SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
CLMV Outlook
เศรษฐกิจ CLMV ฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไปจากอุปสงค์ภายในประเทศ
และการท่องเที่ยว แม้เศรษฐกิจโลกชะลอตัวจะกดดันการส่งออก
จับตาเสถียรภาพการคลังและต่างประเทศที่เปราะบาง
รวมถึงผลกระทบภูมิรัฐศาสตร์โลก
มุมมองเศรษฐกิจ CLMV ปี 2023
เศรษฐกิจโลก
2
CLMV Outlook 2023
เศรษฐกิจกัมพูชามีแนวโน้มขยายตัวแข็งแกร่งที่ 5.5% ในปี 2023 ปัจจัยสนับสนุนหลักมาจากการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวต่อเนื่อง (มีสัดส่วน 18.2% ของ GDP ก่อน COVID-19) ส่งผลให้
ตลาดแรงงานและอุปสงค์ภายในประเทศฟื้นตัวตาม เงินเฟ้อทยอยลดลงตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลก อย่างไรก็ดี การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกเป็นปัจจัยกดดันสาคัญ ซึ่งจะกระทบ
การส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ แม้การเปิดประเทศของจีนจะช่วยลดทอนผลกระทบได้บ้าง รวมถึงหนี้ภาคเอกชนสูงท่ามกลางภาวะการเงินตึงตัวเป็นความเสี่ยงที่น่าจับตา
สรุปแนวโน้มเศรษฐกิจ CLMV ปี 2023
เศรษฐกิจ สปป.ลาว มีแนวโน้มขยายตัวค่อยเป็นค่อยไปที่ 3% ในปี 2023 จากการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศหลัง COVID-19 คลี่คลายและการเปิดประเทศของจีน ซึ่งมีความสัมพันธ์
กับสปป.ลาวสูงทั้งด้านการค้าและการลงทุน รถไฟความเร็วสูงจีน-สปป.ลาว จะช่วยให้ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างสองประเทศแข็งแกร่งขึ้น ทั้งนี้เศรษฐกิจสปป.ลาวจะยังขยายตัวต่า
เนื่องจากเงินเฟ้อสูงขึ้นมากตามการอ่อนค่ารุนแรงของเงินกีบ ซึ่งกระทบกาลังซื้อผู้บริโภคและทาให้ภาระหนี้สาธารณะในสกุลเงินต่างประเทศสูงขึ้นเมื่อเทียบกับระดับเงินสารองระหว่าง
ประเทศที่มีไม่มากนัก
เศรษฐกิจเมียนมามีแนวโน้มขยายตัวต่าที่ 3% ในปีงบประมาณ 2022/2023 ตามการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศหลังความไม่แน่นอนทางการเมืองทยอยลดลง
อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวจะเป็นไปอย่างช้า ๆ เนื่องจากการบริการพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ไฟฟ้า ยังคงหยุดชะงัก ขณะที่การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกจะกระทบภาคการผลิตและส่งออก
ในระยะปานกลางเศรษฐกิจเมียนมามีศักยภาพในการขยายตัวต่า เนื่องจากความไม่แน่นอนทางการเมืองคลี่คลายลงช้า ส่งผลให้ชาติตะวันตกคว่าบาตรเมียนมาต่อเนื่อง การเลือกตั้งที่จะจัด
ขึ้นในปีนี้จะมีผลจากัดต่อการฟื้นความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ
เศรษฐกิจเวียดนามมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลงที่ 6.2% ในปี 2023 หลังขยายตัวสูง 8% ในปี 2022 โดยมีปัจจัยกดดันหลักจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกกระทบการส่งออกและ
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่เวียดนามพึ่งพาสูง ซึ่งจะกระทบภาคการผลิตและการจ้างงานตามมา ขณะเดียวกัน นโยบายการเงินในประเทศที่ตึงตัวขึ้นจะเป็นอีกปัจจัยที่กดดันอุปสงค์
ภายในประเทศ และอาจทาให้บางบริษัทเผชิญปัญหาขาดสภาพคล่องหลังภาวะการเงินตึงตัวขึ้นมาก ในระยะปานกลางเวียดนามจะได้ประโยชน์จากการย้ายฐานการผลิตออกจากจีนของ
บริษัทข้ามชาติเพื่อลดความเสี่ยงภูมิรัฐศาสตร์โลก
กัมพูชา
สปป.ลาว
เมียนมา
เวียดนาม
เศรษฐกิจโลก
3
CLMV Outlook 2023
เศรษฐกิจ CLMV มีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่องในปี 2023 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากอุปสงค์ภายในประเทศ
และภาคการท่องเที่ยว แม้การส่งออกชะลอตัวจะเป็นปัจจัยกดดันโดยเฉพาะเวียดนาม
หมายเหตุ : *ปี 2023F ของเมียนมาคือปีงบประมาณ 2022/2023
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสถิติกลุ่มประเทศ CLMV และ IMF
คาดการณ์อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ CLMV ปี 2022-2023
หน่วย : %YOY
ปัจจัยบวก
• อุปสงค์ภายในประเทศฟื้นตัวตามการผ่อนคลายมาตรการ
ควบคุม COVID-19 และตลาดแรงงานที่ทยอยปรับดีขึ้น
• จานวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นต่อเนื่องหลังเปิดประเทศ
• การเปิดประเทศของจีนสนับสนุนการลงทุนจากต่างประเทศ
ปัจจัยลบ
• เศรษฐกิจโลกชะลอตัวกระทบภาคการส่งออก
• นโยบายการเงินในประเทศตึงตัวขึ้นเพื่อควบคุมเงินเฟ้อและ
ประคองค่าเงิน อาจกระทบการปล่อยสินเชื่อและสภาพคล่อง
• ปัจจัยเฉพาะประเทศ เช่น การเมืองในเมียนมา
+
ปัจจัยเสี่ยง
• เงินเฟ้อลดลงช้ากว่าคาด จากราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ยังอยู่
ในระดับสูงและค่าเงินอ่อนค่าต่อเนื่อง
• ความเสี่ยงการผิดนัดชาระหนี้ในประเทศที่มีหนี้สาธารณะสูง
• ความตึงเครียดด้านภูมิรัฐศาสตร์โลกและการเมือง
ในประเทศที่สูงขึ้น
!
-
7.0
7.3
6.6 6.6
5.0
2.5
2.0
8.0
5.5
3.0 3.0
6.2
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา* เวียดนาม
ค่าเฉลี่ยปี 2010-2019 2022F 2023F
เศรษฐกิจโลก
4
CLMV Outlook 2023
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ CLMV จะเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปและต่ากว่าศักยภาพจากความท้าทายต่าง ๆ
เช่น ผลกระทบ COVID-19 เสถียรภาพการคลังและต่างประเทศที่เปราะบาง ประกอบกับปัจจัยเสี่ยงรายประเทศ
หมายเหตุ : *ข้อมูล GDP เมียนมาปี 2021 เป็นข้อมูลทางการ รายงานโดย Central Statistical Organization
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ IMF
คาดการณ์ระดับศักยภาพ GDP ของเศรษฐกิจ CLMV เปรียบเทียบแนวโน้มในอดีตระหว่างปี 2010-2019
หน่วย : พันล้าน (สกุลเงินท้องถิ่น)
20,000
30,000
40,000
50,000
60,000
70,000
80,000
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022F
2023F
กัมพูชา
GDP
Previous trend
Current trend
40,000
60,000
80,000
100,000
120,000
140,000
160,000
180,000
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022F
2023F
สปป.ลาว
40,000
50,000
60,000
70,000
80,000
90,000
100,000
110,000
120,000
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022F
2023F
เมียนมา*
2,000,000
2,500,000
3,000,000
3,500,000
4,000,000
4,500,000
5,000,000
5,500,000
6,000,000
6,500,000
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022F
2023F
เวียดนาม
เศรษฐกิจกัมพูชา ฟื้นตัวช้าเนื่องจากพึ่งพา
การท่องเที่ยวและการลงทุนโดยตรงจาก
ต่างประเทศ 14% และ 12% ของ GDP ตามลาดับ
ซึ่งจะทยอยฟื้นตัวสู่ระดับก่อน COVID-19
เศรษฐกิจสปป.ลาว ได้รับผลกระทบจาก
เสถียรภาพการคลังและต่างประเทศที่
เปราะบาง ส่งผลให้เงินกีบอ่อนค่ารุนแรงและ
เงินเฟ้อเร่งตัวสูง
เศรษฐกิจเมียนมา เผชิญความไม่แน่นอนทาง
การเมืองหลังเกิดรัฐประหารในปี 2021 ส่งผลให้
กิจกรรมทางเศรษฐกิจหยุดชะงักเป็นวงกว้าง
และชาติตะวันตกประกาศคว่าบาตร
เศรษฐกิจเวียดนาม ฟื้นตัวแข็งแกร่งที่สุดในกลุ่ม
CLMV แต่เผชิญปัจจัยกดดันจากความเสี่ยง
เศรษฐกิจโลกถดถอย ซึ่งจะกระทบต่อภาคการ
ส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
เศรษฐกิจโลก
5
CLMV Outlook 2023
อุปสงค์ภายในประเทศและจานวนนักท่องเที่ยวทยอยฟื้นตัวหลังเปิดประเทศ จาก Pent up demand โดยเฉพาะ
จากนักท่องเที่ยว ASEAN ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคัญช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ CLMV ในปีนี้
หมายเหตุ : *สปป.ลาวไม่ได้รายงานจานวนนักท่องเที่ยวตั้งแต่ปี 2020
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Google และ CEIC
ดัชนี Google mobility (สถานที่ค้าปลีกและนันทนาการ)
หน่วย : % การเปลี่ยนแปลงจากระดับฐาน (ม.ค-ก.พ. 2020)
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติขาเข้าของ CLMV (ไม่รวมสปป.ลาว)*
หน่วย : คน
-80
-60
-40
-20
0
20
Feb-20
Apr-20
Jun-20
Aug-20
Oct-20
Dec-20
Feb-21
Apr-21
Jun-21
Aug-21
Oct-21
Dec-21
Feb-22
Apr-22
Jun-22
Aug-22
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
2022
ดัชนีการเดินทาง (ตัวชี้วัดสะท้อนอุปสงค์
ภายในประเทศ) ฟื้นตัวต่อเนื่องในปี 2022
0
1,000,000
2,000,000
3,000,000
เวียดนาม กัมพูชา เมียนมา
สัดส่วนการพึ่งพาภาคการท่องเที่ยวในประเทศและนักท่องเที่ยวต่างชาติต่อ GDP ในปี 2019
18.2% 5.0% 3.9% 9.8% กัมพูชาและเวียดนาม
จะได้ประโยชน์มากที่สุด
จากการฟื้นตัวของ
ภาคการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจโลก
6
CLMV Outlook 2023
การจ้างงานแรงงานต่างด้าวจาก CLMV ในไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แม้จะยังต่ากว่าก่อน COVID-19
ซึ่งเป็นปัจจัยสนับสนุนการบริโภคภายในประเทศของ CLMV ผ่านเงินโอนกลับประเทศ (Remittances) ที่สูงขึ้น
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักบริหารแรงงานต่างด้าว World Bank/KNOMAD และ CEIC
การจ้างงานแรงงาน CLMV ในไทย
หน่วย : คน
มูลค่าการโอน Remittances กลับประเทศ
หน่วย : % ต่อ GDP
สัดส่วนแรงงาน CLMV ในไทย (เดือน พ.ย. 2022)
หน่วย : % ต่อกาลังแรงงานประเทศต้นทางปี 2021
0
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
3,000,000
Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22
เมียนมา กัมพูชา สปป.ลาว เวียดนาม
ระดับเดือน ม.ค. 2020 : 2.79 ล้านคน 4.6
1.0
2.8
5.2
0.0
1.0
2.0
3.0
4.0
5.0
6.0
7.0
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
2019 2020 2021 2022f
5.3 5.8
8.5
0.00002
0
2
4
6
8
10
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
เศรษฐกิจโลก
7
CLMV Outlook 2023
การส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ใน CLMV จะถูกกดดันจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก
แต่การเปิดประเทศของจีนในปี 2023 อาจช่วยพยุงไม่ให้การส่งออก และ FDI ได้รับผลกระทบมาก
หมายเหตุ : *Approved FDI คือ Total registered capital หรือมูลค่า FDI ที่ได้รับการอนุมัติ และ Disbursed FDI คือ Implementation capital หรือมูลค่า FDI ที่ได้เบิกจ่ายแล้ว
**ข้อมูลเมียนมาเป็นมูลค่า FDI ที่ได้รับการอนุมัติในปีงบประมาณ 2017/2018
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ JP Morgan, IHS Markit, CEIC, ASEAN Secretariat และ DICA
ดัชนี PMI : New exports order ภาคการผลิต และการส่งออกเวียดนาม
หน่วย : ดัชนี (<50 = คาสั่งซื้อจากต่างประเทศหดตัว)
FDI ของเวียดนาม
หน่วย : %YOY (Year-To-Date)
แหล่งที่มาของ FDI ใน CLMV (ปี 2018)
หน่วย : % ของทั้งหมด
-30
-20
-10
0
10
20
30
40
45
50
55
60
Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22
PMI: Global PMI: China PMI: US Vietnam Exports (แกนขวา)
หน่วย : %YOY
คาสั่งซื้อจากต่างประเทศลดลง
ดัชนี PMI สะท้อนความต้องการสินค้าส่งออกของโลกที่หดตัวต่อเนื่อง ขณะที่การส่งออกเวียดนาม
(ซึ่งมีความสัมพันธ์สูงกับห่วงโซ่อุปทานโลก) หดตัวครั้งแรกในรอบ 14 เดือน
-30
-10
10
30
Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22
Approved FDI* Disbursed FDI* Number of New Projects
FDI ไหลเข้าเวียดนามขยายตัวในปี 2022 ขณะที่ FDI ที่ได้รับการอนุมัติหดตัว
สะท้อนสัญญาณด้านลบสาหรับการเบิกจ่าย FDI ไหลเข้าในปี 2023
0%
25%
50%
75%
100%
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา** เวียดนาม
อื่น ๆ
ญี่ปุ่น
เกาหลีใต้
อาเซียน
จีน
จีนเป็นผู้ลงทุนสาคัญใน CLMV
เศรษฐกิจโลก
8
CLMV Outlook 2023
การลงทุนโดยตรงจากไทยไปกลุ่มประเทศ CLMV มีแนวโน้มขยายตัวต่า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากเศรษฐกิจ
ภูมิภาคที่ฟื้นตัวแข็งแกร่งขึ้น ขณะที่ปัจจัยกดดันมาจากความเสี่ยงรายประเทศและการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย
การลงทุนโดยตรงจากไทย (Thailand direct investment: TDI) ไป CLMV
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
-
• TDI ไป CLMV ในปี 2022 ค่อนข้างซบเซา
โดยได้รับผลกระทบจากความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจภูมิภาค
ต้นทุนการลงทุนสูงขึ้นตามเงินเฟ้อและเงินบาทอ่อนค่า
ตลอดจนเศรษฐกิจภูมิภาคที่ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และปัจจัยเสี่ยง
รายประเทศ
• ในปี 2023 TDI มีแนวโน้มฟื้นตัวต่า
โดยได้รับแรงกดดันจากเงินเฟ้อสูงและเศรษฐกิจโลกชะลอตัว
ขณะที่ปัจจัยเสี่ยงรายประเทศ เช่น ความไม่แน่นอนทาง
การเมืองในเมียนมา เสถียรภาพการคลังและต่างประเทศ
ในสปป.ลาว ที่เปราะบางจะยังคงมีอยู่
• ในระยะปานกลาง CLMV จะยังคงเป็นกลุ่มประเทศที่ได้รับ
ความสนใจจากนักลงทุนไทย เนื่องจากเศรษฐกิจเติบโตเร็ว
• และตลาดแรงงานมีขนาดใหญ่ มาตรการดึงดูดการลงทุน
ของ CLMV จะเป็นโอกาสขยายการลงทุนสาหรับธุรกิจไทย
แนวโน้มการลงทุนโดยตรงจากไทย (TDI) ไป CLMV
1,406
1,464
1,168
1,408
1,027
1,311
1,184
1,254
419
1,203
710
1,074
638 662
573
5,447
4,776
3,406
1,874
0
1000
2000
3000
4000
5000
6000
0
200
400
600
800
1000
1200
1400
1600
Q1/19 Q3/19 Q1/20 Q3/20 Q1/21 Q3/21 Q1/22 Q3/22 2019202020213Q22
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
เศรษฐกิจโลก
9
CLMV Outlook 2023
ในระยะปานกลาง การค้าและการลงทุนของ CLMV จะได้ปัจจัยบวกจากข้อตกลงการค้าเสรี ทั้งรูปแบบพหุภาคี
และทวิภาคี ผ่านอัตราภาษีและมาตรการกีดกันระหว่างประเทศที่ลดลง โดยเวียดนามมีแนวโน้มได้ประโยชน์มากสุด
หมายเหตุ : *ผลการศึกษาจาก World Bank
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ World Bank Nikkei Asia และ Asian Development Bank
ข้อตกลงการค้าเสรีในภูมิภาค
-
• มาตรการกีดกันทางการค้าทั้งในรูปภาษีและมิใช่ภาษีลดลง
รวมถึงข้อบังคับด้าน Rule of origin มีความสอดคล้องกันมากขึ้น
จะช่วยลดต้นทุนการค้าและกระตุ้นการส่งออกระหว่างประเทศ
• ประสิทธิภาพการผลิตสูงขึ้น เนื่องจากราคาสินค้านาเข้าเพื่อใช้
ในการผลิตต่าลง
• กฎระเบียบสาหรับการลงทุนโดยตรงระหว่างประเทศผ่อนคลายขึ้น
ช่วยกระตุ้น FDI และการถ่ายทอดเทคโนโลยีในการผลิต
และทักษะแรงงาน
ประโยชน์ของข้อตกลงการค้าเสรี
Thailand
Cambodia
Lao PDR
Vietnam
Myanmar
Indonesia
Malaysia
Philippines Singapore
Brunei
China Japan
South Korea Australia
New Zealand
ASEAN
ASEAN Trade
in Goods
Agreement
(ATIGA)
RCEP
Regional Comprehensive
Economic Partnership
CPTPP
Comprehensive and
Progressive Agreement
for Trans-Pacific
Partnership
Mexico
Peru Canada
Chile
Cambodia-China FTA
Cambodia-Korea FTA
Bilateral
Signed, in effect (Jan 2022)
Signed, in effect (Dec 2022)
Bilateral
Vietnam-EU FTA
Vietnam-Korea FTA
Signed, in effect (Aug 2020)
Signed, in effect (Dec 2015)
Vietnam-UK FTA
Signed, in effect (May 2021)
Vietnam-Chile FTA
Signed, in effect (April 2014)
คาดการณ์ผลบวกจาก RCEP ต่อการส่งออกในระยะยาว*
หน่วย : % การเพิ่มขึ้นจากกรณีเปรียบเทียบที่ไม่มี RCEP (ปี 2035)
4.2
6.5
4.3
11.4
0
5
10
15
ไทย กัมพูชา สปป.ลาว เวียดนาม
เศรษฐกิจโลก
10
CLMV Outlook 2023
อัตราเงินเฟ้อใน CLMV มีแนวโน้มชะลอตัวในปี 2023 แต่จะไม่ลดลงเร็วมาก เนื่องจากราคาน้ามันโลกจะยังอยู่
ในระดับสูง แรงกดดันค่าเงินอ่อน และอุปสงค์ภายในประเทศทยอยฟื้นตัว
หมายเหตุ : *ข้อมูลเดือน ก.ค. สาหรับเมียนมา
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC และ World Bank
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป
หน่วย : %YOY
จานวนชั่วโมงการทางานของแรงงานเฉลี่ยและการขยายตัวของค่าจ้าง
0
10
20
30
40
Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
ที่มาของอัตราเงินเฟ้อ (เดือน พ.ย. 2022)
หน่วย : %
57.4 51.1 55.3
29.3
4.1
22.5 23.3
2.1
3.2
3.3
5.3
25.5
0%
25%
50%
75%
100%
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา* เวียดนาม
Food & Non-Alcoholic Beverage Transportation Housing & Utilities Others
กัมพูชา : เงินเฟ้อมีแนวโน้มชะลอตัวตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก เศรษฐกิจที่ใช้สกุลเงินดอลลาร์
สหรัฐสูง (Dollarization) มีส่วนช่วยลดผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน
สปป.ลาว : เงินเฟ้อจะคงอยู่ในระดับสูงจากเงินกีบที่มีแนวโน้มอ่อนค่าต่อเนื่องตามเสถียรภาพต่างประเทศที่
เปราะบางกระทบต่อราคาสินค้านาเข้าเพื่อการบริโภค ซึ่งสปป.ลาวพึ่งพาสูง
เมียนมา : เงินเฟ้อจะคงอยู่ในระดับสูงตามการอ่อนค่าของเงินจัต ซึ่งมีแนวโน้มอ่อนค่าต่อเนื่องจากรายได้
ต่างประเทศและความเชื่อมั่นนักลงทุนที่ลดลงมากหลังเกิดสถานการณ์ทางการเมือง
เวียดนาม : เงินเฟ้อเร่งตัวเล็กน้อยตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ เงินดองอ่อนค่าและมาตรการ
ลดค่าครองชีพของภาครัฐที่จะทยอยหมดไป แม้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลกลดลงจะช่วยลดเงินเฟ้อ
แนวโน้มเงินเฟ้อปี 2023
Cost-Push Demand-Pull Expectation FX Passthrough
กัมพูชา
สปป.ลาว
เมียนมา
เวียดนาม
แรงกดดันต่า แรงกดดันปานกลาง แรงกดดันสูง
เศรษฐกิจโลก
11
CLMV Outlook 2023
แรงกดดันค่าเงิน CLMV อ่อนค่ามีแนวโน้มลดลง ตามการฟื้นตัวของรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติและการชะลอ
การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของ Fed แต่ยังมีความเปราะบางจากการลดลงของเงินทุนสารองระหว่างประเทศ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC
ค่าเงิน CLMV เทียบดอลลาร์สหรัฐในปี 2022
หน่วย : ดัชนี (100 = 3 ม.ค. 2022)
สัดส่วนเงินทุนสารองระหว่างประเทศต่อมูลค่านาเช้า
หน่วย : เดือน
ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP
หน่วย : % ของ GDP
70
80
90
100
110
120
130
140
150
160
98
100
102
104
106
108
110
112
114
116
118
120
122
3-Jan 3-Feb 3-Mar 3-Apr 3-May 3-Jun 3-Jul 3-Aug 3-Sep 3-Oct 3-Nov 3-Dec
USD/KHR USD/MMK USD/VND USD/LAK (แกนขวา)
50.4%
18.1%
2.1%
1.0%
อ่อนค่า
แข็งค่า
ค่าเงินสปป.ลาว และเมียนมา
อ่อนค่ามากตามปัจจัย
ความเปราะบางในประเทศ
0
5
10
15
กัมพูชา สปป.ลาว เวียดนาม เงินทุนสารองระหว่างประเทศ
ที่ลดลงอาจจากัดความสามารถในการ
ดูแลค่าเงินไม่ให้อ่อนค่าเกินไป
การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดที่ลดลง
จะลดแรงกดดันค่าเงินอ่อนค่า
-40
-20
0
กัมพูชา (หักทอง) สปป.ลาว
เมียนมา เวียดนาม
มาตรฐานสากล :
3 เดือน
เศรษฐกิจโลก
12
CLMV Outlook 2023
ธนาคารกลาง CLMV มีแนวโน้มใช้นโยบายการเงินตึงตัวต่อเนื่องในปี 2023 เพื่อควบคุมเงินเฟ้อสูง
หลังเศรษฐกิจฟื้นตัว แต่จะชะลอความเร็วในการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายหลังแรงกดดันเงินเฟ้อเริ่มลดลง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย CLMV
หน่วย : %
1. แรงกดดันการอ่อนค่าของสกุลเงิน CLMV เริ่มลดลง หลังธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed)
ส่งสัญญาณชะลอการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ส่งผลให้เงินดอลลาร์สหรัฐเริ่มอ่อนค่าลง
2. แรงกดดันเงินเฟ้อด้านอุปสงค์ (Demand-pull inflation) ต่า
เนื่องจากเศรษฐกิจ CLMV ยังฟื้นตัวต่ากว่าศักยภาพ โดยเฉพาะสปป.ลาว และเมียนมา ขณะที่
เงินเฟ้อมาจากด้านอุปทานเป็นหลัก ซึ่งราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลกมีแนวโน้มชะลอลงในปี 2023
3. บางประเทศเริ่มเผชิญความเสี่ยงด้านเครดิตมากขึ้น เช่น เวียดนามเผชิญ
การขาดสภาพคล่องในภาคอสังหาฯ เนื่องจากตลาดการเงินตึงตัวมากจนเกิด Credit crunch
ซึ่งอาจเป็นความเสี่ยงต่อเสถียรภาพเศรษฐกิจได้
การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจะเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปในปี 2023
Dollar Index (DXY)
หน่วย : ดัชนี
90
100
110
120
Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22
USD อ่อนค่า
USD แข็งค่า
ดอลลาร์สหรัฐเริ่มอ่อนค่าจะช่วยลดแรงกดดันต่อค่าเงิน CLMV
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
ธนาคารกลางสปป.ลาว และเวียดนามเร่งปรับขึ้น
อัตราดอกเบี้ยนโยบายในปี 2022 หลังอัตราเงินเฟ้อเร่งตัวขึ้น
+0%
+3.5%
+2.0%
%YTD
เศรษฐกิจโลก
13
CLMV Outlook 2023
ภาระการชาระหนี้ของ CLMV สูงขึ้นตามภาวะการเงินตึงตัวและค่าเงินอ่อน สปป.ลาว และเมียนมา
มีความเปราะบางด้านหนี้สาธารณะ ขณะที่กัมพูชา และเวียดนามมีความเปราะบางด้านหนี้เอกชน
คาดการณ์หนี้สาธารณะต่อ GDP ของ IMF (ต.ค. 2022)
หน่วย : % ของ GDP
ยอดคงค้างสินเชื่อสถาบันการเงินต่อ GDP
หน่วย : % ต่อ GDP
หนี้เอกชน
หนี้สาธารณะ
37.2
108.9
63.7
40.5
0
50
100
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
2022F 2023F 2024F 2025F
149
47 32
123
0
100
200
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
ธุรกิจ CLMV พึ่งพาสินเชื่อจากสถาบันการเงินมากกว่าช่องทางการระดมทุนอื่น ๆ
เนื่องจากตลาดการเงินในประเทศยังมีขนาดเล็ก
องค์ประกอบของหนี้สาธารณะ (จาแนกตามหนี้ในประเทศและต่างประเทศ)
หน่วย : % ของหนี้สาธารณะปี 2021
อัตราดอกเบี้ย Interbank ระยะ 7 วัน
หน่วย : %
100 83.4
38.2 32.8
0%
50%
100%
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา* เวียดนาม
Foreign Domestic
0
2
4
6
8
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
กัมพูชา (USD)** เวียดนาม (VND)
Interbank Rate ในกัมพูชาและเวียดนามสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว สะท้อนภาวะการเงินในประเทศตึงตัว ซึ่งส่งผล
ให้สถาบันการเงินมีต้นทุนทางการเงินสูงขึ้นตามและลดการปล่อยสินเชื่อลงจนอาจกระทบต่อสภาพคล่องของ
บริษัทเอกชนได้
นโยบายการเงินโลกตึงตัวมากเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อประเทศที่มีหนี้สาธารณะสกุลเงินต่างประเทศสูง โดยสปป.ลาว
มีภาระหนี้สาธารณะ ต่อ GDP สูงสุดใน CLMV ท่ามกลางเงินกีบอ่อนค่าเร็ว หนี้ต่างประเทศสูง และเงินทุน
สารองระหว่างประเทศต่า
หมายเหตุ : *ประมาณการของ IMF ณ สิ้นเดือน ส.ค. 2019
**อัตราดอกเบี้ยของกัมพูชาคืออัตราดอกเบี้ย Negotiable certificate of deposits หรือ ตราสารหนี้ระยะสั้นที่ออกโดยธนาคารกลางเพื่อให้สถาบันการเงินบริหารสภาพคล่อง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC IMF และกระทรวงการคลังกลุ่มประเทศ CLMV
เศรษฐกิจโลก
14
CLMV Outlook 2023
ความเสี่ยงภูมิรัฐศาสตร์โลกมีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งจะเป็นทั้งโอกาสสาหรับ CLMV ผ่านการย้ายฐานการผลิต
และการลงทุนในโครงการ Belt and Road Initiative (BRI) และเป็นความท้าทายที่ต้องระวัง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ www.matteoiacoviello.com และสานักข่าวต่างประเทศ
ประเด็นภูมิรัฐศาสตร์โลกที่มีนัยต่อ CLMV ดัชนีความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitical risk index)
หน่วย : ดัชนี
สงครามรัสเซีย-ยูเครนยืดเยื้อ ราคา
สินค้าโภคภัณฑ์โลกอยู่ในระดับสูง
1
2
3
4
5
เทรนด์การย้ายฐานการผลิตกลับสหรัฐฯ
หรือประเทศใกล้เคียง
(Reshoring/Near-shoring)
การย้ายฐานการผลิตจากจีนและ
การลงทุนในโครงการ BRI
ความไม่แน่นอนทางการเมืองและ
การคว่าบาตรของชาติตะวันตก
ความตึงเครียดจีน-ไต้หวัน
และแถบทะเลจีนใต้
0
100
200
300
2005 2010 2015 2020
ความเสี่ยงสูงขึ้น
สงครามรัสเซีย-ยูเครน (24 ก.พ. 2022)
โอกาส
• การย้ายฐานการผลิตออกจากจีน
สนับสนุน FDI ของ CLMV
• การลงทุนในโครงการ BRI ของจีน
อาจเร่งตัวเพื่อแข่งกับสหรัฐฯ
• สหรัฐฯ และจีนอาจเพิ่มบทบาทความ
ร่วมมือในภูมิภาค ซึ่งจะเป็นโอกาส
สาหรับ CLMV ในการพัฒนาศักยภาพ
ประเทศ
ความท้าทาย
• ความตึงเครียดในภูมิภาค อาจส่งผลให้
เกิดปัญหาห่วงโซ่อุปทานขาดตอน
• แรงกดดันทางการเมืองสูงขึ้น
ประเด็นสิทธิเสรีภาพและความโปร่งใส
ของการเลือกตั้งจะถูกเพ่งเล็ง
• มาตรการกีดกันทางการค้ามีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้น
เศรษฐกิจกัมพูชาอยู่ในช่วงฟื้นตัวตามภาคการท่องเที่ยวและอุปสงค์ภายในประเทศ
อย่างไรก็ดี การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกจะกระทบการส่งออก และการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ยังต้องจับตาความเสี่ยงหนี้เอกชนสูง
ท่ามกลางภาวะการเงินที่ตึงตัวขึ้น ตลอดจนการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสูง ซึ่งอาจส่งผลให้ค่าเงินผันผวนมากขึ้น
เศรษฐกิจกัมพูชา
เศรษฐกิจโลก
16
CLMV Outlook 2023
21.4
22.9
7.6
18.8
4.5
3.5
21.3
Agriculture
Manufacturing
Construction
Wholesale and retail trade
Transportation and storage
Accomodation and food services
Others
เศรษฐกิจกัมพูชามีแนวโน้มฟื้นตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 ที่ 5.5% โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากภาคการท่องเที่ยว
และตลาดแรงงานที่ฟื้นตัวตามอุปสงค์ภายในประเทศ
หมายเหตุ : *ข้อมูลจากบริษัท Revelio Labs, Inc. ซึ่งทาการวิเคราะห์ตลาดแรงงาน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC และ National Institute of Statistics Cambodia
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ (แบ่งตามกลุ่มประเทศ)
หน่วย : พันตาแหน่ง
สัดส่วนการจ้างงานรายอุตสาหกรรมปี 2019
หน่วย : % ของทั้งหมด
0
250,000
500,000
750,000
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
East Asia ASEAN Europe Americas Others
ภาคการท่องเที่ยวเริ่มฟื้นตัวจากนักท่องเที่ยว ASEAN เป็นหลัก
การเปิดประเทศของในกลุ่ม East Asiaโดยเฉพาะจีน
จะสนับสนุนการฟื้นตัวต่อไป แรงงานประมาณ 27%
อยู่ในอุตสาหกรรมที่ได้
ประโยชน์จากการฟื้นตัว
ของภาคการท่องเที่ยว
รายได้จากนักท่องเที่ยว (ในและนอกประเทศ)
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
จานวนการประกาศรับสมัครงาน*
หน่วย : ตาแหน่ง
หน่วย : % ของ GDP
18.2 %
0
5
10
15
20
0
2500
5000
2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021
Tourism revenue % of GDP (แกนขวา)
80
120
160
200
800
1000
1200
1400
Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22
Total Accomodation and food services (แกนขวา)
เศรษฐกิจโลก
17
CLMV Outlook 2023
การส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ถูกกดดันจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัวและเศรษฐกิจจีน
ที่เพิ่งเปิดประเทศ ซึ่งคาดว่า FDI ใช้เวลาฟื้นตัวกว่าจะกลับสู่ระดับก่อน COVID-19
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC
ที่มาของอัตราการขยายตัวการส่งออก (หักทองคา อัญมณี และไข่มุก)
หน่วย : %YOY
มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : %YOY
มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากในและต่างประเทศที่ได้รับการอนุมัติ
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
-20
0
20
40
60
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Clothing and apparels Footwear
Travel goods Cereals
Electrical machinery and electronics Others
Total
การส่งออก
เริ่มชะลอตัว
-25
0
25
50
75
100
-300
0
300
600
900
1200
FDI Growth (แกนขวา)
0
1000
2000
3000
4000
Domestic China Hong Kong Thailand Others
มูลค่าการลงทุนที่ได้รับ
อนุมัติยังซบเซา
• การส่งออกกัมพูชาชะลอตัว โดยเฉพาะเครื่องนุ่งห่มและสินค้าเดินทาง ซึ่งเป็นสินค้าส่งออก
หลัก ตามเศรษฐกิจโลกชะลอตัวและเงินเฟ้อสูงกระทบกาลังซื้อจากต่างประเทศ
• สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ช่วยขับเคลื่อนการส่งออก หลังอุปสงค์เพิ่มสูงขึ้นในช่วงการล็อกดาวน์
ซึ่งจะช่วยให้กัมพูชาพัฒนาสู่ห่วงโซ่อุปทานที่สูงขึ้นในระยะต่อไป
• การลงทุนในประเทศและนอกประเทศยังซบเซา ตามเศรษฐกิจที่ยังฟื้นตัวอย่างเปราะบาง
เศรษฐกิจโลก
18
CLMV Outlook 2023
เงินเฟ้อมีแนวโน้มชะลอตัวในปี 2023 ตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลกที่ปรับลดลง ช่วยสนับสนุนการฟื้นตัวของ
อุปสงค์ภายในประเทศ ทั้งนี้ควรจับตาผลกระทบเงินเฟ้อต่อความสามารถในการชาระหนี้โดยเฉพาะหนี้ภาคเอกชน
หมายเหตุ : *ในช่วง 3 ไตรมาสแรกของปี 2022 เทียบ GDP ปี 2021
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC
ที่มาของอัตราเงินเฟ้อทั่วไป
หน่วย : %YOY
มูลค่าสินเชื่อคงค้างต่อ GDP
หน่วย : % ต่อ GDP
3.2
-2
0
2
4
6
8
Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22
Food & non-alcoholic beverage Housing & utilities
Transportation Others
Headline Inflation
28.1 34.0 41.9 48.6 57.6 65.3 70.2 76.0 85.1
97.8
123.9
148.9
0
50
100
150
2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021
Non-financial institutions Households Financial institutions Others
มูลค่าการนาเข้าเชื้อเพลิงปิโตรเลียมต่อ GDP*
หน่วย : % ต่อ GDP
อัตราส่วนหนี้เสียในสถาบันรับฝากเงิน (NPL Ratio)
หน่วย : % ต่อสินเชื่อทั้งหมด
10.6 9.5
3.8 4.9
0
4
8
12
กัมพูชา ไทย เวียดนาม ฟิลิปปินส์
2.8
0
1
2
3
มูลค่าสินเชื่อคงค้างขยายตัวค่อนข้างเร็วอาจเป็นความเสี่ยงได้ หากความสามารถในการชาระหนี้ของครัวเรือน
และธุรกิจลดลงจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจหรือเงินเฟ้อสูง โดย NPL Ratio
เพิ่มขึ้นเล็กน้อยหลังมาตรการปรับโครงสร้างหนี้สิ้นสุดลง
เงินเฟ้อของกัมพูชามาจากสินค้านาเข้าเป็นหลัก โดยเฉพาะน้ามัน กัมพูชาพึ่งพาการนาเข้าสูงกว่าประเทศอื่น ๆ
ในภูมิภาค ขณะที่เงินเฟ้อด้านอุปสงค์ยังมีไม่มาก ราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลกที่ลดลง
จึงจะเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลให้เงินเฟ้อมีแนวโน้มชะลอตัวลงในปี 2023
เศรษฐกิจสปป.ลาวฟื้นตัวช้าจากเงินเฟ้อสูงและเงินกีบอ่อนค่ามาก กระทบกาลังซื้อผู้บริโภคและฐานะการคลัง
อย่างไรก็ดี การเปิดประเทศของจีนและรถไฟความเร็วสูงจีน-สปป.ลาวจะสนับสนุนให้เศรษฐกิจทยอยฟื้นตัว
ประเด็นที่ต้องจับตาคือความเปราะบางด้านเสถียรภาพด้านราคา ด้านการคลัง และด้านต่างประเทศ
เศรษฐกิจสปป.ลาว
เศรษฐกิจโลก
20
CLMV Outlook 2023
เศรษฐกิจสปป.ลาวมีแนวโน้มฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไปในปี 2023 ที่ 3.5% โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก FDI หลังการ
เปิดประเทศของจีน รถไฟจีน-สปป.ลาวช่วยลดเวลาการส่งออกและการท่องเที่ยว และอุปสงค์ภายในประเทศ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, World Bank และ Ministry of Industry and Commerce Lao PDR
การส่งออก
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าการค้าส่ง-ค้าปลีก
หน่วย : ล้านล้านกีบ
หน่วย : %YOY
-20
0
20
40
60
80
100
-400
0
400
800
1200
1600
2000
2400
Q1/2019
Q2/2019
Q3/2019
Q4/2019
Q1/2020
Q2/2020
Q3/2020
Q4/2020
Q1/2021
Q2/2021
Q3/2021
Q4/2021
Q1/2022
Q2/2022
Q3/2022
Exports Value Growth Rate (แกนขวา)
0
10
20
30
40
H1/2019 H1/2020 H1/2021 H1/2022
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : %YOY
-80
-40
0
40
80
120
-200
-100
0
100
200
300
400
Q1/2019
Q2/2019
Q3/2019
Q4/2019
Q1/2020
Q2/2020
Q3/2020
Q4/2020
Q1/2021
Q2/2021
Q3/2021
Q4/2021
Q1/2022
Q2/2022
Q3/2022
FDI Growth Rate (แกนขวา)
• การส่งออกของสปป.ลาวชะลอตัว สาเหตุจากฐานสูง อุปสงค์โลกเริ่มเปลี่ยนพฤติกรรมไปบริโภค
บริการมากขึ้น การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน และภาคธุรกิจในประเทศที่เผชิญปัญหาค่าเงินกีบ
อ่อนและเงินเฟ้อสูง ขณะที่การส่งออกไฟฟ้ามาไทยยังขยายตัว
• การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศหดตัว ส่วนหนึ่งเป็นผลจากโครงการลงทุนหลักเสร็จสิ้น
ในปี 2021 ขณะที่การลงทุนโครงการใหม่ยังมีไม่มากจากความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจที่สูง
• มูลค่าค้าส่ง-ค้าปลีกขยายตัวจากฐานต่า หลังสปป.ลาวผ่อนคลายมาตรการควบคุม COVID-19
แต่การบริโภคยังถูกกดดันจากเงินเฟ้อสูง โดยเฉพาะในช่วงครึ่งหลังของปี 2022
เศรษฐกิจโลก
21
CLMV Outlook 2023
เสถียรภาพเศรษฐกิจเปราะบางทั้งด้านเสถียรภาพราคาและเสถียรภาพต่างประเทศ โดยเงินเฟ้อสูง เงินทุนสารอง
ระหว่างประเทศต่าและดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล ซึ่งจะกดดันให้เงินกีบอ่อนค่าต่อเนื่องและเงินเฟ้อลดลงไม่เร็วนัก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Bank of Lao PDR และธนาคารแห่งประเทศไทย
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป
หน่วย : %YOY
มูลค่าเงินทุนสารองระหว่างประเทศต่อมูลค่านาเข้า
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : เดือน
ค่าเงินกีบต่อดอลลาร์สหรัฐและบาท
หน่วย : USD/LAK
ดุลบัญชีเดินสะพัด
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
หน่วย : THB/LAK
38.5
0
10
20
30
40
Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22
Food & non-alcoholic beverage Housing & utilities
Transport (fuel) & communications Others
Headline Inflation
250
350
450
550
9000
11000
13000
15000
17000
Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22
USD/LAK THB/LAK (แกนขวา)
1.5
0
1
2
3
0
500
1000
1500
Jan-20
Mar-20
May-20
Jul-20
Sep-20
Nov-20
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Foreign Reserves Months of Imports (แกนขวา)
-750
-500
-250
0
250
500
Q1/2015 Q1/2016 Q1/2017 Q1/2018 Q1/2019 Q1/2020 Q1/2021 Q1/2022
Goods Service Primary income Secondary income CA
เงินกีบอ่อนค่า
เงินกีบแข็งค่า
อัตราเงินเฟ้อเร่งตัวในวงกว้างตามเงินกีบอ่อนค่าเร็ว
คาดในปี 2023 เงินเฟ้อชะลอตัวแต่ยังอยู่ในระดับสูง
เงินกีบอ่อนค่าต่อเนื่องแม้ Fed
ส่งสัญญาณชะลอขึ้นดอกเบี้ย
เงินทุนสารองระหว่างประเทศอยู่ในระดับต่ากว่า
เกณฑ์มาตรฐาน (มูลค่านาเข้า 3 เดือน)
สปป.ลาวกลับมาขาดดุลบัญชีเดินสะพัดจากดุลการค้า
เกินดุลลดลงมากและดุลเงินโอนขาดดุลสูงขึ้น
เศรษฐกิจโลก
22
CLMV Outlook 2023
นอกจากนี้ ฐานะการคลังไม่แข็งแรงมากนัก จากภาวะการเงินโลกตึงตัวแรง เพราะมีหนี้สาธารณะสกุลเงิน
ต่างประเทศสูง รัฐบาลจึงต้องเร่งเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ โดยเฉพาะกับจีน เพื่อหาทางออกในระยะต่อไป
หมายเหตุ : *รวมภาระเงินต้นและดอกเบี้ย
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Ministry of Finance Lao PDR
คาดการณ์ดุลการคลังโดย IMF
หน่วย : % ของ GDP
สัดส่วนเจ้าหนี้รายประเทศปี 2021
หน่วย : % ของทั้งหมด
-3.3
-5.6
-3.6
-5.1 -4.8 -4.7 -4.6 -4.4
-6
-4
-2
0
2019 2020 2021 2022 2023 2024 2025 2026
คาดการณ์ภาระหนี้สาธารณะสกุลเงินต่างประเทศโดยกระทรวงการคลังสปป.ลาว*
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
1,144
1,379
1,220
1,464
1,242
0
500
1000
1500
2022 2023 2024 2025 2026
Concessional bilateral loan Concessional multilateral loan
Market-terms bilateral loan Market-terms multilateral loans
Market-terms bond Commercial bank loan
สปป.ลาวขาดดุลการคลังต่อเนื่อง เป็นปัญหา Twin deficits
คู่กับการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด
49%
4%
17%
9%
14%
China
Thailand
Japan
Korea
Russia
Multilateral
Commercial Banks
Others
รัฐบาลสปป.ลาวมีภาระหนี้สกุลเงินต่างประเทศสูง ประมาณ 1.1-1.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี
จนถึงปี 2026 สะท้อนฐานะการคลังที่ไม่แข็งแรงมากนัก เนื่องจากมีเงินทุนสารองระหว่างประเทศ
เพียงประมาณ 1.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ณ เดือน ก.ย. 2022 นอกจากนี้ เงินกีบที่อ่อนค่ามากจะส่งผล
ให้ภาระหนี้รูปเงินกีบสูงขึ้นด้วย ดังนั้น สปป.ลาวจาเป็นต้องเร่งเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ โดยเฉพาะกับจีน
ซึ่งเป็นเจ้าหนี้เกือบ 50% ของหนี้ต่างประเทศทั้งหมด ผ่านการผ่อนผันการชาระหนี้ และเร่งเพิ่มรายได้
สกุลเงินต่างประเทศ เช่น สนับสนุนการท่องเที่ยวและการส่งออกผ่านรถไฟความเร็วสูงจีน-สปป.ลาว
เศรษฐกิจเมียนมามีแนวโน้มฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไป กิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มกลับมาเป็นปกติมากขึ้นหลังการรัฐประหาร
อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวจะยังเปราะบางและต่ากว่าศักยภาพ
การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกจะยิ่งกดดันการฟื้นตัวเพิ่มเติม
เศรษฐกิจเมียนมา
เศรษฐกิจโลก
24
CLMV Outlook 2023
เศรษฐกิจเมียนมาในปีงบประมาณ 2022/2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไปที่ 3.5% หลังผลกระทบของความ
ไม่สงบทางการเมืองทยอยลดลง แต่การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกจะกระทบต่อการส่งออกและภาคการผลิตต่อเนื่อง
หมายเหตุ : *จานวนเหตุการณ์ความรุนแรงในประเทศครอบคลุมการสู้รบ (Battles), เหตุระเบิดและความรุนแรงทางไกล (Explosions and remote violence), การประท้วง (Protests and riots)
และการใช้ความรุนแรงต่อพลเรือน (Violence against civilians) // การเดินทางโดยรถประจาทางในเมืองย่างกุ้ง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ACLED (https://acleddata.com/), S&P Global และ CEIC
จานวนเหตุการณ์ความรุนแรงในประเทศและการเดินทางโดยรถประจาทาง*
หน่วย : ครั้ง
จานวนธุรกิจจดทะเบียนจัดตั้งใหม่
หน่วย : จานวนธุรกิจ
หน่วย : พันคน-ครั้ง
มูลค่าการส่งออกและนาเข้า
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ดัชนี PMI ภาคการผลิต
หน่วย : ดัชนี (>50 = ขยายตัว)
10,000
20,000
30,000
40,000
0
400
800
1200
Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22
Conflict Events Yangon Bus Passenger Traffic (แกนขวา)
0
500
1000
1500
2000
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
2019 2020 2021 2022
21,019 22,131
20,598
22,431
18,497 17,985
20,331 20,590
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
Exports Imports
2019 2020 2021 2022
25
35
45
55
Jan-20
Mar-20
May-20
Jul-20
Sep-20
Nov-20
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
COVID-19 Wave 1 Wave 2 Political Crisis Wave 3
จานวนเหตุการณ์ความรุนแรงทยอยลดลง ขณะที่การเดินทางของประชากรฟื้นตัวจากระดับต่า
จานวนธุรกิจจดทะเบียนใหม่ฟื้นตัว
แต่ยังค่อนข้างซบเซา
การส่งออกและนาเข้าฟื้นตัว
แต่ยังต่ากว่าระดับปี 2019
ภาคการผลิตหดตัวจากยอดสั่งซื้อสินค้าที่ลดลง
ขณะที่ปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบและพลังงาน
ไฟฟ้ากระทบต่อความสามารถในการผลิต
ขยายตัว
หดตัว
เศรษฐกิจโลก
25
CLMV Outlook 2023
เมียนมาเผชิญความท้าทายต่าง ๆ ซึ่งจะกดดันให้เศรษฐกิจเมียนมาขยายตัวต่าในระยะกลาง รวมถึงจะสร้างความ
เปราะบางในภาคการคลังและภาคต่างประเทศสูงขึ้น
หมายเหตุ : *ข้อมูลปีงบประมาณตั้งแต่ ต.ค.-ก.ย. ปีถัดไป
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ International Labour Organization และ CEIC
มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ได้รับการอนุมัติลดลง*
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
การจ้างงานลดลง (ประมาณการโดย ILO)
หน่วย : ล้านคน
4,158
4,881
3,791
2,989
0
1000
2000
3000
4000
5000
FY18/19 FY19/20 FY20/21 FY21/22
Manufacturing Power Transport & Communication Others
การลงทุนใน
ภาคการผลิต
ลดลงมาก
22 22.45 21.95 20.4
18.6 19.35
0
5
10
15
20
25
2017 2018 2019 2020 2021 H1/22
ดุลการชาระเงินขาดดุลเพิ่มขึ้นหลังรายรับจากต่างชาติลดลง
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
การระดมทุนและจัดเก็บภาษีของภาครัฐทาได้ยากขึ้น
หน่วย : ล้านจัต
-2100
-1400
-700
0
700
1400
2100
Q1/2015 Q1/2016 Q1/2017 Q1/2018 Q1/2019 Q1/2020 Q1/2021 Q1/2022
Current Account Financial Account
Net Error & Omissions Balance of payment
0
250,000
500,000
750,000
1,000,000
0
5,000,000
10,000,000
15,000,000
Jan-17
May-17
Sep-17
Jan-18
May-18
Sep-18
Jan-19
May-19
Sep-19
Jan-20
May-20
Sep-20
Jan-21
May-21
Sep-21
Jan-22
May-22
Treasury Bonds Outstanding
Tax Revenue (แกนขวา)
เมียนมาขาดดุลการชาระเงินมากขึ้น
ซึ่งอาจทาให้เกิดการขาดแคลนเงิน
ดอลลาร์สหรัฐและเงินจัตอ่อนค่าขึ้น
มูลค่าพันธบัตรรัฐบาลคงค้าง
ลดลงหลังเกิดรัฐประหาร
การจัดเก็บภาษีลดลงหลังเกิดรัฐประหาร แต่เริ่มมีสัญญาณการฟื้นตัว
เศรษฐกิจโลก
26
CLMV Outlook 2023
เมียนมามีแผนจัดการเลือกตั้งทั่วไปในเดือน ส.ค. นี้ แต่คาดว่าจะไม่ช่วยให้สถานการณ์การเมืองในประเทศปรับดีขึ้น
หรือไม่ส่งผลต่อมุมมองเชิงลบของชาติตะวันตก ซึ่งจะส่งผลให้มาตรการคว่าบาตรคงอยู่ต่อไป
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักข่าวต่างประเทศ
แนวโน้มสถานการณ์การเมืองในเมียนมาในปี 2023
พัฒนาการทางการเมืองที่สาคัญ
1. ศาลทหารเมียนมามีคาสั่งจาคุกนางอองซานซูจีเพิ่มขึ้นอีก 7 ปี รวมเป็น 33 ปี
ในข้อหาคอรัปชั่น แม้ว่าคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (UNSC) จะมี
มติให้รัฐบาลเมียนมาปล่อยตัวนักโทษทางการเมืองทั้งหมด ซึ่งจะส่งผลให้มาตรการ
คว่าบาตรและความไม่สงบในประเทศคงอยู่ต่อไป
2. คณะทางานเฉพาะกิจเพื่อดาเนินมาตรการทางการเงินเกี่ยวกับการฟอกเงิน
(FATF) ขึ้นบัญชีดาเมียนมาในข้อหาการอุดหนุนการก่อการร้าย (Terrorism
financing) ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศสมาชิกที่จะทาธุรกิจในเมียนมาต้องทา
การตรวจทาน (Due diligence) ที่เข้มงวดขึ้น ซ้าเติมให้สภาพแวดล้อมการทาธุรกิจ
ในเมียนมายากลาบากอีก
3. การปะทะกันระหว่างกองทัพเมียนมาและชนกลุ่มน้อยยังคงเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ในหลายภาคส่วนของประเทศ ซึ่งกระทบต่อความเป็นอยู่และกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ในพื้นที่เหล่านั้น โดยความรุนแรงที่ยังมีอยู่จะกดดันความเชื่อมั่นของผู้บริโภค
และธุรกิจให้ฟื้นตัวได้จากัด
4. รัฐบาลเมียนมาเริ่มหารือกับผู้นากลุ่มชาติพันธุ์บางกลุ่ม เพื่อเตรียมจัดการเลือกตั้ง
ในพื้นที่ที่กองทัพกลุ่มชาติพันธุ์ควบคุมอยู่
หากเมียนมาจัดการเลือกตั้งในปี 2023 :
• พรรค USDP (พรรคการเมืองที่มีความสัมพันธ์สูงกับกองทัพเมียนมา) มีแนวโน้ม
ได้คะแนนเสียงมากสุด และเป็นพรรคที่จะจัดตั้งรัฐบาล
• พรรค NLD (พรรคของนางอองซานซูจี) คาดว่าจะมีบทบาทจากัดในการเลือกตั้ง
เนื่องจากสมาชิกหลายรายถูกรัฐบาลเมียนมาจับกุมตัว
• ชาติตะวันตกจะยังคงมุมมองเชิงลบไว้ แต่ชาติที่เลือกเป็นกลางอาจมีความเชื่อมั่น
ในการลงทุนมากขึ้น
หากเมียนมาไม่จัดการเลือกตั้งในปี 2023 :
• สถานการณ์การเมืองในประเทศที่ไม่แน่นอนและยังมีความรุนแรงอาจส่งผลให้รัฐบาล
เลื่อนการเลือกตั้งออกไป เพื่อควบคุมสถานการณ์และรักษาอานาจ
• ในกรณีนี้ ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจจะยังสูงอยู่ ซึ่งอาจกระทบต่อการลงทุน
โดยตรงจากประเทศที่ไม่ได้คว่าบาตรเมียนมาได้
• มาตรการคว่าบาตรเมียนมาอาจรุนแรงขึ้น หากรัฐบาลใช้ความรุนแรงมากขึ้น
ทั้งสองกรณี สถานการณ์ทางการเมืองจะยังไม่คลี่คลายและส่งผลให้เกิดการหยุดชะงัก
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กระทบการฟื้นตัวของเศรษฐกิจเมียนมาในระยะกลาง
เศรษฐกิจกิจเวียดนามมีแนวโน้มขยายตัวต่าลงในปีนี้ตามการชะลอตัวของการส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
ขณะที่อุปสงค์ภายในประเทศจะชะลอลงจากนโยบายการเงินตึงตัวและการจ้างงานในภาคการผลิตที่จะปรับลดลงในระยะต่อไป
เศรษฐกิจเวียดนาม
เศรษฐกิจโลก
28
CLMV Outlook 2023
เศรษฐกิจเวียดนามมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลงที่ 6.2% ในปี 2023 โดยมีปัจจัยกดดันจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว
ซึ่งกระทบการส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่เศรษฐกิจเวียดนามพึ่งพาสูง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
หน่วย : %YOY
อัตราการขยายตัวของการส่งออก
หน่วย : %YOY
มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ได้รับการอนุมัติ
หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
7.1 7.2 7.6 7.5
3.2
0.3
3.0 4.7 4.9 6.6
-6.0
5.2 5.1
7.8
13.7
5.9
-8
-4
0
4
8
12
Q1/19 Q3/19 Q1/20 Q3/20 Q1/21 Q3/21 Q1/22 Q3/22
Agriculture Industry Services Tax less subsidies
22.8 24.4
35.9 35.5 38.0
28.5 31.2
27.7
0
20
40
2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022
Singapore South Korea Japan China Hong Kong Taiwan US Others
5.2
-8.9
-14.0
-20
-10
0
10
20
30
40
50
Mar-21
Apr-21
May-21
Jun-21
Jul-21
Aug-21
Sep-21
Oct-21
Nov-21
Dec-21
Jan-22
Feb-22
Mar-22
Apr-22
May-22
Jun-22
Jul-22
Aug-22
Sep-22
Oct-22
Nov-22
Dec-22
Electronics Machine & parts Textiles & footwear Wood products Others
• เศรษฐกิจเวียดนามขยายตัวสูง 8% ในปี 2022 ตามการผ่อนคลายมาตรการควบคุม COVID-19
และการเปิดประเทศรับนักท่องเที่ยว การส่งออก และปัจจัยฐานต่าในปี 2021
• เวียดนามเริ่มได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัวในไตรมาส 4 ปี 2022 เนื่องจากเวียดนาม
มีความสัมพันธ์กับห่วงโซ่อุปทานโลกสูง โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมการผลิต ส่งผลให้การส่งออก
หดตัว โดยเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโน้มชะลอตัวต่อเนื่องในปีนี้ จะเป็นปัจจัยกดดันเศรษฐกิจเวียดนาม
ในระยะต่อไป
• การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในปี 2022 ที่ได้รับการอนุมัติยังไม่กลับเข้าสู่ระดับก่อนวิกฤต
COVID-19 หดตัว -11% สะท้อนแนวโน้มเม็ดเงินลงทุนจริงจากต่างประเทศที่จะซบเซาในปี 2023
-11%
เศรษฐกิจโลก
29
CLMV Outlook 2023
อุปสงค์ภายในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวต่าลง จากการจ้างงานในภาคการผลิตที่จะปรับลดลงตามทิศทาง
การส่งออก แต่การใช้จ่ายในภาคบริการหลังเปิดประเทศจะช่วยพยุงไม่ให้การบริโภคชะลอตัวมากนัก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC
อัตราการว่างงานและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
หน่วย : %
ยอดค้าปลีก
หน่วย : ล้านล้านดอง
ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมและดัชนีการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม
หน่วย : %YOY
• ตลาดแรงงานเวียดนามฟื้นตัวกลับสู่ระดับก่อน COVID-19 แต่เริ่มส่งสัญญาณเปราะบางในไตรมาส 4
ปี 2022 สะท้อนจากอัตราการทางานต่ากว่าระดับที่เพิ่มขึ้น 0.3 Percentage point จากไตรมาส 3
ซึ่งสอดคล้องกับดัชนีการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมที่ชะลอลงต่อเนื่อง ทั้งนี้แรงงานประมาณ 33%
ทางานในภาคอุตสาหกรรมและก่อสร้าง ซึ่งอ่อนไหวต่อการชะลอตัวของเศรษฐกิจมาก
• ตลาดแรงงานอ่อนแอลงกระทบยอดค้าปลีกในประเทศ แต่การบริโภคภายในประเทศจะยังมี
ปัจจัยสนับสนุนจาก Pent-up demand สาหรับการท่องเที่ยว ที่พักแรม และร้านอาหาร
ซึ่งจะช่วยให้ยอดค้าปลีกขยายตัวได้แต่ไม่สูงนักในปี 2023
หน่วย : พันดอง หน่วย : %YOY
-30
-15
0
15
30
45
60
0
100
200
300
400
500
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Retail Sales Value Growth Rate (แกนขวา)
5500
7500
9500
0
1
2
3
4
5
Q1/20 Q2/20 Q3/20 Q4/20 Q1/21 Q2/21 Q3/21 Q4/21 Q1/22 Q2/22 Q3/22 Q4/22
Unemployment Rate Underemployment Rate
Average Monthly Earning (แกนขวา)
-20
-10
0
10
20
30
Jan-20
Mar-20
May-20
Jul-20
Sep-20
Nov-20
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Industrial Production Index Industrial Labor Employed Index
7,699
2.3%
2.2%
เศรษฐกิจโลก
30
CLMV Outlook 2023
อัตราเงินเฟ้อเวียดนามมีแนวโน้มเร่งตัวเล็กน้อยในระยะสั้นตามแรงกดดันด้านอุปสงค์ที่สูงขึ้น แต่มาตรการลด
ภาษีน้ามันและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่ลดลงจะช่วยชะลออัตราเงินเฟ้อในช่วงครึ่งปีหลัง
หมายเหตุ : *ราคา ณ วันที่ 11 ของแต่ละเดือนหรือวันใกล้เคียง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC Reuters Nikkei Asia Vietnam Briefing และ PVOIL
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปและเงินเฟ้อพื้นฐาน
หน่วย : %YOY
การปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นต่า (เฉลี่ยทั่วประเทศ)
หน่วย : %YOY
-1
0
1
2
3
4
5
Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22
Headline Core
เงินเฟ้อที่สูงขึ้นเป็นอีกปัจจัยกระทบ
การบริโภคภายในประเทศ
เป้าหมายเงินเฟ้อของธนาคารกลาง : 4%
14.2 12.4
7.3 6.5
5.3 5.5
0.0
6.0
0
5
10
15
2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022
เวียดนามเพิ่มค่าจ้างขั้นต่าเฉลี่ย 6% ในเดือน ก.ค. 2022
ใกล้เคียงค่าเฉลี่ยในอดีต ซึ่งจะทาให้แรงกดดันเงินเฟ้อ
ด้านอุปสงค์เพิ่มขึ้นบ้าง แต่คาดว่าจะมีผลไม่มาก
1. เวียดนามใช้มาตรการลดภาษีน้ามัน ส่งผลให้ราคาน้ามันค้าปลีกในประเทศไม่เพิ่มขึ้นมาก
ราคาน้ามันในเวียดนามถูกควบคุมโดยรัฐบาลและปรับทุก ๆ 10 วัน และเวียดนามประกาศ
ลดภาษีสิ่งแวดล้อม (Environmental tax) ลง 75% เหลือ 1,000 ดองต่อลิตร ตั้งแต่เดือน มิ.ย.
2022 และลดภาษีนาเข้าน้ามัน Most favored nation ลงเหลือ 10% สาหรับการนาเข้าน้ามันจาก
ประเทศที่ไม่ได้ทาสัญญาการค้าเสรีไว้ อย่างไรก็ดี การควบคุมราคาน้ามันอาจทาให้เกิด
การขาดแคลนน้ามันในประเทศขึ้นได้ เช่น ในช่วงเดือน พ.ย. 2022
2. เงินดองอ่อนค่าน้อยกว่าสกุลเงินอื่นในภูมิภาค ช่วยลดแรงกดดันเงินเฟ้อจากราคาสินค้านาเข้า
3. เวียดนามผลิตอาหารได้เพียงพอต่อความต้องการในประเทศ ราคาอาหารจึงไม่เพิ่มมากนัก
ทาไมอัตราเงินเฟ้อเวียดนามเพิ่มขึ้นช้ากว่าประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค
ราคาน้ามันค้าปลีกในประเทศ (เบนซิน RON 95-III)*
หน่วย : ดองต่อลิตร
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
35,000
Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23
ลดภาษีสิ่งแวดล้อมเหลือ
2,000 ดองต่อลิตรถึงสิ้นปี
ลดภาษีนาเข้าน้ามัน
Most favored nation
เหลือ 10%
ลดภาษีสิ่งแวดล้อมเหลือ
1,000 ดองต่อลิตร
ต่ออายุการ
ลดภาษี
สิ่งแวดล้อม
เหลือ 2,000
ดองต่อลิตร
รัฐบาลอนุมัติการขึ้นราคา
น้ามันเพื่อแก้ปัญหา
ขาดแคลนน้ามันในประเทศ
เศรษฐกิจโลก
31
CLMV Outlook 2023
ธนาคารกลางเวียดนามมีแนวโน้มใช้นโยบายการเงินตึงตัวต่อเนื่อง เพื่อดูแลเงินเฟ้อสูงและค่าเงินดองอ่อน แต่จะไม่
ปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นมาก เนื่องจากเศรษฐกิจเริ่มชะลอตัวและตลาดการเงินเผชิญปัญหาขาดสภาพคล่อง
หมายเหตุ : *Truong My Lan ประธานบริษัท Van Thinh Phat Holdings Group ในข้อหาการออกหุ้นกู้อย่างผิดกฎหมาย
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC VietinBank Vietnam Bond Market Association และสานักข่าวต่างประเทศ
อัตราดอกเบี้ยนโยบายและ Interbank rate หนึ่งสัปดาห์
หน่วย : %
อัตราแลกเปลี่ยน USD/VND
หน่วย : USD/VND
มูลค่าหุ้นกู้ภาคเอกชนออกใหม่
หน่วย : พันล้านดอง
0
5
10
15
Jan-10
Sep-10
May-11
Jan-12
Sep-12
May-13
Jan-14
Sep-14
May-15
Jan-16
Sep-16
May-17
Jan-18
Sep-18
May-19
Jan-20
Sep-20
May-21
Jan-22
Sep-22
Policy Rate 1-Week Interbank Rate
อัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินเร่งตัวในช่วง
ปลายปี 2022 สะท้อนภาวะการเงินตึงตัวขึ้น
22500
23000
23500
24000
24500
25000
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Central Bank Reference Rate Commercial Bank Rate
0
20000
40000
60000
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov
2022
2021
บางบริษัทในเวียดนามขาดสภาพคล่อง โดยเฉพาะภาคอสังหาฯ ที่พึ่งพาการระดมทุนในตลาดตราสารหนี้สูง
โดยมีสาเหตุหลักจาก :
1) การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างรวดเร็ว 2) ระเบียบข้อบังคับการออกหุ้นกู้เข้มงวดขึ้น และ
3) ความเชื่อมั่นของนักลงทุนลดลง ส่งผลให้ความเชื่อมั่นต่อการลงทุนในตราสารหนี้ลดลง ต้นทุนการกู้ยืม
สูงขึ้น และการขอสินเชื่อจากธนาคารพาณิชย์หรือการออกหุ้นกู้เป็นได้ยากขึ้นซึ่งกระทบต่อการบริหารสภาพคล่อง
รัฐบาลเวียดนามได้วางแผนผ่อนคลายความเข้มงวดของมาตรการบางส่วน และสนับสนุนการปรับโครงสร้างหนี้
ของบริษัทที่ประสบปัญหา เช่น การเลื่อนระยะเวลาบังคับใช้ระเบียบการออกหุ้นกู้ใหม่เพื่อลดความตึงตัว
ในตลาดการเงิน ซึ่งคาดว่าจะช่วยให้ปัญหาทยอยปรับดีขึ้น เนื่องจากนโยบายการเงินยังตึงตัวและเศรษฐกิจ
เริ่มชะลอตัว
ปัญหาการขาดสภาพคล่องในเวียดนามและมาตรการของรัฐบาล
มาตรการเพิ่มความเข้มงวดของระเบียบการ
ออกหุ้นกู้และการจับกุมนักธุรกิจอสังหาฯ
ดองอ่อนค่า
ดองแข็งค่า
SBV ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายแรง ส่วนหนึ่งเป็นผลจากเงินดองอ่อนค่าเร็ว
การกลับมาแข็งค่าของเงินดองจะช่วยให้ SBV ชะลอการขึ้นดอกเบี้ยได้
การออกหุ้นกู้เอกชนหดตัวสูงในปี 2022 ตามภาวะการเงินตึงตัว
และมีความเสี่ยงการต่ออายุหนี้เดิม (Rollover risk)
เศรษฐกิจโลก
33
CLMV Outlook 2023

More Related Content

Similar to SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะลอตัว แต่การเติบโตจะยังต่ำกว่าศักยภาพเมื่อเทียบกับช่วงก่อน COVID-19

SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023SCBEICSCB
 
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdfSETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdfanyarat3
 
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...SCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
TH-Outlook-4Q22.pdf
TH-Outlook-4Q22.pdfTH-Outlook-4Q22.pdf
TH-Outlook-4Q22.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 

Similar to SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะลอตัว แต่การเติบโตจะยังต่ำกว่าศักยภาพเมื่อเทียบกับช่วงก่อน COVID-19 (12)

SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
 
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
 
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdfSETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
 
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
 
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
Asia2030 asean
Asia2030 aseanAsia2030 asean
Asia2030 asean
 
Asia2030 asean
Asia2030 aseanAsia2030 asean
Asia2030 asean
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
TH-Outlook-4Q22.pdf
TH-Outlook-4Q22.pdfTH-Outlook-4Q22.pdf
TH-Outlook-4Q22.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 

More from SCBEICSCB

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นSCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงSCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...SCBEICSCB
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCBEICSCB
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023SCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfSCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfSCBEICSCB
 

More from SCBEICSCB (20)

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
 

SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะลอตัว แต่การเติบโตจะยังต่ำกว่าศักยภาพเมื่อเทียบกับช่วงก่อน COVID-19

  • 1. CLMV Outlook เศรษฐกิจ CLMV ฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไปจากอุปสงค์ภายในประเทศ และการท่องเที่ยว แม้เศรษฐกิจโลกชะลอตัวจะกดดันการส่งออก จับตาเสถียรภาพการคลังและต่างประเทศที่เปราะบาง รวมถึงผลกระทบภูมิรัฐศาสตร์โลก มุมมองเศรษฐกิจ CLMV ปี 2023
  • 2. เศรษฐกิจโลก 2 CLMV Outlook 2023 เศรษฐกิจกัมพูชามีแนวโน้มขยายตัวแข็งแกร่งที่ 5.5% ในปี 2023 ปัจจัยสนับสนุนหลักมาจากการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวต่อเนื่อง (มีสัดส่วน 18.2% ของ GDP ก่อน COVID-19) ส่งผลให้ ตลาดแรงงานและอุปสงค์ภายในประเทศฟื้นตัวตาม เงินเฟ้อทยอยลดลงตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลก อย่างไรก็ดี การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกเป็นปัจจัยกดดันสาคัญ ซึ่งจะกระทบ การส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ แม้การเปิดประเทศของจีนจะช่วยลดทอนผลกระทบได้บ้าง รวมถึงหนี้ภาคเอกชนสูงท่ามกลางภาวะการเงินตึงตัวเป็นความเสี่ยงที่น่าจับตา สรุปแนวโน้มเศรษฐกิจ CLMV ปี 2023 เศรษฐกิจ สปป.ลาว มีแนวโน้มขยายตัวค่อยเป็นค่อยไปที่ 3% ในปี 2023 จากการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศหลัง COVID-19 คลี่คลายและการเปิดประเทศของจีน ซึ่งมีความสัมพันธ์ กับสปป.ลาวสูงทั้งด้านการค้าและการลงทุน รถไฟความเร็วสูงจีน-สปป.ลาว จะช่วยให้ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างสองประเทศแข็งแกร่งขึ้น ทั้งนี้เศรษฐกิจสปป.ลาวจะยังขยายตัวต่า เนื่องจากเงินเฟ้อสูงขึ้นมากตามการอ่อนค่ารุนแรงของเงินกีบ ซึ่งกระทบกาลังซื้อผู้บริโภคและทาให้ภาระหนี้สาธารณะในสกุลเงินต่างประเทศสูงขึ้นเมื่อเทียบกับระดับเงินสารองระหว่าง ประเทศที่มีไม่มากนัก เศรษฐกิจเมียนมามีแนวโน้มขยายตัวต่าที่ 3% ในปีงบประมาณ 2022/2023 ตามการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศหลังความไม่แน่นอนทางการเมืองทยอยลดลง อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวจะเป็นไปอย่างช้า ๆ เนื่องจากการบริการพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ไฟฟ้า ยังคงหยุดชะงัก ขณะที่การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกจะกระทบภาคการผลิตและส่งออก ในระยะปานกลางเศรษฐกิจเมียนมามีศักยภาพในการขยายตัวต่า เนื่องจากความไม่แน่นอนทางการเมืองคลี่คลายลงช้า ส่งผลให้ชาติตะวันตกคว่าบาตรเมียนมาต่อเนื่อง การเลือกตั้งที่จะจัด ขึ้นในปีนี้จะมีผลจากัดต่อการฟื้นความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ เศรษฐกิจเวียดนามมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลงที่ 6.2% ในปี 2023 หลังขยายตัวสูง 8% ในปี 2022 โดยมีปัจจัยกดดันหลักจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกกระทบการส่งออกและ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่เวียดนามพึ่งพาสูง ซึ่งจะกระทบภาคการผลิตและการจ้างงานตามมา ขณะเดียวกัน นโยบายการเงินในประเทศที่ตึงตัวขึ้นจะเป็นอีกปัจจัยที่กดดันอุปสงค์ ภายในประเทศ และอาจทาให้บางบริษัทเผชิญปัญหาขาดสภาพคล่องหลังภาวะการเงินตึงตัวขึ้นมาก ในระยะปานกลางเวียดนามจะได้ประโยชน์จากการย้ายฐานการผลิตออกจากจีนของ บริษัทข้ามชาติเพื่อลดความเสี่ยงภูมิรัฐศาสตร์โลก กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
  • 3. เศรษฐกิจโลก 3 CLMV Outlook 2023 เศรษฐกิจ CLMV มีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่องในปี 2023 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากอุปสงค์ภายในประเทศ และภาคการท่องเที่ยว แม้การส่งออกชะลอตัวจะเป็นปัจจัยกดดันโดยเฉพาะเวียดนาม หมายเหตุ : *ปี 2023F ของเมียนมาคือปีงบประมาณ 2022/2023 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสถิติกลุ่มประเทศ CLMV และ IMF คาดการณ์อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ CLMV ปี 2022-2023 หน่วย : %YOY ปัจจัยบวก • อุปสงค์ภายในประเทศฟื้นตัวตามการผ่อนคลายมาตรการ ควบคุม COVID-19 และตลาดแรงงานที่ทยอยปรับดีขึ้น • จานวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นต่อเนื่องหลังเปิดประเทศ • การเปิดประเทศของจีนสนับสนุนการลงทุนจากต่างประเทศ ปัจจัยลบ • เศรษฐกิจโลกชะลอตัวกระทบภาคการส่งออก • นโยบายการเงินในประเทศตึงตัวขึ้นเพื่อควบคุมเงินเฟ้อและ ประคองค่าเงิน อาจกระทบการปล่อยสินเชื่อและสภาพคล่อง • ปัจจัยเฉพาะประเทศ เช่น การเมืองในเมียนมา + ปัจจัยเสี่ยง • เงินเฟ้อลดลงช้ากว่าคาด จากราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ยังอยู่ ในระดับสูงและค่าเงินอ่อนค่าต่อเนื่อง • ความเสี่ยงการผิดนัดชาระหนี้ในประเทศที่มีหนี้สาธารณะสูง • ความตึงเครียดด้านภูมิรัฐศาสตร์โลกและการเมือง ในประเทศที่สูงขึ้น ! - 7.0 7.3 6.6 6.6 5.0 2.5 2.0 8.0 5.5 3.0 3.0 6.2 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา* เวียดนาม ค่าเฉลี่ยปี 2010-2019 2022F 2023F
  • 4. เศรษฐกิจโลก 4 CLMV Outlook 2023 การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ CLMV จะเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปและต่ากว่าศักยภาพจากความท้าทายต่าง ๆ เช่น ผลกระทบ COVID-19 เสถียรภาพการคลังและต่างประเทศที่เปราะบาง ประกอบกับปัจจัยเสี่ยงรายประเทศ หมายเหตุ : *ข้อมูล GDP เมียนมาปี 2021 เป็นข้อมูลทางการ รายงานโดย Central Statistical Organization ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ IMF คาดการณ์ระดับศักยภาพ GDP ของเศรษฐกิจ CLMV เปรียบเทียบแนวโน้มในอดีตระหว่างปี 2010-2019 หน่วย : พันล้าน (สกุลเงินท้องถิ่น) 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022F 2023F กัมพูชา GDP Previous trend Current trend 40,000 60,000 80,000 100,000 120,000 140,000 160,000 180,000 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022F 2023F สปป.ลาว 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000 90,000 100,000 110,000 120,000 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022F 2023F เมียนมา* 2,000,000 2,500,000 3,000,000 3,500,000 4,000,000 4,500,000 5,000,000 5,500,000 6,000,000 6,500,000 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022F 2023F เวียดนาม เศรษฐกิจกัมพูชา ฟื้นตัวช้าเนื่องจากพึ่งพา การท่องเที่ยวและการลงทุนโดยตรงจาก ต่างประเทศ 14% และ 12% ของ GDP ตามลาดับ ซึ่งจะทยอยฟื้นตัวสู่ระดับก่อน COVID-19 เศรษฐกิจสปป.ลาว ได้รับผลกระทบจาก เสถียรภาพการคลังและต่างประเทศที่ เปราะบาง ส่งผลให้เงินกีบอ่อนค่ารุนแรงและ เงินเฟ้อเร่งตัวสูง เศรษฐกิจเมียนมา เผชิญความไม่แน่นอนทาง การเมืองหลังเกิดรัฐประหารในปี 2021 ส่งผลให้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจหยุดชะงักเป็นวงกว้าง และชาติตะวันตกประกาศคว่าบาตร เศรษฐกิจเวียดนาม ฟื้นตัวแข็งแกร่งที่สุดในกลุ่ม CLMV แต่เผชิญปัจจัยกดดันจากความเสี่ยง เศรษฐกิจโลกถดถอย ซึ่งจะกระทบต่อภาคการ ส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
  • 5. เศรษฐกิจโลก 5 CLMV Outlook 2023 อุปสงค์ภายในประเทศและจานวนนักท่องเที่ยวทยอยฟื้นตัวหลังเปิดประเทศ จาก Pent up demand โดยเฉพาะ จากนักท่องเที่ยว ASEAN ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคัญช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ CLMV ในปีนี้ หมายเหตุ : *สปป.ลาวไม่ได้รายงานจานวนนักท่องเที่ยวตั้งแต่ปี 2020 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Google และ CEIC ดัชนี Google mobility (สถานที่ค้าปลีกและนันทนาการ) หน่วย : % การเปลี่ยนแปลงจากระดับฐาน (ม.ค-ก.พ. 2020) จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติขาเข้าของ CLMV (ไม่รวมสปป.ลาว)* หน่วย : คน -80 -60 -40 -20 0 20 Feb-20 Apr-20 Jun-20 Aug-20 Oct-20 Dec-20 Feb-21 Apr-21 Jun-21 Aug-21 Oct-21 Dec-21 Feb-22 Apr-22 Jun-22 Aug-22 กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม 2022 ดัชนีการเดินทาง (ตัวชี้วัดสะท้อนอุปสงค์ ภายในประเทศ) ฟื้นตัวต่อเนื่องในปี 2022 0 1,000,000 2,000,000 3,000,000 เวียดนาม กัมพูชา เมียนมา สัดส่วนการพึ่งพาภาคการท่องเที่ยวในประเทศและนักท่องเที่ยวต่างชาติต่อ GDP ในปี 2019 18.2% 5.0% 3.9% 9.8% กัมพูชาและเวียดนาม จะได้ประโยชน์มากที่สุด จากการฟื้นตัวของ ภาคการท่องเที่ยว
  • 6. เศรษฐกิจโลก 6 CLMV Outlook 2023 การจ้างงานแรงงานต่างด้าวจาก CLMV ในไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แม้จะยังต่ากว่าก่อน COVID-19 ซึ่งเป็นปัจจัยสนับสนุนการบริโภคภายในประเทศของ CLMV ผ่านเงินโอนกลับประเทศ (Remittances) ที่สูงขึ้น ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักบริหารแรงงานต่างด้าว World Bank/KNOMAD และ CEIC การจ้างงานแรงงาน CLMV ในไทย หน่วย : คน มูลค่าการโอน Remittances กลับประเทศ หน่วย : % ต่อ GDP สัดส่วนแรงงาน CLMV ในไทย (เดือน พ.ย. 2022) หน่วย : % ต่อกาลังแรงงานประเทศต้นทางปี 2021 0 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 เมียนมา กัมพูชา สปป.ลาว เวียดนาม ระดับเดือน ม.ค. 2020 : 2.79 ล้านคน 4.6 1.0 2.8 5.2 0.0 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0 7.0 กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม 2019 2020 2021 2022f 5.3 5.8 8.5 0.00002 0 2 4 6 8 10 กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
  • 7. เศรษฐกิจโลก 7 CLMV Outlook 2023 การส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ใน CLMV จะถูกกดดันจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก แต่การเปิดประเทศของจีนในปี 2023 อาจช่วยพยุงไม่ให้การส่งออก และ FDI ได้รับผลกระทบมาก หมายเหตุ : *Approved FDI คือ Total registered capital หรือมูลค่า FDI ที่ได้รับการอนุมัติ และ Disbursed FDI คือ Implementation capital หรือมูลค่า FDI ที่ได้เบิกจ่ายแล้ว **ข้อมูลเมียนมาเป็นมูลค่า FDI ที่ได้รับการอนุมัติในปีงบประมาณ 2017/2018 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ JP Morgan, IHS Markit, CEIC, ASEAN Secretariat และ DICA ดัชนี PMI : New exports order ภาคการผลิต และการส่งออกเวียดนาม หน่วย : ดัชนี (<50 = คาสั่งซื้อจากต่างประเทศหดตัว) FDI ของเวียดนาม หน่วย : %YOY (Year-To-Date) แหล่งที่มาของ FDI ใน CLMV (ปี 2018) หน่วย : % ของทั้งหมด -30 -20 -10 0 10 20 30 40 45 50 55 60 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 PMI: Global PMI: China PMI: US Vietnam Exports (แกนขวา) หน่วย : %YOY คาสั่งซื้อจากต่างประเทศลดลง ดัชนี PMI สะท้อนความต้องการสินค้าส่งออกของโลกที่หดตัวต่อเนื่อง ขณะที่การส่งออกเวียดนาม (ซึ่งมีความสัมพันธ์สูงกับห่วงโซ่อุปทานโลก) หดตัวครั้งแรกในรอบ 14 เดือน -30 -10 10 30 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Approved FDI* Disbursed FDI* Number of New Projects FDI ไหลเข้าเวียดนามขยายตัวในปี 2022 ขณะที่ FDI ที่ได้รับการอนุมัติหดตัว สะท้อนสัญญาณด้านลบสาหรับการเบิกจ่าย FDI ไหลเข้าในปี 2023 0% 25% 50% 75% 100% กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา** เวียดนาม อื่น ๆ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อาเซียน จีน จีนเป็นผู้ลงทุนสาคัญใน CLMV
  • 8. เศรษฐกิจโลก 8 CLMV Outlook 2023 การลงทุนโดยตรงจากไทยไปกลุ่มประเทศ CLMV มีแนวโน้มขยายตัวต่า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากเศรษฐกิจ ภูมิภาคที่ฟื้นตัวแข็งแกร่งขึ้น ขณะที่ปัจจัยกดดันมาจากความเสี่ยงรายประเทศและการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย การลงทุนโดยตรงจากไทย (Thailand direct investment: TDI) ไป CLMV หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ - • TDI ไป CLMV ในปี 2022 ค่อนข้างซบเซา โดยได้รับผลกระทบจากความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจภูมิภาค ต้นทุนการลงทุนสูงขึ้นตามเงินเฟ้อและเงินบาทอ่อนค่า ตลอดจนเศรษฐกิจภูมิภาคที่ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และปัจจัยเสี่ยง รายประเทศ • ในปี 2023 TDI มีแนวโน้มฟื้นตัวต่า โดยได้รับแรงกดดันจากเงินเฟ้อสูงและเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ขณะที่ปัจจัยเสี่ยงรายประเทศ เช่น ความไม่แน่นอนทาง การเมืองในเมียนมา เสถียรภาพการคลังและต่างประเทศ ในสปป.ลาว ที่เปราะบางจะยังคงมีอยู่ • ในระยะปานกลาง CLMV จะยังคงเป็นกลุ่มประเทศที่ได้รับ ความสนใจจากนักลงทุนไทย เนื่องจากเศรษฐกิจเติบโตเร็ว • และตลาดแรงงานมีขนาดใหญ่ มาตรการดึงดูดการลงทุน ของ CLMV จะเป็นโอกาสขยายการลงทุนสาหรับธุรกิจไทย แนวโน้มการลงทุนโดยตรงจากไทย (TDI) ไป CLMV 1,406 1,464 1,168 1,408 1,027 1,311 1,184 1,254 419 1,203 710 1,074 638 662 573 5,447 4,776 3,406 1,874 0 1000 2000 3000 4000 5000 6000 0 200 400 600 800 1000 1200 1400 1600 Q1/19 Q3/19 Q1/20 Q3/20 Q1/21 Q3/21 Q1/22 Q3/22 2019202020213Q22 กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
  • 9. เศรษฐกิจโลก 9 CLMV Outlook 2023 ในระยะปานกลาง การค้าและการลงทุนของ CLMV จะได้ปัจจัยบวกจากข้อตกลงการค้าเสรี ทั้งรูปแบบพหุภาคี และทวิภาคี ผ่านอัตราภาษีและมาตรการกีดกันระหว่างประเทศที่ลดลง โดยเวียดนามมีแนวโน้มได้ประโยชน์มากสุด หมายเหตุ : *ผลการศึกษาจาก World Bank ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ World Bank Nikkei Asia และ Asian Development Bank ข้อตกลงการค้าเสรีในภูมิภาค - • มาตรการกีดกันทางการค้าทั้งในรูปภาษีและมิใช่ภาษีลดลง รวมถึงข้อบังคับด้าน Rule of origin มีความสอดคล้องกันมากขึ้น จะช่วยลดต้นทุนการค้าและกระตุ้นการส่งออกระหว่างประเทศ • ประสิทธิภาพการผลิตสูงขึ้น เนื่องจากราคาสินค้านาเข้าเพื่อใช้ ในการผลิตต่าลง • กฎระเบียบสาหรับการลงทุนโดยตรงระหว่างประเทศผ่อนคลายขึ้น ช่วยกระตุ้น FDI และการถ่ายทอดเทคโนโลยีในการผลิต และทักษะแรงงาน ประโยชน์ของข้อตกลงการค้าเสรี Thailand Cambodia Lao PDR Vietnam Myanmar Indonesia Malaysia Philippines Singapore Brunei China Japan South Korea Australia New Zealand ASEAN ASEAN Trade in Goods Agreement (ATIGA) RCEP Regional Comprehensive Economic Partnership CPTPP Comprehensive and Progressive Agreement for Trans-Pacific Partnership Mexico Peru Canada Chile Cambodia-China FTA Cambodia-Korea FTA Bilateral Signed, in effect (Jan 2022) Signed, in effect (Dec 2022) Bilateral Vietnam-EU FTA Vietnam-Korea FTA Signed, in effect (Aug 2020) Signed, in effect (Dec 2015) Vietnam-UK FTA Signed, in effect (May 2021) Vietnam-Chile FTA Signed, in effect (April 2014) คาดการณ์ผลบวกจาก RCEP ต่อการส่งออกในระยะยาว* หน่วย : % การเพิ่มขึ้นจากกรณีเปรียบเทียบที่ไม่มี RCEP (ปี 2035) 4.2 6.5 4.3 11.4 0 5 10 15 ไทย กัมพูชา สปป.ลาว เวียดนาม
  • 10. เศรษฐกิจโลก 10 CLMV Outlook 2023 อัตราเงินเฟ้อใน CLMV มีแนวโน้มชะลอตัวในปี 2023 แต่จะไม่ลดลงเร็วมาก เนื่องจากราคาน้ามันโลกจะยังอยู่ ในระดับสูง แรงกดดันค่าเงินอ่อน และอุปสงค์ภายในประเทศทยอยฟื้นตัว หมายเหตุ : *ข้อมูลเดือน ก.ค. สาหรับเมียนมา ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC และ World Bank อัตราเงินเฟ้อทั่วไป หน่วย : %YOY จานวนชั่วโมงการทางานของแรงงานเฉลี่ยและการขยายตัวของค่าจ้าง 0 10 20 30 40 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม ที่มาของอัตราเงินเฟ้อ (เดือน พ.ย. 2022) หน่วย : % 57.4 51.1 55.3 29.3 4.1 22.5 23.3 2.1 3.2 3.3 5.3 25.5 0% 25% 50% 75% 100% กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา* เวียดนาม Food & Non-Alcoholic Beverage Transportation Housing & Utilities Others กัมพูชา : เงินเฟ้อมีแนวโน้มชะลอตัวตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก เศรษฐกิจที่ใช้สกุลเงินดอลลาร์ สหรัฐสูง (Dollarization) มีส่วนช่วยลดผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน สปป.ลาว : เงินเฟ้อจะคงอยู่ในระดับสูงจากเงินกีบที่มีแนวโน้มอ่อนค่าต่อเนื่องตามเสถียรภาพต่างประเทศที่ เปราะบางกระทบต่อราคาสินค้านาเข้าเพื่อการบริโภค ซึ่งสปป.ลาวพึ่งพาสูง เมียนมา : เงินเฟ้อจะคงอยู่ในระดับสูงตามการอ่อนค่าของเงินจัต ซึ่งมีแนวโน้มอ่อนค่าต่อเนื่องจากรายได้ ต่างประเทศและความเชื่อมั่นนักลงทุนที่ลดลงมากหลังเกิดสถานการณ์ทางการเมือง เวียดนาม : เงินเฟ้อเร่งตัวเล็กน้อยตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ เงินดองอ่อนค่าและมาตรการ ลดค่าครองชีพของภาครัฐที่จะทยอยหมดไป แม้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลกลดลงจะช่วยลดเงินเฟ้อ แนวโน้มเงินเฟ้อปี 2023 Cost-Push Demand-Pull Expectation FX Passthrough กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม แรงกดดันต่า แรงกดดันปานกลาง แรงกดดันสูง
  • 11. เศรษฐกิจโลก 11 CLMV Outlook 2023 แรงกดดันค่าเงิน CLMV อ่อนค่ามีแนวโน้มลดลง ตามการฟื้นตัวของรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติและการชะลอ การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของ Fed แต่ยังมีความเปราะบางจากการลดลงของเงินทุนสารองระหว่างประเทศ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC ค่าเงิน CLMV เทียบดอลลาร์สหรัฐในปี 2022 หน่วย : ดัชนี (100 = 3 ม.ค. 2022) สัดส่วนเงินทุนสารองระหว่างประเทศต่อมูลค่านาเช้า หน่วย : เดือน ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP หน่วย : % ของ GDP 70 80 90 100 110 120 130 140 150 160 98 100 102 104 106 108 110 112 114 116 118 120 122 3-Jan 3-Feb 3-Mar 3-Apr 3-May 3-Jun 3-Jul 3-Aug 3-Sep 3-Oct 3-Nov 3-Dec USD/KHR USD/MMK USD/VND USD/LAK (แกนขวา) 50.4% 18.1% 2.1% 1.0% อ่อนค่า แข็งค่า ค่าเงินสปป.ลาว และเมียนมา อ่อนค่ามากตามปัจจัย ความเปราะบางในประเทศ 0 5 10 15 กัมพูชา สปป.ลาว เวียดนาม เงินทุนสารองระหว่างประเทศ ที่ลดลงอาจจากัดความสามารถในการ ดูแลค่าเงินไม่ให้อ่อนค่าเกินไป การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดที่ลดลง จะลดแรงกดดันค่าเงินอ่อนค่า -40 -20 0 กัมพูชา (หักทอง) สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม มาตรฐานสากล : 3 เดือน
  • 12. เศรษฐกิจโลก 12 CLMV Outlook 2023 ธนาคารกลาง CLMV มีแนวโน้มใช้นโยบายการเงินตึงตัวต่อเนื่องในปี 2023 เพื่อควบคุมเงินเฟ้อสูง หลังเศรษฐกิจฟื้นตัว แต่จะชะลอความเร็วในการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายหลังแรงกดดันเงินเฟ้อเริ่มลดลง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC อัตราดอกเบี้ยนโยบาย CLMV หน่วย : % 1. แรงกดดันการอ่อนค่าของสกุลเงิน CLMV เริ่มลดลง หลังธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ส่งสัญญาณชะลอการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ส่งผลให้เงินดอลลาร์สหรัฐเริ่มอ่อนค่าลง 2. แรงกดดันเงินเฟ้อด้านอุปสงค์ (Demand-pull inflation) ต่า เนื่องจากเศรษฐกิจ CLMV ยังฟื้นตัวต่ากว่าศักยภาพ โดยเฉพาะสปป.ลาว และเมียนมา ขณะที่ เงินเฟ้อมาจากด้านอุปทานเป็นหลัก ซึ่งราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลกมีแนวโน้มชะลอลงในปี 2023 3. บางประเทศเริ่มเผชิญความเสี่ยงด้านเครดิตมากขึ้น เช่น เวียดนามเผชิญ การขาดสภาพคล่องในภาคอสังหาฯ เนื่องจากตลาดการเงินตึงตัวมากจนเกิด Credit crunch ซึ่งอาจเป็นความเสี่ยงต่อเสถียรภาพเศรษฐกิจได้ การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจะเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปในปี 2023 Dollar Index (DXY) หน่วย : ดัชนี 90 100 110 120 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 USD อ่อนค่า USD แข็งค่า ดอลลาร์สหรัฐเริ่มอ่อนค่าจะช่วยลดแรงกดดันต่อค่าเงิน CLMV 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม ธนาคารกลางสปป.ลาว และเวียดนามเร่งปรับขึ้น อัตราดอกเบี้ยนโยบายในปี 2022 หลังอัตราเงินเฟ้อเร่งตัวขึ้น +0% +3.5% +2.0% %YTD
  • 13. เศรษฐกิจโลก 13 CLMV Outlook 2023 ภาระการชาระหนี้ของ CLMV สูงขึ้นตามภาวะการเงินตึงตัวและค่าเงินอ่อน สปป.ลาว และเมียนมา มีความเปราะบางด้านหนี้สาธารณะ ขณะที่กัมพูชา และเวียดนามมีความเปราะบางด้านหนี้เอกชน คาดการณ์หนี้สาธารณะต่อ GDP ของ IMF (ต.ค. 2022) หน่วย : % ของ GDP ยอดคงค้างสินเชื่อสถาบันการเงินต่อ GDP หน่วย : % ต่อ GDP หนี้เอกชน หนี้สาธารณะ 37.2 108.9 63.7 40.5 0 50 100 กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม 2022F 2023F 2024F 2025F 149 47 32 123 0 100 200 กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม ธุรกิจ CLMV พึ่งพาสินเชื่อจากสถาบันการเงินมากกว่าช่องทางการระดมทุนอื่น ๆ เนื่องจากตลาดการเงินในประเทศยังมีขนาดเล็ก องค์ประกอบของหนี้สาธารณะ (จาแนกตามหนี้ในประเทศและต่างประเทศ) หน่วย : % ของหนี้สาธารณะปี 2021 อัตราดอกเบี้ย Interbank ระยะ 7 วัน หน่วย : % 100 83.4 38.2 32.8 0% 50% 100% กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา* เวียดนาม Foreign Domestic 0 2 4 6 8 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 กัมพูชา (USD)** เวียดนาม (VND) Interbank Rate ในกัมพูชาและเวียดนามสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว สะท้อนภาวะการเงินในประเทศตึงตัว ซึ่งส่งผล ให้สถาบันการเงินมีต้นทุนทางการเงินสูงขึ้นตามและลดการปล่อยสินเชื่อลงจนอาจกระทบต่อสภาพคล่องของ บริษัทเอกชนได้ นโยบายการเงินโลกตึงตัวมากเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อประเทศที่มีหนี้สาธารณะสกุลเงินต่างประเทศสูง โดยสปป.ลาว มีภาระหนี้สาธารณะ ต่อ GDP สูงสุดใน CLMV ท่ามกลางเงินกีบอ่อนค่าเร็ว หนี้ต่างประเทศสูง และเงินทุน สารองระหว่างประเทศต่า หมายเหตุ : *ประมาณการของ IMF ณ สิ้นเดือน ส.ค. 2019 **อัตราดอกเบี้ยของกัมพูชาคืออัตราดอกเบี้ย Negotiable certificate of deposits หรือ ตราสารหนี้ระยะสั้นที่ออกโดยธนาคารกลางเพื่อให้สถาบันการเงินบริหารสภาพคล่อง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC IMF และกระทรวงการคลังกลุ่มประเทศ CLMV
  • 14. เศรษฐกิจโลก 14 CLMV Outlook 2023 ความเสี่ยงภูมิรัฐศาสตร์โลกมีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งจะเป็นทั้งโอกาสสาหรับ CLMV ผ่านการย้ายฐานการผลิต และการลงทุนในโครงการ Belt and Road Initiative (BRI) และเป็นความท้าทายที่ต้องระวัง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ www.matteoiacoviello.com และสานักข่าวต่างประเทศ ประเด็นภูมิรัฐศาสตร์โลกที่มีนัยต่อ CLMV ดัชนีความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitical risk index) หน่วย : ดัชนี สงครามรัสเซีย-ยูเครนยืดเยื้อ ราคา สินค้าโภคภัณฑ์โลกอยู่ในระดับสูง 1 2 3 4 5 เทรนด์การย้ายฐานการผลิตกลับสหรัฐฯ หรือประเทศใกล้เคียง (Reshoring/Near-shoring) การย้ายฐานการผลิตจากจีนและ การลงทุนในโครงการ BRI ความไม่แน่นอนทางการเมืองและ การคว่าบาตรของชาติตะวันตก ความตึงเครียดจีน-ไต้หวัน และแถบทะเลจีนใต้ 0 100 200 300 2005 2010 2015 2020 ความเสี่ยงสูงขึ้น สงครามรัสเซีย-ยูเครน (24 ก.พ. 2022) โอกาส • การย้ายฐานการผลิตออกจากจีน สนับสนุน FDI ของ CLMV • การลงทุนในโครงการ BRI ของจีน อาจเร่งตัวเพื่อแข่งกับสหรัฐฯ • สหรัฐฯ และจีนอาจเพิ่มบทบาทความ ร่วมมือในภูมิภาค ซึ่งจะเป็นโอกาส สาหรับ CLMV ในการพัฒนาศักยภาพ ประเทศ ความท้าทาย • ความตึงเครียดในภูมิภาค อาจส่งผลให้ เกิดปัญหาห่วงโซ่อุปทานขาดตอน • แรงกดดันทางการเมืองสูงขึ้น ประเด็นสิทธิเสรีภาพและความโปร่งใส ของการเลือกตั้งจะถูกเพ่งเล็ง • มาตรการกีดกันทางการค้ามีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น
  • 15. เศรษฐกิจกัมพูชาอยู่ในช่วงฟื้นตัวตามภาคการท่องเที่ยวและอุปสงค์ภายในประเทศ อย่างไรก็ดี การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกจะกระทบการส่งออก และการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ยังต้องจับตาความเสี่ยงหนี้เอกชนสูง ท่ามกลางภาวะการเงินที่ตึงตัวขึ้น ตลอดจนการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสูง ซึ่งอาจส่งผลให้ค่าเงินผันผวนมากขึ้น เศรษฐกิจกัมพูชา
  • 16. เศรษฐกิจโลก 16 CLMV Outlook 2023 21.4 22.9 7.6 18.8 4.5 3.5 21.3 Agriculture Manufacturing Construction Wholesale and retail trade Transportation and storage Accomodation and food services Others เศรษฐกิจกัมพูชามีแนวโน้มฟื้นตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 ที่ 5.5% โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากภาคการท่องเที่ยว และตลาดแรงงานที่ฟื้นตัวตามอุปสงค์ภายในประเทศ หมายเหตุ : *ข้อมูลจากบริษัท Revelio Labs, Inc. ซึ่งทาการวิเคราะห์ตลาดแรงงาน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC และ National Institute of Statistics Cambodia จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ (แบ่งตามกลุ่มประเทศ) หน่วย : พันตาแหน่ง สัดส่วนการจ้างงานรายอุตสาหกรรมปี 2019 หน่วย : % ของทั้งหมด 0 250,000 500,000 750,000 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 East Asia ASEAN Europe Americas Others ภาคการท่องเที่ยวเริ่มฟื้นตัวจากนักท่องเที่ยว ASEAN เป็นหลัก การเปิดประเทศของในกลุ่ม East Asiaโดยเฉพาะจีน จะสนับสนุนการฟื้นตัวต่อไป แรงงานประมาณ 27% อยู่ในอุตสาหกรรมที่ได้ ประโยชน์จากการฟื้นตัว ของภาคการท่องเที่ยว รายได้จากนักท่องเที่ยว (ในและนอกประเทศ) หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ จานวนการประกาศรับสมัครงาน* หน่วย : ตาแหน่ง หน่วย : % ของ GDP 18.2 % 0 5 10 15 20 0 2500 5000 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 Tourism revenue % of GDP (แกนขวา) 80 120 160 200 800 1000 1200 1400 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Total Accomodation and food services (แกนขวา)
  • 17. เศรษฐกิจโลก 17 CLMV Outlook 2023 การส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ถูกกดดันจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัวและเศรษฐกิจจีน ที่เพิ่งเปิดประเทศ ซึ่งคาดว่า FDI ใช้เวลาฟื้นตัวกว่าจะกลับสู่ระดับก่อน COVID-19 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC ที่มาของอัตราการขยายตัวการส่งออก (หักทองคา อัญมณี และไข่มุก) หน่วย : %YOY มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : %YOY มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากในและต่างประเทศที่ได้รับการอนุมัติ หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ -20 0 20 40 60 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Clothing and apparels Footwear Travel goods Cereals Electrical machinery and electronics Others Total การส่งออก เริ่มชะลอตัว -25 0 25 50 75 100 -300 0 300 600 900 1200 FDI Growth (แกนขวา) 0 1000 2000 3000 4000 Domestic China Hong Kong Thailand Others มูลค่าการลงทุนที่ได้รับ อนุมัติยังซบเซา • การส่งออกกัมพูชาชะลอตัว โดยเฉพาะเครื่องนุ่งห่มและสินค้าเดินทาง ซึ่งเป็นสินค้าส่งออก หลัก ตามเศรษฐกิจโลกชะลอตัวและเงินเฟ้อสูงกระทบกาลังซื้อจากต่างประเทศ • สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ช่วยขับเคลื่อนการส่งออก หลังอุปสงค์เพิ่มสูงขึ้นในช่วงการล็อกดาวน์ ซึ่งจะช่วยให้กัมพูชาพัฒนาสู่ห่วงโซ่อุปทานที่สูงขึ้นในระยะต่อไป • การลงทุนในประเทศและนอกประเทศยังซบเซา ตามเศรษฐกิจที่ยังฟื้นตัวอย่างเปราะบาง
  • 18. เศรษฐกิจโลก 18 CLMV Outlook 2023 เงินเฟ้อมีแนวโน้มชะลอตัวในปี 2023 ตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลกที่ปรับลดลง ช่วยสนับสนุนการฟื้นตัวของ อุปสงค์ภายในประเทศ ทั้งนี้ควรจับตาผลกระทบเงินเฟ้อต่อความสามารถในการชาระหนี้โดยเฉพาะหนี้ภาคเอกชน หมายเหตุ : *ในช่วง 3 ไตรมาสแรกของปี 2022 เทียบ GDP ปี 2021 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC ที่มาของอัตราเงินเฟ้อทั่วไป หน่วย : %YOY มูลค่าสินเชื่อคงค้างต่อ GDP หน่วย : % ต่อ GDP 3.2 -2 0 2 4 6 8 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Food & non-alcoholic beverage Housing & utilities Transportation Others Headline Inflation 28.1 34.0 41.9 48.6 57.6 65.3 70.2 76.0 85.1 97.8 123.9 148.9 0 50 100 150 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 Non-financial institutions Households Financial institutions Others มูลค่าการนาเข้าเชื้อเพลิงปิโตรเลียมต่อ GDP* หน่วย : % ต่อ GDP อัตราส่วนหนี้เสียในสถาบันรับฝากเงิน (NPL Ratio) หน่วย : % ต่อสินเชื่อทั้งหมด 10.6 9.5 3.8 4.9 0 4 8 12 กัมพูชา ไทย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ 2.8 0 1 2 3 มูลค่าสินเชื่อคงค้างขยายตัวค่อนข้างเร็วอาจเป็นความเสี่ยงได้ หากความสามารถในการชาระหนี้ของครัวเรือน และธุรกิจลดลงจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจหรือเงินเฟ้อสูง โดย NPL Ratio เพิ่มขึ้นเล็กน้อยหลังมาตรการปรับโครงสร้างหนี้สิ้นสุดลง เงินเฟ้อของกัมพูชามาจากสินค้านาเข้าเป็นหลัก โดยเฉพาะน้ามัน กัมพูชาพึ่งพาการนาเข้าสูงกว่าประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค ขณะที่เงินเฟ้อด้านอุปสงค์ยังมีไม่มาก ราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลกที่ลดลง จึงจะเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลให้เงินเฟ้อมีแนวโน้มชะลอตัวลงในปี 2023
  • 19. เศรษฐกิจสปป.ลาวฟื้นตัวช้าจากเงินเฟ้อสูงและเงินกีบอ่อนค่ามาก กระทบกาลังซื้อผู้บริโภคและฐานะการคลัง อย่างไรก็ดี การเปิดประเทศของจีนและรถไฟความเร็วสูงจีน-สปป.ลาวจะสนับสนุนให้เศรษฐกิจทยอยฟื้นตัว ประเด็นที่ต้องจับตาคือความเปราะบางด้านเสถียรภาพด้านราคา ด้านการคลัง และด้านต่างประเทศ เศรษฐกิจสปป.ลาว
  • 20. เศรษฐกิจโลก 20 CLMV Outlook 2023 เศรษฐกิจสปป.ลาวมีแนวโน้มฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไปในปี 2023 ที่ 3.5% โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก FDI หลังการ เปิดประเทศของจีน รถไฟจีน-สปป.ลาวช่วยลดเวลาการส่งออกและการท่องเที่ยว และอุปสงค์ภายในประเทศ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, World Bank และ Ministry of Industry and Commerce Lao PDR การส่งออก หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ มูลค่าการค้าส่ง-ค้าปลีก หน่วย : ล้านล้านกีบ หน่วย : %YOY -20 0 20 40 60 80 100 -400 0 400 800 1200 1600 2000 2400 Q1/2019 Q2/2019 Q3/2019 Q4/2019 Q1/2020 Q2/2020 Q3/2020 Q4/2020 Q1/2021 Q2/2021 Q3/2021 Q4/2021 Q1/2022 Q2/2022 Q3/2022 Exports Value Growth Rate (แกนขวา) 0 10 20 30 40 H1/2019 H1/2020 H1/2021 H1/2022 การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : %YOY -80 -40 0 40 80 120 -200 -100 0 100 200 300 400 Q1/2019 Q2/2019 Q3/2019 Q4/2019 Q1/2020 Q2/2020 Q3/2020 Q4/2020 Q1/2021 Q2/2021 Q3/2021 Q4/2021 Q1/2022 Q2/2022 Q3/2022 FDI Growth Rate (แกนขวา) • การส่งออกของสปป.ลาวชะลอตัว สาเหตุจากฐานสูง อุปสงค์โลกเริ่มเปลี่ยนพฤติกรรมไปบริโภค บริการมากขึ้น การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน และภาคธุรกิจในประเทศที่เผชิญปัญหาค่าเงินกีบ อ่อนและเงินเฟ้อสูง ขณะที่การส่งออกไฟฟ้ามาไทยยังขยายตัว • การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศหดตัว ส่วนหนึ่งเป็นผลจากโครงการลงทุนหลักเสร็จสิ้น ในปี 2021 ขณะที่การลงทุนโครงการใหม่ยังมีไม่มากจากความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจที่สูง • มูลค่าค้าส่ง-ค้าปลีกขยายตัวจากฐานต่า หลังสปป.ลาวผ่อนคลายมาตรการควบคุม COVID-19 แต่การบริโภคยังถูกกดดันจากเงินเฟ้อสูง โดยเฉพาะในช่วงครึ่งหลังของปี 2022
  • 21. เศรษฐกิจโลก 21 CLMV Outlook 2023 เสถียรภาพเศรษฐกิจเปราะบางทั้งด้านเสถียรภาพราคาและเสถียรภาพต่างประเทศ โดยเงินเฟ้อสูง เงินทุนสารอง ระหว่างประเทศต่าและดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล ซึ่งจะกดดันให้เงินกีบอ่อนค่าต่อเนื่องและเงินเฟ้อลดลงไม่เร็วนัก ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Bank of Lao PDR และธนาคารแห่งประเทศไทย อัตราเงินเฟ้อทั่วไป หน่วย : %YOY มูลค่าเงินทุนสารองระหว่างประเทศต่อมูลค่านาเข้า หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : เดือน ค่าเงินกีบต่อดอลลาร์สหรัฐและบาท หน่วย : USD/LAK ดุลบัญชีเดินสะพัด หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : THB/LAK 38.5 0 10 20 30 40 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Food & non-alcoholic beverage Housing & utilities Transport (fuel) & communications Others Headline Inflation 250 350 450 550 9000 11000 13000 15000 17000 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 USD/LAK THB/LAK (แกนขวา) 1.5 0 1 2 3 0 500 1000 1500 Jan-20 Mar-20 May-20 Jul-20 Sep-20 Nov-20 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Foreign Reserves Months of Imports (แกนขวา) -750 -500 -250 0 250 500 Q1/2015 Q1/2016 Q1/2017 Q1/2018 Q1/2019 Q1/2020 Q1/2021 Q1/2022 Goods Service Primary income Secondary income CA เงินกีบอ่อนค่า เงินกีบแข็งค่า อัตราเงินเฟ้อเร่งตัวในวงกว้างตามเงินกีบอ่อนค่าเร็ว คาดในปี 2023 เงินเฟ้อชะลอตัวแต่ยังอยู่ในระดับสูง เงินกีบอ่อนค่าต่อเนื่องแม้ Fed ส่งสัญญาณชะลอขึ้นดอกเบี้ย เงินทุนสารองระหว่างประเทศอยู่ในระดับต่ากว่า เกณฑ์มาตรฐาน (มูลค่านาเข้า 3 เดือน) สปป.ลาวกลับมาขาดดุลบัญชีเดินสะพัดจากดุลการค้า เกินดุลลดลงมากและดุลเงินโอนขาดดุลสูงขึ้น
  • 22. เศรษฐกิจโลก 22 CLMV Outlook 2023 นอกจากนี้ ฐานะการคลังไม่แข็งแรงมากนัก จากภาวะการเงินโลกตึงตัวแรง เพราะมีหนี้สาธารณะสกุลเงิน ต่างประเทศสูง รัฐบาลจึงต้องเร่งเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ โดยเฉพาะกับจีน เพื่อหาทางออกในระยะต่อไป หมายเหตุ : *รวมภาระเงินต้นและดอกเบี้ย ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Ministry of Finance Lao PDR คาดการณ์ดุลการคลังโดย IMF หน่วย : % ของ GDP สัดส่วนเจ้าหนี้รายประเทศปี 2021 หน่วย : % ของทั้งหมด -3.3 -5.6 -3.6 -5.1 -4.8 -4.7 -4.6 -4.4 -6 -4 -2 0 2019 2020 2021 2022 2023 2024 2025 2026 คาดการณ์ภาระหนี้สาธารณะสกุลเงินต่างประเทศโดยกระทรวงการคลังสปป.ลาว* หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ 1,144 1,379 1,220 1,464 1,242 0 500 1000 1500 2022 2023 2024 2025 2026 Concessional bilateral loan Concessional multilateral loan Market-terms bilateral loan Market-terms multilateral loans Market-terms bond Commercial bank loan สปป.ลาวขาดดุลการคลังต่อเนื่อง เป็นปัญหา Twin deficits คู่กับการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด 49% 4% 17% 9% 14% China Thailand Japan Korea Russia Multilateral Commercial Banks Others รัฐบาลสปป.ลาวมีภาระหนี้สกุลเงินต่างประเทศสูง ประมาณ 1.1-1.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี จนถึงปี 2026 สะท้อนฐานะการคลังที่ไม่แข็งแรงมากนัก เนื่องจากมีเงินทุนสารองระหว่างประเทศ เพียงประมาณ 1.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ณ เดือน ก.ย. 2022 นอกจากนี้ เงินกีบที่อ่อนค่ามากจะส่งผล ให้ภาระหนี้รูปเงินกีบสูงขึ้นด้วย ดังนั้น สปป.ลาวจาเป็นต้องเร่งเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ โดยเฉพาะกับจีน ซึ่งเป็นเจ้าหนี้เกือบ 50% ของหนี้ต่างประเทศทั้งหมด ผ่านการผ่อนผันการชาระหนี้ และเร่งเพิ่มรายได้ สกุลเงินต่างประเทศ เช่น สนับสนุนการท่องเที่ยวและการส่งออกผ่านรถไฟความเร็วสูงจีน-สปป.ลาว
  • 24. เศรษฐกิจโลก 24 CLMV Outlook 2023 เศรษฐกิจเมียนมาในปีงบประมาณ 2022/2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไปที่ 3.5% หลังผลกระทบของความ ไม่สงบทางการเมืองทยอยลดลง แต่การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกจะกระทบต่อการส่งออกและภาคการผลิตต่อเนื่อง หมายเหตุ : *จานวนเหตุการณ์ความรุนแรงในประเทศครอบคลุมการสู้รบ (Battles), เหตุระเบิดและความรุนแรงทางไกล (Explosions and remote violence), การประท้วง (Protests and riots) และการใช้ความรุนแรงต่อพลเรือน (Violence against civilians) // การเดินทางโดยรถประจาทางในเมืองย่างกุ้ง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ACLED (https://acleddata.com/), S&P Global และ CEIC จานวนเหตุการณ์ความรุนแรงในประเทศและการเดินทางโดยรถประจาทาง* หน่วย : ครั้ง จานวนธุรกิจจดทะเบียนจัดตั้งใหม่ หน่วย : จานวนธุรกิจ หน่วย : พันคน-ครั้ง มูลค่าการส่งออกและนาเข้า หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ ดัชนี PMI ภาคการผลิต หน่วย : ดัชนี (>50 = ขยายตัว) 10,000 20,000 30,000 40,000 0 400 800 1200 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Conflict Events Yangon Bus Passenger Traffic (แกนขวา) 0 500 1000 1500 2000 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2019 2020 2021 2022 21,019 22,131 20,598 22,431 18,497 17,985 20,331 20,590 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 Exports Imports 2019 2020 2021 2022 25 35 45 55 Jan-20 Mar-20 May-20 Jul-20 Sep-20 Nov-20 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 COVID-19 Wave 1 Wave 2 Political Crisis Wave 3 จานวนเหตุการณ์ความรุนแรงทยอยลดลง ขณะที่การเดินทางของประชากรฟื้นตัวจากระดับต่า จานวนธุรกิจจดทะเบียนใหม่ฟื้นตัว แต่ยังค่อนข้างซบเซา การส่งออกและนาเข้าฟื้นตัว แต่ยังต่ากว่าระดับปี 2019 ภาคการผลิตหดตัวจากยอดสั่งซื้อสินค้าที่ลดลง ขณะที่ปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบและพลังงาน ไฟฟ้ากระทบต่อความสามารถในการผลิต ขยายตัว หดตัว
  • 25. เศรษฐกิจโลก 25 CLMV Outlook 2023 เมียนมาเผชิญความท้าทายต่าง ๆ ซึ่งจะกดดันให้เศรษฐกิจเมียนมาขยายตัวต่าในระยะกลาง รวมถึงจะสร้างความ เปราะบางในภาคการคลังและภาคต่างประเทศสูงขึ้น หมายเหตุ : *ข้อมูลปีงบประมาณตั้งแต่ ต.ค.-ก.ย. ปีถัดไป ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ International Labour Organization และ CEIC มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ได้รับการอนุมัติลดลง* หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ การจ้างงานลดลง (ประมาณการโดย ILO) หน่วย : ล้านคน 4,158 4,881 3,791 2,989 0 1000 2000 3000 4000 5000 FY18/19 FY19/20 FY20/21 FY21/22 Manufacturing Power Transport & Communication Others การลงทุนใน ภาคการผลิต ลดลงมาก 22 22.45 21.95 20.4 18.6 19.35 0 5 10 15 20 25 2017 2018 2019 2020 2021 H1/22 ดุลการชาระเงินขาดดุลเพิ่มขึ้นหลังรายรับจากต่างชาติลดลง หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ การระดมทุนและจัดเก็บภาษีของภาครัฐทาได้ยากขึ้น หน่วย : ล้านจัต -2100 -1400 -700 0 700 1400 2100 Q1/2015 Q1/2016 Q1/2017 Q1/2018 Q1/2019 Q1/2020 Q1/2021 Q1/2022 Current Account Financial Account Net Error & Omissions Balance of payment 0 250,000 500,000 750,000 1,000,000 0 5,000,000 10,000,000 15,000,000 Jan-17 May-17 Sep-17 Jan-18 May-18 Sep-18 Jan-19 May-19 Sep-19 Jan-20 May-20 Sep-20 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Treasury Bonds Outstanding Tax Revenue (แกนขวา) เมียนมาขาดดุลการชาระเงินมากขึ้น ซึ่งอาจทาให้เกิดการขาดแคลนเงิน ดอลลาร์สหรัฐและเงินจัตอ่อนค่าขึ้น มูลค่าพันธบัตรรัฐบาลคงค้าง ลดลงหลังเกิดรัฐประหาร การจัดเก็บภาษีลดลงหลังเกิดรัฐประหาร แต่เริ่มมีสัญญาณการฟื้นตัว
  • 26. เศรษฐกิจโลก 26 CLMV Outlook 2023 เมียนมามีแผนจัดการเลือกตั้งทั่วไปในเดือน ส.ค. นี้ แต่คาดว่าจะไม่ช่วยให้สถานการณ์การเมืองในประเทศปรับดีขึ้น หรือไม่ส่งผลต่อมุมมองเชิงลบของชาติตะวันตก ซึ่งจะส่งผลให้มาตรการคว่าบาตรคงอยู่ต่อไป ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักข่าวต่างประเทศ แนวโน้มสถานการณ์การเมืองในเมียนมาในปี 2023 พัฒนาการทางการเมืองที่สาคัญ 1. ศาลทหารเมียนมามีคาสั่งจาคุกนางอองซานซูจีเพิ่มขึ้นอีก 7 ปี รวมเป็น 33 ปี ในข้อหาคอรัปชั่น แม้ว่าคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (UNSC) จะมี มติให้รัฐบาลเมียนมาปล่อยตัวนักโทษทางการเมืองทั้งหมด ซึ่งจะส่งผลให้มาตรการ คว่าบาตรและความไม่สงบในประเทศคงอยู่ต่อไป 2. คณะทางานเฉพาะกิจเพื่อดาเนินมาตรการทางการเงินเกี่ยวกับการฟอกเงิน (FATF) ขึ้นบัญชีดาเมียนมาในข้อหาการอุดหนุนการก่อการร้าย (Terrorism financing) ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศสมาชิกที่จะทาธุรกิจในเมียนมาต้องทา การตรวจทาน (Due diligence) ที่เข้มงวดขึ้น ซ้าเติมให้สภาพแวดล้อมการทาธุรกิจ ในเมียนมายากลาบากอีก 3. การปะทะกันระหว่างกองทัพเมียนมาและชนกลุ่มน้อยยังคงเกิดขึ้นต่อเนื่อง ในหลายภาคส่วนของประเทศ ซึ่งกระทบต่อความเป็นอยู่และกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในพื้นที่เหล่านั้น โดยความรุนแรงที่ยังมีอยู่จะกดดันความเชื่อมั่นของผู้บริโภค และธุรกิจให้ฟื้นตัวได้จากัด 4. รัฐบาลเมียนมาเริ่มหารือกับผู้นากลุ่มชาติพันธุ์บางกลุ่ม เพื่อเตรียมจัดการเลือกตั้ง ในพื้นที่ที่กองทัพกลุ่มชาติพันธุ์ควบคุมอยู่ หากเมียนมาจัดการเลือกตั้งในปี 2023 : • พรรค USDP (พรรคการเมืองที่มีความสัมพันธ์สูงกับกองทัพเมียนมา) มีแนวโน้ม ได้คะแนนเสียงมากสุด และเป็นพรรคที่จะจัดตั้งรัฐบาล • พรรค NLD (พรรคของนางอองซานซูจี) คาดว่าจะมีบทบาทจากัดในการเลือกตั้ง เนื่องจากสมาชิกหลายรายถูกรัฐบาลเมียนมาจับกุมตัว • ชาติตะวันตกจะยังคงมุมมองเชิงลบไว้ แต่ชาติที่เลือกเป็นกลางอาจมีความเชื่อมั่น ในการลงทุนมากขึ้น หากเมียนมาไม่จัดการเลือกตั้งในปี 2023 : • สถานการณ์การเมืองในประเทศที่ไม่แน่นอนและยังมีความรุนแรงอาจส่งผลให้รัฐบาล เลื่อนการเลือกตั้งออกไป เพื่อควบคุมสถานการณ์และรักษาอานาจ • ในกรณีนี้ ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจจะยังสูงอยู่ ซึ่งอาจกระทบต่อการลงทุน โดยตรงจากประเทศที่ไม่ได้คว่าบาตรเมียนมาได้ • มาตรการคว่าบาตรเมียนมาอาจรุนแรงขึ้น หากรัฐบาลใช้ความรุนแรงมากขึ้น ทั้งสองกรณี สถานการณ์ทางการเมืองจะยังไม่คลี่คลายและส่งผลให้เกิดการหยุดชะงัก ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กระทบการฟื้นตัวของเศรษฐกิจเมียนมาในระยะกลาง
  • 28. เศรษฐกิจโลก 28 CLMV Outlook 2023 เศรษฐกิจเวียดนามมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลงที่ 6.2% ในปี 2023 โดยมีปัจจัยกดดันจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ซึ่งกระทบการส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่เศรษฐกิจเวียดนามพึ่งพาสูง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ หน่วย : %YOY อัตราการขยายตัวของการส่งออก หน่วย : %YOY มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ได้รับการอนุมัติ หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 7.1 7.2 7.6 7.5 3.2 0.3 3.0 4.7 4.9 6.6 -6.0 5.2 5.1 7.8 13.7 5.9 -8 -4 0 4 8 12 Q1/19 Q3/19 Q1/20 Q3/20 Q1/21 Q3/21 Q1/22 Q3/22 Agriculture Industry Services Tax less subsidies 22.8 24.4 35.9 35.5 38.0 28.5 31.2 27.7 0 20 40 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 Singapore South Korea Japan China Hong Kong Taiwan US Others 5.2 -8.9 -14.0 -20 -10 0 10 20 30 40 50 Mar-21 Apr-21 May-21 Jun-21 Jul-21 Aug-21 Sep-21 Oct-21 Nov-21 Dec-21 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Electronics Machine & parts Textiles & footwear Wood products Others • เศรษฐกิจเวียดนามขยายตัวสูง 8% ในปี 2022 ตามการผ่อนคลายมาตรการควบคุม COVID-19 และการเปิดประเทศรับนักท่องเที่ยว การส่งออก และปัจจัยฐานต่าในปี 2021 • เวียดนามเริ่มได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัวในไตรมาส 4 ปี 2022 เนื่องจากเวียดนาม มีความสัมพันธ์กับห่วงโซ่อุปทานโลกสูง โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมการผลิต ส่งผลให้การส่งออก หดตัว โดยเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโน้มชะลอตัวต่อเนื่องในปีนี้ จะเป็นปัจจัยกดดันเศรษฐกิจเวียดนาม ในระยะต่อไป • การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในปี 2022 ที่ได้รับการอนุมัติยังไม่กลับเข้าสู่ระดับก่อนวิกฤต COVID-19 หดตัว -11% สะท้อนแนวโน้มเม็ดเงินลงทุนจริงจากต่างประเทศที่จะซบเซาในปี 2023 -11%
  • 29. เศรษฐกิจโลก 29 CLMV Outlook 2023 อุปสงค์ภายในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวต่าลง จากการจ้างงานในภาคการผลิตที่จะปรับลดลงตามทิศทาง การส่งออก แต่การใช้จ่ายในภาคบริการหลังเปิดประเทศจะช่วยพยุงไม่ให้การบริโภคชะลอตัวมากนัก ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC อัตราการว่างงานและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน หน่วย : % ยอดค้าปลีก หน่วย : ล้านล้านดอง ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมและดัชนีการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม หน่วย : %YOY • ตลาดแรงงานเวียดนามฟื้นตัวกลับสู่ระดับก่อน COVID-19 แต่เริ่มส่งสัญญาณเปราะบางในไตรมาส 4 ปี 2022 สะท้อนจากอัตราการทางานต่ากว่าระดับที่เพิ่มขึ้น 0.3 Percentage point จากไตรมาส 3 ซึ่งสอดคล้องกับดัชนีการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมที่ชะลอลงต่อเนื่อง ทั้งนี้แรงงานประมาณ 33% ทางานในภาคอุตสาหกรรมและก่อสร้าง ซึ่งอ่อนไหวต่อการชะลอตัวของเศรษฐกิจมาก • ตลาดแรงงานอ่อนแอลงกระทบยอดค้าปลีกในประเทศ แต่การบริโภคภายในประเทศจะยังมี ปัจจัยสนับสนุนจาก Pent-up demand สาหรับการท่องเที่ยว ที่พักแรม และร้านอาหาร ซึ่งจะช่วยให้ยอดค้าปลีกขยายตัวได้แต่ไม่สูงนักในปี 2023 หน่วย : พันดอง หน่วย : %YOY -30 -15 0 15 30 45 60 0 100 200 300 400 500 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Retail Sales Value Growth Rate (แกนขวา) 5500 7500 9500 0 1 2 3 4 5 Q1/20 Q2/20 Q3/20 Q4/20 Q1/21 Q2/21 Q3/21 Q4/21 Q1/22 Q2/22 Q3/22 Q4/22 Unemployment Rate Underemployment Rate Average Monthly Earning (แกนขวา) -20 -10 0 10 20 30 Jan-20 Mar-20 May-20 Jul-20 Sep-20 Nov-20 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Industrial Production Index Industrial Labor Employed Index 7,699 2.3% 2.2%
  • 30. เศรษฐกิจโลก 30 CLMV Outlook 2023 อัตราเงินเฟ้อเวียดนามมีแนวโน้มเร่งตัวเล็กน้อยในระยะสั้นตามแรงกดดันด้านอุปสงค์ที่สูงขึ้น แต่มาตรการลด ภาษีน้ามันและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่ลดลงจะช่วยชะลออัตราเงินเฟ้อในช่วงครึ่งปีหลัง หมายเหตุ : *ราคา ณ วันที่ 11 ของแต่ละเดือนหรือวันใกล้เคียง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC Reuters Nikkei Asia Vietnam Briefing และ PVOIL อัตราเงินเฟ้อทั่วไปและเงินเฟ้อพื้นฐาน หน่วย : %YOY การปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นต่า (เฉลี่ยทั่วประเทศ) หน่วย : %YOY -1 0 1 2 3 4 5 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Headline Core เงินเฟ้อที่สูงขึ้นเป็นอีกปัจจัยกระทบ การบริโภคภายในประเทศ เป้าหมายเงินเฟ้อของธนาคารกลาง : 4% 14.2 12.4 7.3 6.5 5.3 5.5 0.0 6.0 0 5 10 15 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 เวียดนามเพิ่มค่าจ้างขั้นต่าเฉลี่ย 6% ในเดือน ก.ค. 2022 ใกล้เคียงค่าเฉลี่ยในอดีต ซึ่งจะทาให้แรงกดดันเงินเฟ้อ ด้านอุปสงค์เพิ่มขึ้นบ้าง แต่คาดว่าจะมีผลไม่มาก 1. เวียดนามใช้มาตรการลดภาษีน้ามัน ส่งผลให้ราคาน้ามันค้าปลีกในประเทศไม่เพิ่มขึ้นมาก ราคาน้ามันในเวียดนามถูกควบคุมโดยรัฐบาลและปรับทุก ๆ 10 วัน และเวียดนามประกาศ ลดภาษีสิ่งแวดล้อม (Environmental tax) ลง 75% เหลือ 1,000 ดองต่อลิตร ตั้งแต่เดือน มิ.ย. 2022 และลดภาษีนาเข้าน้ามัน Most favored nation ลงเหลือ 10% สาหรับการนาเข้าน้ามันจาก ประเทศที่ไม่ได้ทาสัญญาการค้าเสรีไว้ อย่างไรก็ดี การควบคุมราคาน้ามันอาจทาให้เกิด การขาดแคลนน้ามันในประเทศขึ้นได้ เช่น ในช่วงเดือน พ.ย. 2022 2. เงินดองอ่อนค่าน้อยกว่าสกุลเงินอื่นในภูมิภาค ช่วยลดแรงกดดันเงินเฟ้อจากราคาสินค้านาเข้า 3. เวียดนามผลิตอาหารได้เพียงพอต่อความต้องการในประเทศ ราคาอาหารจึงไม่เพิ่มมากนัก ทาไมอัตราเงินเฟ้อเวียดนามเพิ่มขึ้นช้ากว่าประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค ราคาน้ามันค้าปลีกในประเทศ (เบนซิน RON 95-III)* หน่วย : ดองต่อลิตร 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 ลดภาษีสิ่งแวดล้อมเหลือ 2,000 ดองต่อลิตรถึงสิ้นปี ลดภาษีนาเข้าน้ามัน Most favored nation เหลือ 10% ลดภาษีสิ่งแวดล้อมเหลือ 1,000 ดองต่อลิตร ต่ออายุการ ลดภาษี สิ่งแวดล้อม เหลือ 2,000 ดองต่อลิตร รัฐบาลอนุมัติการขึ้นราคา น้ามันเพื่อแก้ปัญหา ขาดแคลนน้ามันในประเทศ
  • 31. เศรษฐกิจโลก 31 CLMV Outlook 2023 ธนาคารกลางเวียดนามมีแนวโน้มใช้นโยบายการเงินตึงตัวต่อเนื่อง เพื่อดูแลเงินเฟ้อสูงและค่าเงินดองอ่อน แต่จะไม่ ปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นมาก เนื่องจากเศรษฐกิจเริ่มชะลอตัวและตลาดการเงินเผชิญปัญหาขาดสภาพคล่อง หมายเหตุ : *Truong My Lan ประธานบริษัท Van Thinh Phat Holdings Group ในข้อหาการออกหุ้นกู้อย่างผิดกฎหมาย ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC VietinBank Vietnam Bond Market Association และสานักข่าวต่างประเทศ อัตราดอกเบี้ยนโยบายและ Interbank rate หนึ่งสัปดาห์ หน่วย : % อัตราแลกเปลี่ยน USD/VND หน่วย : USD/VND มูลค่าหุ้นกู้ภาคเอกชนออกใหม่ หน่วย : พันล้านดอง 0 5 10 15 Jan-10 Sep-10 May-11 Jan-12 Sep-12 May-13 Jan-14 Sep-14 May-15 Jan-16 Sep-16 May-17 Jan-18 Sep-18 May-19 Jan-20 Sep-20 May-21 Jan-22 Sep-22 Policy Rate 1-Week Interbank Rate อัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินเร่งตัวในช่วง ปลายปี 2022 สะท้อนภาวะการเงินตึงตัวขึ้น 22500 23000 23500 24000 24500 25000 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Central Bank Reference Rate Commercial Bank Rate 0 20000 40000 60000 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov 2022 2021 บางบริษัทในเวียดนามขาดสภาพคล่อง โดยเฉพาะภาคอสังหาฯ ที่พึ่งพาการระดมทุนในตลาดตราสารหนี้สูง โดยมีสาเหตุหลักจาก : 1) การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างรวดเร็ว 2) ระเบียบข้อบังคับการออกหุ้นกู้เข้มงวดขึ้น และ 3) ความเชื่อมั่นของนักลงทุนลดลง ส่งผลให้ความเชื่อมั่นต่อการลงทุนในตราสารหนี้ลดลง ต้นทุนการกู้ยืม สูงขึ้น และการขอสินเชื่อจากธนาคารพาณิชย์หรือการออกหุ้นกู้เป็นได้ยากขึ้นซึ่งกระทบต่อการบริหารสภาพคล่อง รัฐบาลเวียดนามได้วางแผนผ่อนคลายความเข้มงวดของมาตรการบางส่วน และสนับสนุนการปรับโครงสร้างหนี้ ของบริษัทที่ประสบปัญหา เช่น การเลื่อนระยะเวลาบังคับใช้ระเบียบการออกหุ้นกู้ใหม่เพื่อลดความตึงตัว ในตลาดการเงิน ซึ่งคาดว่าจะช่วยให้ปัญหาทยอยปรับดีขึ้น เนื่องจากนโยบายการเงินยังตึงตัวและเศรษฐกิจ เริ่มชะลอตัว ปัญหาการขาดสภาพคล่องในเวียดนามและมาตรการของรัฐบาล มาตรการเพิ่มความเข้มงวดของระเบียบการ ออกหุ้นกู้และการจับกุมนักธุรกิจอสังหาฯ ดองอ่อนค่า ดองแข็งค่า SBV ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายแรง ส่วนหนึ่งเป็นผลจากเงินดองอ่อนค่าเร็ว การกลับมาแข็งค่าของเงินดองจะช่วยให้ SBV ชะลอการขึ้นดอกเบี้ยได้ การออกหุ้นกู้เอกชนหดตัวสูงในปี 2022 ตามภาวะการเงินตึงตัว และมีความเสี่ยงการต่ออายุหนี้เดิม (Rollover risk)
  • 32.