภาพทีละภาพตามลาดับ อาจ เป็นภาพสีหรือขาวดา มีคาบรรยายหรือไม่มีก็ได้ ฟิล์มสตริปมี 2 ขนาด คือ 1) ขนาดกรอบภาพคู่ (Double Frame or Full Frame) 2) ขนาดกรอบภาพเดี่ยวหรือครึ่งกรอบ ภาพ (Single Frame or Half Frame)
  • 10. เรียงลาดับภาพไว้อย่างดีแล้วจึงเหมาะสมสาหรับ การสอนเรื่องราวที่เป็นลาดับขั้นตอน เปลี่ยนแปลงปรับปรุงเนื้อหาหรือลาดับภาพใหม่ เพิ่มเข้าตัดออกไม่ได้เหมือนสไลด์ ใช้ในการสอนเรื่องราวที่เป็นลาดับขั้น ราคาถูกกว่า สไลด์ ใช้สะดวกและสามารถควบคุมเวลาเรียนได้ด้วยตัวเอง จุดเด่น ข้อจากัด ประโยชน์
  • 11. 5. สไลด์ เป็นภาพนิ่งที่บันทึกลงฟิล์มโปร่งแสงหรือกระจก เป็น สื่อการสอนประเภทภาพนิ่งโปร่งแสงที่บันทึกไว้บนฟิล์มหรือกระจกใช้ ฉายผ่านทางเครื่องฉายให้ภาพปรากฏบนจอโดยเริ่มแรกมีการวาดภาพลง บนกระจกใสและนาไปฉายเรียกว่า Lantern Slide ,ขนาด 3(1/4)” x 4” หรือใกล้เคียง
  • 12. จุดเด่น • ผลิตง่าย • ปรับปรุงแก้ไขได้ง่าย • บันทึกภาพจากสื่ออื่นลงสไลด์ได้ง่าย ข้อจากัด • การใส่ภาพอาจกลับหัวหรือกลายซ้ายเป็นขวา • สไลด์เป็นภาพนิ่ง ไม่เคลื่อนไหว ไม่เป็นกระบวนการ ประโยชน์ • การจับแผ่นสไลด์ให้ถูกต้องจะต้องจับที่ขอบแผ่นภาพ ไม่ควรจับบนภาพ แผ่นฟิล์ม เพราะจะเกิดรอยมือบนแผ่นฟิล์มและจะถูกขยายให้มีขนาดโต
  • 13. 6. แผนที่ คือ รูปภาพอย่างง่ายซึ่งจาลองบริเวณบริเวณหนึ่ง และมีการ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น วัตถุ หรือบริเวณย่อย ๆ ที่ อยู่ในบริเวณนั้น แผนที่มักเป็นรูปสองมิติซึ่งแสดงระยะห่างระหว่างจุดสองจุด ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้อย่างถูกต้องตามหลักเรขาคณิตยกตัวอย่างเช่น แผน ที่ทางภูมิศาสตร์
  • 14. จุดเด่น • ทาให้ทราบลักษณะทางธรรมชาติของพื้นผิวโลก รวมทั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจ บนพื้นผิวโลก • ทาให้ทราบข้อมูล สถิติต่าง ๆ เพื่อการเปรียบเทียบ การพัฒนาการวางแผนใน ด้านต่าง ๆ รวมทั้งด้านยุทธศาสตร์ ข้อจากัด • ข้อมูลที่ได้มาไม่กระจ่างแจ่มแจ้ง • ข้อมูลมีน้อยเพราะและมีแต่หัวข้อสาคัญๆไม่มีคาอธิบายขยายความ เพิ่มเติม ประโยชน์ • ช่วยให้รู้จักที่ตั้งของประเทศ จังหวัด อาเภอ ภูเขา แม่น้า ตลอดจนสิ่งต่างๆ ที่ มนุษย์สร้างขึ้น • ช่วยในการเดินทาง แผนที่ที่นักเดินทางใช้มักเป็นแผนที่ที่แสดงเส้นทาง คมนาคมทางบก ทางน้า
  • 15. 7.ลูกโลก ลูกโลกจาลองมักแสดงรายละเอียดลักษณะผิวโลก โดยแบ่งผิว โลกออกเป็น 2 ส่วนอย่างชัดเจน คือ ส่วนที่เป็นพื้นน้า ซึ่งได้แก่น้าทะเลเป็นส่วน ใหญ่ จะแสดงด้วยสีน้าเงินอ่อน และส่วนที่เป็นแผ่นดินซึ่งได้แก่ทวีปและเกาะขนาด ต่างกัน ส่วนที่เป็นแผ่นดิน ลูกโลกจาลองจะแสดงลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ หลายอย่างได้แก่ แสดงลักษณะภูมิอากาศพืชพรรณธรรมชาติ เขตประเทศ หรือชื่อ เมืองหลวงหลักบนผิวโลก
  • 16. • ทาให้สามารถรู้ถึงส่วนประกอบของโลกง่าย เส้นจุดศูนย์กลาง ของโลก • รู้อาณาเขต การแบ่งเขต รูปร่าง พื้นที่ของแต่ละประเทศ จุดเด่น • ข้อมูลที่แสดงบนลูกโลกมีจานวนน้อยขาดรายละเอียด • การเคลื่อนย้ายหรือ นาติดตัวลาบากไม่สะดวกเหมือนแผนที่ข้อจากัด • ใช้เป็นอุปกรณ์การเรียนการสอน ช่วยให้เข้าใจลักษณะภูมิ ประเทศ สัณฐานของโลกเสมือนจริง ทั้งรูปร่างของพื้นดิน และพื้นน้าได้ดีและเด่นชัดกว่าแผนที่ • ช่วยให้ทราบตาแหน่งที่ตั้งของประเทศ เมืองหลวง ได้อย่าง รวดเร็ว เพราะมองเห็นได้ง่าย ประโยชน์
  • 17. 8. วัสดุสามมิติ คือผลงานทางศิลปะที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อเลียแบบของจริง เช่น ศิลปะผลงานเดิมศิลปะจาลอง หุ่นจาลอง ตู้อันตรทัศน์ เกม เป็นต้น หุ่นจาลอง (models) หมายถึง วัสดุสามมิติที่สร้างขึ้นเพื่อเลียนแบบของ จริง เนื่องจากข้อจากัดบางประการที่ไม่สามารถจะใช้ของจริง ประกอบการเรียน การสอนได้เช่น การอธิบายลักษณะและตาแหน่ง ของอวัยวะภาพในร่างกายของคน หรือสัตว์
  • 18. • อยู่ในลักษณะสามมิติ • สามารถจับต้องและพิจารณารายละเอียด • เหมาะสาหรับการแสดงที่ไม่สามารถเห็นได้ ด้วยตาเปล่า (เช่น ส่วนกลางหู) จุดเด่น • ต้องอาศัยความชานาญในการผลิต • ส่วนมากราคาแพง • ชารุดเสียหายง่าย ข้อจากัด • ช่วยแก้ปัญหาเรื่องขนาด ของจริงอาจมีขนาด เล็กใหญ่เกิน ช่วยให้เข้าใจสิ่งที่มีความวับซ้อน เช่น อวัยวะ แทนของจริง ประโยชน์
  • 19. 9. ของจริง คือของหรือสิ่งเร้าที่ยังคงสภาพธรรมชาติ เป็นของเดิมแท้ๆ ของสิ่งนั้นอาจเป็นสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติหรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น และเป็นได้ทั้ง สิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต ผู้เรียนสามารถรับรู้และเรียนรู้ของจริงได้ด้วยประสาท สัมผัสทั้ง 5 ทาให้สามารถมองเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ได้ลิ้มรส และได้สัมผัสกับ บรรยากาศ ของจริงอาจแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ • ของจริงแท้ • ของจริงแปรสภาพ
  • 20. จุดเด่น • มีขนาดพอเหมาะสมที่จะใช้ในห้องเรียน • ไม่มีความลาบากในการใช้มีความปลอดภัย ข้อจากัด • ของจริงที่นามาอาจถูกแปรสภาพไปจากเดิม ไม่มีความสมบูรณ์ในตัว • ของจริงบางอย่างมีส่วนประกอบที่ยุ่งยากซับซ้อนยากแก่การเรียนรู้ ประโยชน์ • ของจริงมีคุณค่ามากต่อการเรียนการสอน ก็ต่อเมื่อของจริงที่นามานั้น จะต้องเหมาะสมแก่การสังเกต จับต้อง ตั้งแสดง อภิปราย ฯลฯ แต่ของจริง บางอย่าง อาจไม่ให้ความรู้ตามข้อเท็จจริงได้ทั้งนี้เพราะมีข้อจากัด
  • 21. จัดทาโดย นางสาวซูรัยดาร์ สอละซอ 405928004 นางสาวยุสรอ สะมะแอ 405928011 นางสาวฟาตีมะห์ หะยีวาเด็ง 405928024 นางสาวฐิติมา บุญเรืองรุ่ง 405928036 รายวิชาสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต สาขาภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษา ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา