SlideShare a Scribd company logo
ธุรกิจบริการอาหาร
ธุรกิจบริการอาหารมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องในปี 2024
จากการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชน จานวน
นักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น และนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ
ภาครัฐ แต่ยังต้องระวังปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อ
ธุรกิจ เช่น การเพิ่มขึ้นของค่าแรงที่ทาให้ต้นทุนสูงขึ้น
SCB EIC Industry insight
Nov 2023
The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as
to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or
such information by the recipient or other persons in whatever manner.
Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct.
This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in
the companies mentioned here in.
Contents
SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร
Executive
summary หน้า 03
ธุรกิจร้านอาหารฟื้นตัวได้ดี
อย่างต่อเนื่อง หน้า 06
ประเด็น ESG เข้ามาเสริม
ความยั่งยืนและจริยธรรม หน้า 12
3
SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร
Executive
summary
ธุรกิจบริการอาหารมีแนวโน้มฟื้นตัวดีต่อเนื่อง คาดว่ามูลค่าตลาดจะเติบโตราว 11% ในปี 2024 เนื่องจากการขยายตัวต่อเนื่องของการ
บริโภคภาคเอกชน การเพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยว และนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ ในระยะกลางคาดว่ายังเติบโตต่อเนื่อง
ที่อัตราการเติบโตเฉลี่ย 8% ต่อปี ในช่วงปี 2025-2027 โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากจานวนนักท่องเที่ยวและกาลังซื้อที่ดีขึ้น ประกอบกับ
ธุรกิจบริการอาหารส่วนใหญ่มีการปรับตัวมาตั้งแต่ช่วงการระบาดของ COVID-19 โดยเพิ่มช่องทางการขายทั้งออนไลน์และออฟไลน์
ส่งผลให้มีช่องทางในการเพิ่มรายได้ให้เติบโตจากลูกค้าที่หลากหลายมากขึ้น อย่างไรก็ดี ยังมีปัจจัยที่คาดว่าจะกระทบต่อธุรกิจที่ต้อง
ติดตาม เช่น นโยบายปรับขึ้นค่าแรงจะส่งผลให้ต้นทุนปรับสูงขึ้นตาม เนื่องจากธุรกิจบริการอาหารเป็นธุรกิจที่พึ่งพาแรงงานที่รับค่าแรง
ขั้นต่าจานวนค่อนข้างมาก นอกจากนี้ ธุรกิจบริการอาหารยังเผชิญกับภาวะการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น จากผู้เล่นหน้าใหม่ที่เข้ามาในตลาด
ธุรกิจบริการอาหารแบบ Full-service คาดว่าจะเติบโต 11% ในปี 2024 แม้ว่าจะได้รับผลกระทบที่ค่อนข้างรุนแรงในช่วงการระบาด
ของ COVID-19 แต่จะกลับมาฟื้นตัวจาก Pent up demand และการฟื้นตัวของตลาดนักท่องเที่ยว กาลังซื้อเพิ่มขึ้นจากนโยบายกระตุ้น
เศรษฐกิจภาครัฐ อย่างไรก็ดี การขึ้นค่าแรงขั้นต่าจะส่งผลกระทบต่อต้นทุนที่ปรับเพิ่มขึ้น ซึ่งร้านอาหาร Chain มีโอกาสปรับตัวได้มากกว่า
ในการควบคุมต้นทุนเมื่อต้นทุนด้านแรงงานสูงขึ้น อีกทั้ง ยังสามารถนาเอาเทคโนโลยีมาช่วยเพื่อลดการจ้างพนักงาน เนื่องจากมีเงินทุน
และสภาพคล่องที่มากกว่า
ธุรกิจร้านอาหาร Limited-service คาดว่าจะเติบโต 8% ในปี 2024 โดยร้านอาหารประเภทนี้ได้รับผลกระทบในช่วงโรคระบาดไม่รุนแรงเท่า
ประเภทอื่น เพราะร้านส่วนใหญ่เป็น Chain และมีบริการ Delivery ซึ่งทาให้ปรับตัวได้ง่าย ในระยะข้างหน้า การขยายสาขาจะทาให้เข้าถึง
ลูกค้ามากขึ้น ประกอบกับจานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจะสนับสนุนการเติบโตในระยะกลาง และการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่าไม่ส่งผลกระทบมาก
เนื่องจากร้านส่วนใหญ่ใช้พนักงานน้อยและมีทุนในการนาเทคโนโลยีมาใช้แทนแรงงาน
4
SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร
Executive
summary
ร้านอาหารแบบคาเฟ่/บาร์ ค่อย ๆ ทยอยฟื้นตัว คาดว่าจะเติบโต 13% ในปี 2024 แม้ว่าจะได้รับผลกระทบจากโรคระบาดค่อนข้างรุนแรง
ในช่วงที่ผ่านมา แต่คาดว่าจะกลับมาฟื้นตัวได้ดี โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการเปลี่ยนแปลงไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภค อีกทั้ง ผู้ประกอบการยัง
มีการปรับตัวโดยปรับปรุงร้านให้มีเอกลักษณ์เฉพาะ รวมถึงการปรับเปลี่ยนเมนูตามกระแสนิยมของผู้บริโภค
หรือการสนับสนุนธุรกิจท้องถิ่น รวมไปถึงการนาเอกลักษณ์และวัตถุดิบเฉพาะมาเป็นจุดขาย อย่างไรก็ดี ร้านอาหารประเภทนี้
มีการแข่งขันสูง โดยเฉพาะระหว่างร้านเล็ก ๆ กับร้าน Chain ทาให้ธุรกิจต้องปรับตัวให้มีความแข็งแกร่งและมีความสามารถในการแข่งขัน
ประเด็นด้าน ESG เป็นอีกหนึ่งประเด็นที่ผู้ประกอบการธุรกิจบริการอาหารเริ่มให้ความสาคัญและตั้งเป้าหมายลด Carbon footprint
โดยการดาเนินธุรกิจที่ให้ความสาคัญกับความยั่งยืน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อาทิ การใช้วัตถุดิบท้องถิ่น การใช้พลังงานทดแทน
การบริหารจัดการขยะอาหารให้มีประสิทธิภาพ ปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคม
โดยการสนับสนุนชุมชนและให้ค่าแรงที่ยุติธรรมและส่งเสริมจริยธรรม
5
SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร
คานิยาม*
Full-service restaurant : บริการอาหาร
ที่มีสถานที่นั่งรับประทานอาหาร เน้นอาหาร
มากกว่าเครื่องดื่ม และมีพนักงานบริการ
ที่โต๊ะอาหาร รวมถึงคุณภาพของอาหารดีกว่า
กลุ่ม Limited-service restaurant เช่น
MK และ Ootoya เป็นต้น
Limited-service restaurant : บริการอาหาร
ที่ผสมผสานระหว่างร้านอาหาร Fast food
และร้านอาหารที่ให้บริการจัดส่งถึงบ้าน/รับกลับบ้าน
ร้านเหล่านี้มักมีเมนูที่จากัดและเป็นอาหารที่สามารถ
เตรียมได้อย่างรวดเร็ว โดยทั่วไปลูกค้าจะสั่ง จ่ายเงิน
และรับออเดอร์ของตนที่เคาน์เตอร์ แม้ว่าบางสถานที่
อาจมีบริการที่โต๊ะแต่ค่อนข้างจากัด เช่น KFC
และ McDonald เป็นต้น
คาเฟ่/บาร์ : บริการอาหารที่เน้น
ขายเครื่องดื่ม (ทั้งเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
และไม่มีแอลกอฮอล์) ทั้งนี้อาจมีบริการขนม
และอาหารภายในร้าน อย่างไรก็ดี โดยทั่วไป
รายได้ราว 50% หรือมากกว่ามาจากการขาย
เครื่องดื่ม เช่น คาเฟ่อเมซอน และสตาร์บัคส์
เป็นต้น
ที่มา : *คานิยามโดย Euromonitor
Limited-service
restaurant
Full-service
restaurant
คาเฟ่/บาร์
ธุรกิจร้านอาหารฟื้นตัวได้ดี
อย่างต่อเนื่อง
SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร
7
SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร
0
50
100
150
มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหาร
หน่วย : ดัชนี 2019 = 100
ธุรกิจร้านอาหารมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง โดยคาดว่าจะเติบโตราว 11% ในปี 2024 และมีการขยายสาขาต่อเนื่องในระยะกลาง
ทั้งนี้ค่าครองชีพที่สูงขึ้น อาจกดดันกาลังซื้อและส่งผลให้การใช้จ่ายต่อบิลไม่สูงเท่าช่วงก่อนโรคระบาด
0
50
100
150
2019 2023E
2020 2021 2025F
2022 2024F 2026F 2027F
Limited-service
Cafes/bars
Full-service
CAGR 2015-19 CAGR 2020-2023 CAGR 2024-2027
+4.0% +2.9% +9.7%
+7.3% +7.1% +6.6%
+3.0% +4.5% +8.4%
ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อบิล
หน่วย : ดัชนี 2019 = 100
2025F
2022 2024F 2026F
2019 2020 2023E
2021 2027F
Cafes/Bars
Full-service Limited-service
• มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหารมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง โดยคาดว่าจะเติบโต 15%
ในปี 2023 และ 11% ในปี 2024 โดยกลุ่มคาเฟ่/บาร์ คาดว่าจะกลับมาขยายตัว
ในอัตราที่เร่งตัวขึ้น ส่วนหนึ่งมาจากการฟื้นตัวจากช่วงการระบาดของ COVID-19 ที่ได้รับ
ผลกระทบที่ค่อนข้างรุนแรง ในระยะกลางธุรกิจบริการอาหารยังมีแนวโน้มเติบโต
ได้ต่อเนื่อง โดยคาดว่าจะเติบโตที่ 8% ต่อปีในช่วงปี 2024-2027
• การขยายสาขาของธุรกิจบริการอาหารจะกลับมาขยายตัวต่อเนื่องในระยะกลาง
โดยกลุ่ม Full-service ได้รับผลกระทบที่ค่อนข้างรุนแรงจาก COVID-19 ขณะที่ธุรกิจ
บริการอาหารประเภทคาเฟ่/บาร์ และ Limited-service มีการขยายสาขาแบบชะลอตัว
แต่กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่กลับมาหลัง COVID-19 ประกอบกับนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ
ของภาครัฐส่งผลให้ทั้ง 3 รูปแบบจะทยอยกลับมาเปิดสาขาเพิ่มขึ้น
• ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อบิลของธุรกิจร้านอาหารแบบ Full-service จะกลับเท่าระดับ Pre-covid
ในปี 2026 แต่ประเภทคาเฟ่ค่าใช้จ่ายต่อบิลยังคงน้อยกว่าช่วง Pre-covid ส่วนหนึ่ง
มาจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น อาจกดดันกาลังซื้อโดยรวม ทาให้การใช้จ่ายต่อบิลอาจไม่สูง
เหมือนในอดีต ในขณะที่ประเภท Limited-service เพิ่มขึ้นต่อเนื่องแม้ในช่วงโรคระบาด
ภาพรวมธุรกิจ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Euromonitor และข้อมูลจากสานักข่าวต่าง ๆ
8
SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร
ธุรกิจร้านอาหารได้รับปัจจัยสนับสนุนจากนโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจภาครัฐในปี 2024 นักท่องเที่ยวและกาลังซื้อ
ที่เพิ่มขึ้นจากการขึ้นค่าแรงขั้นต่า อย่างไรก็ดี การขึ้นค่าแรงคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อต้นทุน เนื่องจากมีการจ้าง
แรงงานขั้นต่าเป็นสัดส่วนค่อนข้างมาก
การเติบโตของการบริโภคภาคเอกชน*
หน่วย : %
-2
0
2
4
6
8
2021
-0.8%
4.0%
2019 2022
2020
0.6%
6.3% 6.1%
2023E
3.2%
2024F
อัตราเงินเฟ้อ Headline inflation**
หน่วย : %
-2
0
2
4
6
8
1.2%
2020
0.7%
6.1%
2024F
2021
2019
-0.8%
2022
1.7%
1.7%
2023E
2.0%
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ
หน่วย : ล้านคน
39.8
6.7
0.4
11.2
29.0
37.7
-10
0
10
20
30
40
2024F
2019 2022
2020 2021 2023F
สัดส่วนแรงงานที่ได้รับค่าจ้างขั้นต่า
หน่วย : % ของจานวนแรงงาน
(ไม่นับรวม Self-employed)
65%
35%
Restaurant
แรงงานอื่น ๆ
แรงงานที่ได้รับ
ค่าจ้างขั้นต่า
สัดส่วนต้นทุนแรงงานต่อต้นทุนทั้งหมด
หน่วย : % ของต้นทุนรวมของธุรกิจ
(ไม่นับรวม Cost of good sold)
23%
23%
54%
ต้นทุนอื่น ๆ
Restaurant
ต้นทุนแรงงานที่
ได้รับค่าแรงขั้นต่า
ต้นทุนแรงงานอื่น ๆ
• การบริโภคภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่อง
• จานวนนักท่องเที่ยวที่ทยอยเข้ามาในประเทศ
• การเพิ่มอัตราค่าจ้างทาให้กาลังซื้อเพิ่มขึ้น
(ค่าแรงขั้นต่า, ค่าแรงปริญญาตรี)
• นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ เช่น Digital wallet
10,000 บาท (คาดว่าเริ่มนโยบายไตรมาสแรก
ของปี 2024 ทั้งนี้ติดตามในรายละเอียดต่อไป)
• การลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน
ปัจจัยสนับสนุนธุรกิจร้านอาหารปี 2024
• ธุรกิจร้านอาหารพึ่งพาแรงงานที่ขึ้นอยู่กับอัตรา
ค่าแรงขั้นต่าค่อนข้างสูง ทาให้การขึ้นค่าแรง
ขั้นต่าส่งผลกระทบรุนแรงต่อต้นทุน
• ร้านเล็กอาจโดนกดดันจากการแข่งขันกับ
ร้านอาหารขนาดใหญ่ หรือ Chain restaurant
Downside risks
หมายเหตุ : *การคาดการณ์ Macro indicator ยังไม่รวมผลกระทบจากนโยบาย Digital wallet, **ข้อมูลและการคาดการณ์ ณ เดือน ต.ค. 2023
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ NSO, NESDC, MoL, IR และข้อมูลสานักข่าวต่าง ๆ
Restaurant
9
SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร
มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหาร Full-service
หน่วย : ดัชนี 2019 = 100
ธุรกิจบริการอาหารแบบ Full-service เติบโต 15% ในปี 2023 และฟื้นตัวดีหลังโรคระบาด แต่การขึ้นค่าแรงขั้นต่าทาให้
ต้นทุนสูงขึ้นและกาไรลดลง ในขณะที่ร้านอาหาร Chain ปรับตัวได้ดีกว่าโดยนาเทคโนโลยีมาใช้แทนที่แรงงาน
Full-service restaurant
0
50
100
150
2024F 2025F
2019 2021
2020 2022 2023E 2026F 2027F
Chain
Non-chain
CAGR 2015-19 CAGR 2020-2022 CAGR 2023-2027
+2.8% -12.5% +10.8%
+3.3% -7.7% +6.7%
SSSG ของกลุ่ม Full-service restaurant
หน่วย : %YOY
-60
-30
0
30
60
90
120
3Q21
2Q21
4Q20
1Q20
4Q21
2Q20
3Q20
1Q21
1Q22
2Q22
3Q22
4Q22
1Q23
2Q23
Zen
MK
• มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหารแบบ Full-service คาดว่าจะเติบโต
ราว 11% ในปี 2024 Full-service restaurant ได้รับผลกระทบ
ค่อนข้างรุนแรงจากการระบาดของ COVID-19 ที่ผ่านมา อีกทั้ง
ยังได้รับผลกระทบจากกาลังซื้อของผู้บริโภคที่ลดลง อย่างไรก็ดี
ภายหลังจากโรคระบาดคลี่คลาย ธุรกิจประเภทนี้ฟื้นตัวได้ดี
ทั้งจาก Pent up demand และจานวนนักท่องเที่ยวที่ทยอยเข้ามา
และคาดว่าจะได้รับปัจจัยสนับสนุนจากกาลังซื้อที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น
จากนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ เช่น การขึ้นค่าแรงขั้นต่า
ซึ่งจะส่งเสริมให้ยอดขายเติบโตราว 8% ในระยะกลาง
• สาหรับแนวโน้มการเติบโตของกลุ่ม Chain และ Non-chain
ในภาวะที่เศรษฐกิจเปราะบาง ร้านอาหาร Chain จะได้รับผลกระทบ
น้อยกว่า ร้านอาหารที่เป็น Chain มีเงินทุนและสภาพคล่องที่สูงกว่า
ทาให้สามารถปรับตัวได้ดีกว่า เช่น การจาหน่ายผ่านทาง Delivery
การนาเทคโนโลยีมาใช้
• การขึ้นค่าแรงขั้นต่าแม้จะส่งผลให้ผู้บริโภคมีกาลังซื้อมากขึ้น
แต่ต้นทุนของร้านอาหารก็สูงขึ้นเช่นกัน เนื่องจากธุรกิจร้านอาหาร
เป็นธุรกิจที่มีสัดส่วนแรงงานที่พึ่งพาค่าแรงขั้นต่าค่อนข้างสูง
โดยเฉพาะร้านอาหารประเภท Full service ซึ่งเป็นรูปแบบ
ที่มีความจาเป็นต้องจ้างพนักงานให้บริการจานวนมาก
ภาพรวมภาวะธุรกิจบริการอาหารแบบ Full-service
เพื่อรับมือกับการเพิ่มขึ้นของค่าแรง ผู้ประกอบการบางส่วน
ได้เลือกใช้เทคโนโลยีแทนแรงงาน เช่น Robot waiters หรือ
Ordering tablet/QR โดยร้านอาหารแบบ Chain มีความสามารถ
ในการปรับตัวได้รวดเร็ว เนื่องจากความคล่องตัวในการลงทุน
การใช้เทคโนโลยีเข้ามาแทนที่แรงงาน อาจต้องใช้เงินลงทุนสูง
ในระยะแรก แต่จะคุ้มค่าในระยะยาวเมื่อพิจารณาถึงการเพิ่มขึ้น
ของค่าแรง อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบการอาจเลือกจ้างพนักงาน
Part-time เฉพาะช่วงเวลาที่มีลูกค้าจานวนมาก เพื่อลดต้นทุน
ด้านแรงงาน
การปรับตัวของผู้ประกอบเพื่อรับมือกับการขึ้นค่าแรงขั้นต่า
*หมายเหตุ: Same-Store Sales Growth คือ อัตราเติบโตของยอดขายจากสาขาเดิม
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Euromonitor, ข้อมูลจากบริษัทต่าง ๆ และข้อมูลสานักข่าวต่าง ๆ
10
SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร
ธุรกิจบริการอาหาร Limited-service มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องตามการขยายสาขาและการฟื้นตัวของนักท่องเที่ยว
อย่างไรก็ดี การปรับขึ้นค่าแรงจะส่งผลให้ต้นทุนปรับเพิ่มขึ้น แต่คาดว่าผลกระทบไม่รุนแรงเนื่องจากมีการจ้างงาน
ไม่มากและยังสามารถนาเอาเทคโนโลยีมาปรับใช้ได้มาก
Limited-service restaurant
มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหาร Limited-service
หน่วย : ดัชนี 2019 = 100
0
50
100
150
2023E
2022
2019 2025F
2020 2021 2024F 2026F 2027F
Chain Non-chain
SSSG และ TSSG ของ Central Restaurants Group : CRG
หน่วย : %YOY
-60
-30
0
30
60
1Q20
3Q20
2Q21
2Q20
4Q20
1Q21
3Q21
4Q21
1Q22
3Q22
2Q22
4Q22
2Q23
1Q23
SSSG TSSG
Main Drivers
CRG - SSSG BKK vs Upcountry (%YOY)
1H2023
1H2022
18%
6%
13%
7%
Upcountry
Bangkok
• มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหาร Limited-service มีแนวโน้ม
เติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยคาดว่าจะเติบโต ราว 14% ในปี
2023 และ 8% ในปี 2024 ร้านอาหารแบบ Limited-service
ได้รับผลกระทบน้อยกว่ารูปแบบอื่น ๆ ในช่วงโรคระบาด
เนื่องจากส่วนใหญ่ร้านอาหารประเภทนี้จะเป็นผู้ประกอบการ
ประเภท Chain ทาให้สามารถรับมือได้ดีกว่า และส่วนใหญ่
มีบริการ Delivery ของตัวเอง รวมถึงอยู่ในพื้นที่เดียวกับ
Supermarket/Hypermarket (ที่ไม่ถูกปิดในช่วงโรคระบาด)
ทาให้ยังมียอดขายจากการซื้อกลับบ้าน (Take away) จึงทาให้
ปรับตัวได้ง่ายกว่า
• ในระยะกลาง มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัย
สนับสนุนจากการขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเข้าถึงลูกค้า
ที่มากขึ้น และนักท่องเที่ยวที่มากขึ้น ทาให้ร้านที่ตั้งอยู่
ตามสถานที่ท่องเที่ยว ปั๊มน้ามัน หรือสนามบิน สถานีรถไฟ
ทายอดขายได้ดีขึ้น
• การทยอยปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่าคาดว่าจะส่งผลกระทบไม่รุนแรง
เนื่องจากเป็นร้านอาหารในรูปแบบที่ใช้พนักงานน้อยเมื่อเทียบกับ
รูปแบบอื่น อีกทั้ง ส่วนใหญ่เป็นร้าน Chain ทาให้มีทุนที่จะนา
เทคโนโลยีมาใช้แทนแรงงาน เช่น ตู้ Kiosk ในการสั่งอาหาร
ภาพรวมภาวะธุรกิจบริการอาหารแบบ Limited-service
*หมายเหตุ: Same-Store Sales Growth (SSSG) คืออัตราเติบโตของยอดขายจากสาขาเดิม, Total System Sales Growth (TSSG) คือ อัตราเติบโตของยอดขายรวม
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Euromonitor, ข้อมูลจากบริษัทต่าง ๆ และข้อมูลสานักข่าวต่าง ๆ
11
SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร
กลุ่มคาเฟ่/บาร์ ที่ได้รับผลกระทบรุนแรงในช่วงโรคระบาดมีแนวโน้มกลับมาฟื้นตัวได้ดี จากการกระตุ้นเศรษฐกิจ
ของภาครัฐและไลฟ์สไตล์ที่เปลี่ยนไป อย่างไรก็ดี ยังต้องเผชิญกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้นตามการขึ้นค่าแรง รวมถึงแนวโน้ม
การแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Euromonitor ข้อมูลบริษัทต่าง ๆ และข้อมูลสานักข่าวต่าง ๆ
Cafes/Bars
มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหารคาเฟ่/บาร์
หน่วย : ดัชนี 2019 = 100
0
50
100
150
2019 2022
2021
2020 2023E 2024F 2025F 2026F 2027F
Non-chain Chain
จานวน Transactions ธุรกิจบริการอาหารคาเฟ่/บาร์
หน่วย : ดัชนี 2019 = 100
0
50
100
150
200
2020 2026F
2023E
2019 2025F
2021 2022 2024F 2027F
Non-Chain
Chain
การฟื้นตัวของกลุ่มคาเฟ่/บาร์ ที่เป็น Chain
จะฟื้นตัวได้ดีกว่า จานวน Transaction
ของกลุ่ม Chain เติบโตไปมากกว่าช่วง Pre-covid
ในปี 2022 ในขณะที่กลุ่ม Non-chain จะฟื้นตัว
กลับมาในปี 2026 ในขณะที่ยอดขายต่อร้าน
ของกลุ่มคาเฟ่/บาร์ ทั้งที่เป็น Chain และ
Non-chain ยังคงไม่กลับสู่ช่วง Pre-covid
ในระยะกลาง
• มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหารแบบคาเฟ่/บาร์ เติบโตราว 16% ในปี 2023 และคาดว่า
จะเติบโตอีกราว 13% ในปี 2024 คาเฟ่/บาร์ ได้รับผลกระทบรุนแรงมากจากภาวะโรคระบาด
ที่ผ่านมา โดยธุรกิจกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นร้าน Non-chain ทาให้การปรับตัวในภาวะเศรษฐกิจ
เปราะบางทาได้ยากกว่ากลุ่ม Chain ที่มีสภาพคล่องมากกว่า อย่างไรก็ดี ยอดขายกลุ่มคาเฟ่/
บาร์ ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการเปลี่ยนแปลงไลฟ์สไตล์ หรือกระแสนิยมของผู้บริโภค เช่น
เมนูเพื่อสุขภาพ ชาไทยฟีเวอร์ การปรับร้านให้มีความ Local เช่น เมล็ดกาแฟที่สร้างรายได้
ให้ชาวเขา หรือมีลักษณะเฉพาะ ทาให้ยอดขายเติบโตได้ดีโดยเฉพาะในพื้นที่ท่องเที่ยว
• ในระยะกลางกลุ่มคาเฟ่/บาร์ ยังคงมียอดขายที่ฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง และกลับสู่ระดับPre-covid
โดยได้ปัจจัยสนับสนุนจากนโยบายภาครัฐ รายได้จาก Catering ให้กลุ่มลูกค้า Business
หลังจากกลับมาประชุมออฟไลน์มากขึ้น ผู้บริโภคให้ความสนใจกับเอกลักษณ์และเรื่องราว
ของร้านมากขึ้น ทาให้ร้านที่มีจุดขายเฉพาะ เช่น ร้านขายกาแฟที่มีความเฉพาะกลุ่ม (Niche)
ร้านคาเฟ่ Craft chocolate หรือร้านที่มีคอนเซ็ปต์ Instagramable มีจานวนร้านค้า
และยอดขายเพิ่มขึ้น
• อย่างไรก็ดี การขึ้นค่าแรงขั้นต่าส่งผลให้ต้นทุนสูงขึ้น นอกจากนี้ กลุ่มคาเฟ่/บาร์ ยังต้อง
เผชิญกับการแข่งขันที่ค่อนข้างรุนแรง โดยเฉพาะร้านเล็กที่ต้องแข่งกันเอง และแข่งกับร้าน
Chain ดังนั้น กลุ่มคาเฟ่/บาร์ อาจต้องพิจารณานากลยุทธ์ทางการตลาดมาใช้ เพื่อเพิ่ม
ความสามารถในการแข่งขัน เช่น เพิ่มเอกลักษณ์ของร้านและสินค้า หรือการให้บริการเสริม
ที่ต่างจากคู่แข่ง
ภาพรวมภาวะธุรกิจบริการอาหารแบบคาเฟ่
ประเด็น ESG เข้ามา
เสริมความยั่งยืน
และจริยธรรม
SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร
ร้านอาหารสามารถลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยการใช้วัตถุดิบท้องถิ่น
และพลังงานทดแทน ส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคมโดยการสนับสนุน
ชุมชน และให้ค่าแรงที่ยุติธรรม การปฏิบัติตามกฎหมาย การส่งเสริม
จริยธรรม และการเปิดเผยข้อมูลเป็นส่วนสาคัญในการสร้างความยั่งยืน
13
SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร
ESG คือ ปัจจัยที่วัดความยั่งยืนและจริยธรรมของบริษัท ซึ่งนักลงทุนและลูกค้าให้ความสนใจมากขึ้น สามารถช่วย
เสริมสร้างความน่าเชื่อถือและความยั่งยืนในธุรกิจร้านอาหาร
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูล Aston Lark Limited และข้อมูลของบริษัทต่าง ๆ
ESG : Restaurant
ประเด็น ESG ในธุรกิจบริการอาหาร
ESG เป็นปัจจัยสาคัญที่วัดความยั่งยืนและผลกระทบทางจริยธรรมของบริษัท ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
นักลงทุนมีความสนใจมากขึ้นในบริษัทที่มีผลการดาเนินงาน ESG ที่แข็งแกร่ง และลูกค้าก็เริ่มมองหา
ธุรกิจที่ให้ความสาคัญกับความยั่งยืนและการปฏิบัติที่มีจริยธรรมมากขึ้น
Environment : ร้านอาหารสามารถลด Carbon footprint โดยการเลือกซื้อ
วัตถุดิบท้องถิ่นและวัตถุดิบตามฤดูกาล การใช้แหล่งพลังงานทางเลือก
และพลังงานทดแทน การเปลี่ยนไปใช้บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืนมากขึ้น เช่น ภาชนะ
ที่สามารถย่อยสลายได้หรือภาชนะที่ใช้ซ้าได้ และลดปริมาณ Food waste
โดยการควบคุมปริมาณอาหารที่เสิร์ฟและบริจาคอาหารที่เหลือให้กับองค์กร
การกุศล
Social : ร้านอาหารสามารถส่งเสริมความรับผิดชอบทางสังคมโดยการให้
ค่าแรงและสวัสดิการที่ยุติธรรมกับพนักงาน สนับสนุนชุมชนท้องถิ่น
และเลือกซื้อวัตถุดิบที่ผลิตอย่างมีจริยธรรม
Governance : ร้านอาหารสามารถนารูปแบบการบริหารแบบ Sustainable
เข้ามาในกิจการของตน ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริม
มาตรฐานจริยธรรมที่ดี รวมไปถึงเปิดเผยการดาเนินงานและกระบวนการ
ตัดสินใจของธุรกิจ รับฟังและให้คุณค่ากับความคิดเห็นของสังคม
ตัวอย่างการนา ESG มาใช้ในการดาเนินงานของธุรกิจบริการอาหาร
Firm Target Environment Social Governance
Resource
and
Waste
managem
ent
(2026)
ลด Energy
intensity 3%
(2023) และเป็น
5% ในปี 2026
คัดแยกขยะรีไซเคิล
150 ตัน (2026)
สร้างความปลอดภัย
และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน สนับสนุนการสร้าง
รายได้ใช้ชุมชน เป้าหมาย
300,000 บาท ต่อปีใน
2026
มีช่องทางการ
ร้องเรียน มีการ
ตรวจสอบดูแล
คุณภาพของ
Suppliers
Carbon
neutrality
(2050)
ลดการใช้ Single-
use plastic 75%
(2024) เข้าสู่การ
เป็น Carbon
neutrality (2050)
พัฒนาพนักงานอย่างยั่งยืน
สนับสนุนการศึกษา
การสร้างงาน ความเป็นอยู่
ที่ดีให้ชุมชน (2030)
อาศัยหลัก
ธรรมาภิบาลกากับ
ดูแลกิจการที่ดี
และได้รับรางวัล
การันตีด้าน ESG
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf

More Related Content

Similar to Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf

Industry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdf
Industry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdfIndustry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdf
Industry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdf
SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
SCBEICSCB
 
ตลาดที่อยู่อาศัยปี 2023 ขยายตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงด้านกำลั...
ตลาดที่อยู่อาศัยปี 2023 ขยายตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงด้านกำลั...ตลาดที่อยู่อาศัยปี 2023 ขยายตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงด้านกำลั...
ตลาดที่อยู่อาศัยปี 2023 ขยายตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงด้านกำลั...
SCBEICSCB
 
Industry-Insight_Retail-trade-2022_20220622.pdf
Industry-Insight_Retail-trade-2022_20220622.pdfIndustry-Insight_Retail-trade-2022_20220622.pdf
Industry-Insight_Retail-trade-2022_20220622.pdf
SCBEICSCB
 
Industry-Outlook-2022_Real-Estate_Final.pdf
Industry-Outlook-2022_Real-Estate_Final.pdfIndustry-Outlook-2022_Real-Estate_Final.pdf
Industry-Outlook-2022_Real-Estate_Final.pdf
SCBEICSCB
 
Industry-Insight_Real-Estate-2022_20220530.pdf
Industry-Insight_Real-Estate-2022_20220530.pdfIndustry-Insight_Real-Estate-2022_20220530.pdf
Industry-Insight_Real-Estate-2022_20220530.pdf
SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
SCBEICSCB
 
TH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdfTH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdf
SCBEICSCB
 
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supplyราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
SCBEICSCB
 

Similar to Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf (9)

Industry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdf
Industry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdfIndustry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdf
Industry-Insight_F-B-Industry_20220720.pdf
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
 
ตลาดที่อยู่อาศัยปี 2023 ขยายตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงด้านกำลั...
ตลาดที่อยู่อาศัยปี 2023 ขยายตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงด้านกำลั...ตลาดที่อยู่อาศัยปี 2023 ขยายตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงด้านกำลั...
ตลาดที่อยู่อาศัยปี 2023 ขยายตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงด้านกำลั...
 
Industry-Insight_Retail-trade-2022_20220622.pdf
Industry-Insight_Retail-trade-2022_20220622.pdfIndustry-Insight_Retail-trade-2022_20220622.pdf
Industry-Insight_Retail-trade-2022_20220622.pdf
 
Industry-Outlook-2022_Real-Estate_Final.pdf
Industry-Outlook-2022_Real-Estate_Final.pdfIndustry-Outlook-2022_Real-Estate_Final.pdf
Industry-Outlook-2022_Real-Estate_Final.pdf
 
Industry-Insight_Real-Estate-2022_20220530.pdf
Industry-Insight_Real-Estate-2022_20220530.pdfIndustry-Insight_Real-Estate-2022_20220530.pdf
Industry-Insight_Real-Estate-2022_20220530.pdf
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
TH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdfTH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdf
 
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supplyราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
 

More from SCBEICSCB

SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...
SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...
SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...
SCBEICSCB
 
In focus-Hotel transformation-20240523.pdf
In focus-Hotel transformation-20240523.pdfIn focus-Hotel transformation-20240523.pdf
In focus-Hotel transformation-20240523.pdf
SCBEICSCB
 
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
SCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
SCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
SCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
SCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
SCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
SCBEICSCB
 

More from SCBEICSCB (20)

SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...
SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...
SCB EIC ปรับลดเป้าเศรษฐกิจไทยปี 2024 เหลือ 2.5% จากข้อจำกัดการฟื้นตัวที่มากขึ...
 
In focus-Hotel transformation-20240523.pdf
In focus-Hotel transformation-20240523.pdfIn focus-Hotel transformation-20240523.pdf
In focus-Hotel transformation-20240523.pdf
 
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 

Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf

  • 1. ธุรกิจบริการอาหาร ธุรกิจบริการอาหารมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องในปี 2024 จากการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชน จานวน นักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น และนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ ภาครัฐ แต่ยังต้องระวังปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อ ธุรกิจ เช่น การเพิ่มขึ้นของค่าแรงที่ทาให้ต้นทุนสูงขึ้น SCB EIC Industry insight Nov 2023
  • 2. The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or such information by the recipient or other persons in whatever manner. Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct. This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in the companies mentioned here in. Contents SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร Executive summary หน้า 03 ธุรกิจร้านอาหารฟื้นตัวได้ดี อย่างต่อเนื่อง หน้า 06 ประเด็น ESG เข้ามาเสริม ความยั่งยืนและจริยธรรม หน้า 12
  • 3. 3 SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร Executive summary ธุรกิจบริการอาหารมีแนวโน้มฟื้นตัวดีต่อเนื่อง คาดว่ามูลค่าตลาดจะเติบโตราว 11% ในปี 2024 เนื่องจากการขยายตัวต่อเนื่องของการ บริโภคภาคเอกชน การเพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยว และนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ ในระยะกลางคาดว่ายังเติบโตต่อเนื่อง ที่อัตราการเติบโตเฉลี่ย 8% ต่อปี ในช่วงปี 2025-2027 โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากจานวนนักท่องเที่ยวและกาลังซื้อที่ดีขึ้น ประกอบกับ ธุรกิจบริการอาหารส่วนใหญ่มีการปรับตัวมาตั้งแต่ช่วงการระบาดของ COVID-19 โดยเพิ่มช่องทางการขายทั้งออนไลน์และออฟไลน์ ส่งผลให้มีช่องทางในการเพิ่มรายได้ให้เติบโตจากลูกค้าที่หลากหลายมากขึ้น อย่างไรก็ดี ยังมีปัจจัยที่คาดว่าจะกระทบต่อธุรกิจที่ต้อง ติดตาม เช่น นโยบายปรับขึ้นค่าแรงจะส่งผลให้ต้นทุนปรับสูงขึ้นตาม เนื่องจากธุรกิจบริการอาหารเป็นธุรกิจที่พึ่งพาแรงงานที่รับค่าแรง ขั้นต่าจานวนค่อนข้างมาก นอกจากนี้ ธุรกิจบริการอาหารยังเผชิญกับภาวะการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น จากผู้เล่นหน้าใหม่ที่เข้ามาในตลาด ธุรกิจบริการอาหารแบบ Full-service คาดว่าจะเติบโต 11% ในปี 2024 แม้ว่าจะได้รับผลกระทบที่ค่อนข้างรุนแรงในช่วงการระบาด ของ COVID-19 แต่จะกลับมาฟื้นตัวจาก Pent up demand และการฟื้นตัวของตลาดนักท่องเที่ยว กาลังซื้อเพิ่มขึ้นจากนโยบายกระตุ้น เศรษฐกิจภาครัฐ อย่างไรก็ดี การขึ้นค่าแรงขั้นต่าจะส่งผลกระทบต่อต้นทุนที่ปรับเพิ่มขึ้น ซึ่งร้านอาหาร Chain มีโอกาสปรับตัวได้มากกว่า ในการควบคุมต้นทุนเมื่อต้นทุนด้านแรงงานสูงขึ้น อีกทั้ง ยังสามารถนาเอาเทคโนโลยีมาช่วยเพื่อลดการจ้างพนักงาน เนื่องจากมีเงินทุน และสภาพคล่องที่มากกว่า ธุรกิจร้านอาหาร Limited-service คาดว่าจะเติบโต 8% ในปี 2024 โดยร้านอาหารประเภทนี้ได้รับผลกระทบในช่วงโรคระบาดไม่รุนแรงเท่า ประเภทอื่น เพราะร้านส่วนใหญ่เป็น Chain และมีบริการ Delivery ซึ่งทาให้ปรับตัวได้ง่าย ในระยะข้างหน้า การขยายสาขาจะทาให้เข้าถึง ลูกค้ามากขึ้น ประกอบกับจานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจะสนับสนุนการเติบโตในระยะกลาง และการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่าไม่ส่งผลกระทบมาก เนื่องจากร้านส่วนใหญ่ใช้พนักงานน้อยและมีทุนในการนาเทคโนโลยีมาใช้แทนแรงงาน
  • 4. 4 SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร Executive summary ร้านอาหารแบบคาเฟ่/บาร์ ค่อย ๆ ทยอยฟื้นตัว คาดว่าจะเติบโต 13% ในปี 2024 แม้ว่าจะได้รับผลกระทบจากโรคระบาดค่อนข้างรุนแรง ในช่วงที่ผ่านมา แต่คาดว่าจะกลับมาฟื้นตัวได้ดี โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการเปลี่ยนแปลงไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภค อีกทั้ง ผู้ประกอบการยัง มีการปรับตัวโดยปรับปรุงร้านให้มีเอกลักษณ์เฉพาะ รวมถึงการปรับเปลี่ยนเมนูตามกระแสนิยมของผู้บริโภค หรือการสนับสนุนธุรกิจท้องถิ่น รวมไปถึงการนาเอกลักษณ์และวัตถุดิบเฉพาะมาเป็นจุดขาย อย่างไรก็ดี ร้านอาหารประเภทนี้ มีการแข่งขันสูง โดยเฉพาะระหว่างร้านเล็ก ๆ กับร้าน Chain ทาให้ธุรกิจต้องปรับตัวให้มีความแข็งแกร่งและมีความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นด้าน ESG เป็นอีกหนึ่งประเด็นที่ผู้ประกอบการธุรกิจบริการอาหารเริ่มให้ความสาคัญและตั้งเป้าหมายลด Carbon footprint โดยการดาเนินธุรกิจที่ให้ความสาคัญกับความยั่งยืน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อาทิ การใช้วัตถุดิบท้องถิ่น การใช้พลังงานทดแทน การบริหารจัดการขยะอาหารให้มีประสิทธิภาพ ปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคม โดยการสนับสนุนชุมชนและให้ค่าแรงที่ยุติธรรมและส่งเสริมจริยธรรม
  • 5. 5 SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร คานิยาม* Full-service restaurant : บริการอาหาร ที่มีสถานที่นั่งรับประทานอาหาร เน้นอาหาร มากกว่าเครื่องดื่ม และมีพนักงานบริการ ที่โต๊ะอาหาร รวมถึงคุณภาพของอาหารดีกว่า กลุ่ม Limited-service restaurant เช่น MK และ Ootoya เป็นต้น Limited-service restaurant : บริการอาหาร ที่ผสมผสานระหว่างร้านอาหาร Fast food และร้านอาหารที่ให้บริการจัดส่งถึงบ้าน/รับกลับบ้าน ร้านเหล่านี้มักมีเมนูที่จากัดและเป็นอาหารที่สามารถ เตรียมได้อย่างรวดเร็ว โดยทั่วไปลูกค้าจะสั่ง จ่ายเงิน และรับออเดอร์ของตนที่เคาน์เตอร์ แม้ว่าบางสถานที่ อาจมีบริการที่โต๊ะแต่ค่อนข้างจากัด เช่น KFC และ McDonald เป็นต้น คาเฟ่/บาร์ : บริการอาหารที่เน้น ขายเครื่องดื่ม (ทั้งเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และไม่มีแอลกอฮอล์) ทั้งนี้อาจมีบริการขนม และอาหารภายในร้าน อย่างไรก็ดี โดยทั่วไป รายได้ราว 50% หรือมากกว่ามาจากการขาย เครื่องดื่ม เช่น คาเฟ่อเมซอน และสตาร์บัคส์ เป็นต้น ที่มา : *คานิยามโดย Euromonitor Limited-service restaurant Full-service restaurant คาเฟ่/บาร์
  • 7. 7 SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร 0 50 100 150 มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหาร หน่วย : ดัชนี 2019 = 100 ธุรกิจร้านอาหารมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง โดยคาดว่าจะเติบโตราว 11% ในปี 2024 และมีการขยายสาขาต่อเนื่องในระยะกลาง ทั้งนี้ค่าครองชีพที่สูงขึ้น อาจกดดันกาลังซื้อและส่งผลให้การใช้จ่ายต่อบิลไม่สูงเท่าช่วงก่อนโรคระบาด 0 50 100 150 2019 2023E 2020 2021 2025F 2022 2024F 2026F 2027F Limited-service Cafes/bars Full-service CAGR 2015-19 CAGR 2020-2023 CAGR 2024-2027 +4.0% +2.9% +9.7% +7.3% +7.1% +6.6% +3.0% +4.5% +8.4% ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อบิล หน่วย : ดัชนี 2019 = 100 2025F 2022 2024F 2026F 2019 2020 2023E 2021 2027F Cafes/Bars Full-service Limited-service • มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหารมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง โดยคาดว่าจะเติบโต 15% ในปี 2023 และ 11% ในปี 2024 โดยกลุ่มคาเฟ่/บาร์ คาดว่าจะกลับมาขยายตัว ในอัตราที่เร่งตัวขึ้น ส่วนหนึ่งมาจากการฟื้นตัวจากช่วงการระบาดของ COVID-19 ที่ได้รับ ผลกระทบที่ค่อนข้างรุนแรง ในระยะกลางธุรกิจบริการอาหารยังมีแนวโน้มเติบโต ได้ต่อเนื่อง โดยคาดว่าจะเติบโตที่ 8% ต่อปีในช่วงปี 2024-2027 • การขยายสาขาของธุรกิจบริการอาหารจะกลับมาขยายตัวต่อเนื่องในระยะกลาง โดยกลุ่ม Full-service ได้รับผลกระทบที่ค่อนข้างรุนแรงจาก COVID-19 ขณะที่ธุรกิจ บริการอาหารประเภทคาเฟ่/บาร์ และ Limited-service มีการขยายสาขาแบบชะลอตัว แต่กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่กลับมาหลัง COVID-19 ประกอบกับนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ ของภาครัฐส่งผลให้ทั้ง 3 รูปแบบจะทยอยกลับมาเปิดสาขาเพิ่มขึ้น • ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อบิลของธุรกิจร้านอาหารแบบ Full-service จะกลับเท่าระดับ Pre-covid ในปี 2026 แต่ประเภทคาเฟ่ค่าใช้จ่ายต่อบิลยังคงน้อยกว่าช่วง Pre-covid ส่วนหนึ่ง มาจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น อาจกดดันกาลังซื้อโดยรวม ทาให้การใช้จ่ายต่อบิลอาจไม่สูง เหมือนในอดีต ในขณะที่ประเภท Limited-service เพิ่มขึ้นต่อเนื่องแม้ในช่วงโรคระบาด ภาพรวมธุรกิจ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Euromonitor และข้อมูลจากสานักข่าวต่าง ๆ
  • 8. 8 SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร ธุรกิจร้านอาหารได้รับปัจจัยสนับสนุนจากนโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจภาครัฐในปี 2024 นักท่องเที่ยวและกาลังซื้อ ที่เพิ่มขึ้นจากการขึ้นค่าแรงขั้นต่า อย่างไรก็ดี การขึ้นค่าแรงคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อต้นทุน เนื่องจากมีการจ้าง แรงงานขั้นต่าเป็นสัดส่วนค่อนข้างมาก การเติบโตของการบริโภคภาคเอกชน* หน่วย : % -2 0 2 4 6 8 2021 -0.8% 4.0% 2019 2022 2020 0.6% 6.3% 6.1% 2023E 3.2% 2024F อัตราเงินเฟ้อ Headline inflation** หน่วย : % -2 0 2 4 6 8 1.2% 2020 0.7% 6.1% 2024F 2021 2019 -0.8% 2022 1.7% 1.7% 2023E 2.0% จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ หน่วย : ล้านคน 39.8 6.7 0.4 11.2 29.0 37.7 -10 0 10 20 30 40 2024F 2019 2022 2020 2021 2023F สัดส่วนแรงงานที่ได้รับค่าจ้างขั้นต่า หน่วย : % ของจานวนแรงงาน (ไม่นับรวม Self-employed) 65% 35% Restaurant แรงงานอื่น ๆ แรงงานที่ได้รับ ค่าจ้างขั้นต่า สัดส่วนต้นทุนแรงงานต่อต้นทุนทั้งหมด หน่วย : % ของต้นทุนรวมของธุรกิจ (ไม่นับรวม Cost of good sold) 23% 23% 54% ต้นทุนอื่น ๆ Restaurant ต้นทุนแรงงานที่ ได้รับค่าแรงขั้นต่า ต้นทุนแรงงานอื่น ๆ • การบริโภคภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่อง • จานวนนักท่องเที่ยวที่ทยอยเข้ามาในประเทศ • การเพิ่มอัตราค่าจ้างทาให้กาลังซื้อเพิ่มขึ้น (ค่าแรงขั้นต่า, ค่าแรงปริญญาตรี) • นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ เช่น Digital wallet 10,000 บาท (คาดว่าเริ่มนโยบายไตรมาสแรก ของปี 2024 ทั้งนี้ติดตามในรายละเอียดต่อไป) • การลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ปัจจัยสนับสนุนธุรกิจร้านอาหารปี 2024 • ธุรกิจร้านอาหารพึ่งพาแรงงานที่ขึ้นอยู่กับอัตรา ค่าแรงขั้นต่าค่อนข้างสูง ทาให้การขึ้นค่าแรง ขั้นต่าส่งผลกระทบรุนแรงต่อต้นทุน • ร้านเล็กอาจโดนกดดันจากการแข่งขันกับ ร้านอาหารขนาดใหญ่ หรือ Chain restaurant Downside risks หมายเหตุ : *การคาดการณ์ Macro indicator ยังไม่รวมผลกระทบจากนโยบาย Digital wallet, **ข้อมูลและการคาดการณ์ ณ เดือน ต.ค. 2023 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ NSO, NESDC, MoL, IR และข้อมูลสานักข่าวต่าง ๆ Restaurant
  • 9. 9 SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหาร Full-service หน่วย : ดัชนี 2019 = 100 ธุรกิจบริการอาหารแบบ Full-service เติบโต 15% ในปี 2023 และฟื้นตัวดีหลังโรคระบาด แต่การขึ้นค่าแรงขั้นต่าทาให้ ต้นทุนสูงขึ้นและกาไรลดลง ในขณะที่ร้านอาหาร Chain ปรับตัวได้ดีกว่าโดยนาเทคโนโลยีมาใช้แทนที่แรงงาน Full-service restaurant 0 50 100 150 2024F 2025F 2019 2021 2020 2022 2023E 2026F 2027F Chain Non-chain CAGR 2015-19 CAGR 2020-2022 CAGR 2023-2027 +2.8% -12.5% +10.8% +3.3% -7.7% +6.7% SSSG ของกลุ่ม Full-service restaurant หน่วย : %YOY -60 -30 0 30 60 90 120 3Q21 2Q21 4Q20 1Q20 4Q21 2Q20 3Q20 1Q21 1Q22 2Q22 3Q22 4Q22 1Q23 2Q23 Zen MK • มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหารแบบ Full-service คาดว่าจะเติบโต ราว 11% ในปี 2024 Full-service restaurant ได้รับผลกระทบ ค่อนข้างรุนแรงจากการระบาดของ COVID-19 ที่ผ่านมา อีกทั้ง ยังได้รับผลกระทบจากกาลังซื้อของผู้บริโภคที่ลดลง อย่างไรก็ดี ภายหลังจากโรคระบาดคลี่คลาย ธุรกิจประเภทนี้ฟื้นตัวได้ดี ทั้งจาก Pent up demand และจานวนนักท่องเที่ยวที่ทยอยเข้ามา และคาดว่าจะได้รับปัจจัยสนับสนุนจากกาลังซื้อที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น จากนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ เช่น การขึ้นค่าแรงขั้นต่า ซึ่งจะส่งเสริมให้ยอดขายเติบโตราว 8% ในระยะกลาง • สาหรับแนวโน้มการเติบโตของกลุ่ม Chain และ Non-chain ในภาวะที่เศรษฐกิจเปราะบาง ร้านอาหาร Chain จะได้รับผลกระทบ น้อยกว่า ร้านอาหารที่เป็น Chain มีเงินทุนและสภาพคล่องที่สูงกว่า ทาให้สามารถปรับตัวได้ดีกว่า เช่น การจาหน่ายผ่านทาง Delivery การนาเทคโนโลยีมาใช้ • การขึ้นค่าแรงขั้นต่าแม้จะส่งผลให้ผู้บริโภคมีกาลังซื้อมากขึ้น แต่ต้นทุนของร้านอาหารก็สูงขึ้นเช่นกัน เนื่องจากธุรกิจร้านอาหาร เป็นธุรกิจที่มีสัดส่วนแรงงานที่พึ่งพาค่าแรงขั้นต่าค่อนข้างสูง โดยเฉพาะร้านอาหารประเภท Full service ซึ่งเป็นรูปแบบ ที่มีความจาเป็นต้องจ้างพนักงานให้บริการจานวนมาก ภาพรวมภาวะธุรกิจบริการอาหารแบบ Full-service เพื่อรับมือกับการเพิ่มขึ้นของค่าแรง ผู้ประกอบการบางส่วน ได้เลือกใช้เทคโนโลยีแทนแรงงาน เช่น Robot waiters หรือ Ordering tablet/QR โดยร้านอาหารแบบ Chain มีความสามารถ ในการปรับตัวได้รวดเร็ว เนื่องจากความคล่องตัวในการลงทุน การใช้เทคโนโลยีเข้ามาแทนที่แรงงาน อาจต้องใช้เงินลงทุนสูง ในระยะแรก แต่จะคุ้มค่าในระยะยาวเมื่อพิจารณาถึงการเพิ่มขึ้น ของค่าแรง อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบการอาจเลือกจ้างพนักงาน Part-time เฉพาะช่วงเวลาที่มีลูกค้าจานวนมาก เพื่อลดต้นทุน ด้านแรงงาน การปรับตัวของผู้ประกอบเพื่อรับมือกับการขึ้นค่าแรงขั้นต่า *หมายเหตุ: Same-Store Sales Growth คือ อัตราเติบโตของยอดขายจากสาขาเดิม ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Euromonitor, ข้อมูลจากบริษัทต่าง ๆ และข้อมูลสานักข่าวต่าง ๆ
  • 10. 10 SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร ธุรกิจบริการอาหาร Limited-service มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องตามการขยายสาขาและการฟื้นตัวของนักท่องเที่ยว อย่างไรก็ดี การปรับขึ้นค่าแรงจะส่งผลให้ต้นทุนปรับเพิ่มขึ้น แต่คาดว่าผลกระทบไม่รุนแรงเนื่องจากมีการจ้างงาน ไม่มากและยังสามารถนาเอาเทคโนโลยีมาปรับใช้ได้มาก Limited-service restaurant มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหาร Limited-service หน่วย : ดัชนี 2019 = 100 0 50 100 150 2023E 2022 2019 2025F 2020 2021 2024F 2026F 2027F Chain Non-chain SSSG และ TSSG ของ Central Restaurants Group : CRG หน่วย : %YOY -60 -30 0 30 60 1Q20 3Q20 2Q21 2Q20 4Q20 1Q21 3Q21 4Q21 1Q22 3Q22 2Q22 4Q22 2Q23 1Q23 SSSG TSSG Main Drivers CRG - SSSG BKK vs Upcountry (%YOY) 1H2023 1H2022 18% 6% 13% 7% Upcountry Bangkok • มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหาร Limited-service มีแนวโน้ม เติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยคาดว่าจะเติบโต ราว 14% ในปี 2023 และ 8% ในปี 2024 ร้านอาหารแบบ Limited-service ได้รับผลกระทบน้อยกว่ารูปแบบอื่น ๆ ในช่วงโรคระบาด เนื่องจากส่วนใหญ่ร้านอาหารประเภทนี้จะเป็นผู้ประกอบการ ประเภท Chain ทาให้สามารถรับมือได้ดีกว่า และส่วนใหญ่ มีบริการ Delivery ของตัวเอง รวมถึงอยู่ในพื้นที่เดียวกับ Supermarket/Hypermarket (ที่ไม่ถูกปิดในช่วงโรคระบาด) ทาให้ยังมียอดขายจากการซื้อกลับบ้าน (Take away) จึงทาให้ ปรับตัวได้ง่ายกว่า • ในระยะกลาง มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัย สนับสนุนจากการขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเข้าถึงลูกค้า ที่มากขึ้น และนักท่องเที่ยวที่มากขึ้น ทาให้ร้านที่ตั้งอยู่ ตามสถานที่ท่องเที่ยว ปั๊มน้ามัน หรือสนามบิน สถานีรถไฟ ทายอดขายได้ดีขึ้น • การทยอยปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่าคาดว่าจะส่งผลกระทบไม่รุนแรง เนื่องจากเป็นร้านอาหารในรูปแบบที่ใช้พนักงานน้อยเมื่อเทียบกับ รูปแบบอื่น อีกทั้ง ส่วนใหญ่เป็นร้าน Chain ทาให้มีทุนที่จะนา เทคโนโลยีมาใช้แทนแรงงาน เช่น ตู้ Kiosk ในการสั่งอาหาร ภาพรวมภาวะธุรกิจบริการอาหารแบบ Limited-service *หมายเหตุ: Same-Store Sales Growth (SSSG) คืออัตราเติบโตของยอดขายจากสาขาเดิม, Total System Sales Growth (TSSG) คือ อัตราเติบโตของยอดขายรวม ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Euromonitor, ข้อมูลจากบริษัทต่าง ๆ และข้อมูลสานักข่าวต่าง ๆ
  • 11. 11 SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร กลุ่มคาเฟ่/บาร์ ที่ได้รับผลกระทบรุนแรงในช่วงโรคระบาดมีแนวโน้มกลับมาฟื้นตัวได้ดี จากการกระตุ้นเศรษฐกิจ ของภาครัฐและไลฟ์สไตล์ที่เปลี่ยนไป อย่างไรก็ดี ยังต้องเผชิญกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้นตามการขึ้นค่าแรง รวมถึงแนวโน้ม การแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Euromonitor ข้อมูลบริษัทต่าง ๆ และข้อมูลสานักข่าวต่าง ๆ Cafes/Bars มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหารคาเฟ่/บาร์ หน่วย : ดัชนี 2019 = 100 0 50 100 150 2019 2022 2021 2020 2023E 2024F 2025F 2026F 2027F Non-chain Chain จานวน Transactions ธุรกิจบริการอาหารคาเฟ่/บาร์ หน่วย : ดัชนี 2019 = 100 0 50 100 150 200 2020 2026F 2023E 2019 2025F 2021 2022 2024F 2027F Non-Chain Chain การฟื้นตัวของกลุ่มคาเฟ่/บาร์ ที่เป็น Chain จะฟื้นตัวได้ดีกว่า จานวน Transaction ของกลุ่ม Chain เติบโตไปมากกว่าช่วง Pre-covid ในปี 2022 ในขณะที่กลุ่ม Non-chain จะฟื้นตัว กลับมาในปี 2026 ในขณะที่ยอดขายต่อร้าน ของกลุ่มคาเฟ่/บาร์ ทั้งที่เป็น Chain และ Non-chain ยังคงไม่กลับสู่ช่วง Pre-covid ในระยะกลาง • มูลค่าตลาดธุรกิจบริการอาหารแบบคาเฟ่/บาร์ เติบโตราว 16% ในปี 2023 และคาดว่า จะเติบโตอีกราว 13% ในปี 2024 คาเฟ่/บาร์ ได้รับผลกระทบรุนแรงมากจากภาวะโรคระบาด ที่ผ่านมา โดยธุรกิจกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นร้าน Non-chain ทาให้การปรับตัวในภาวะเศรษฐกิจ เปราะบางทาได้ยากกว่ากลุ่ม Chain ที่มีสภาพคล่องมากกว่า อย่างไรก็ดี ยอดขายกลุ่มคาเฟ่/ บาร์ ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการเปลี่ยนแปลงไลฟ์สไตล์ หรือกระแสนิยมของผู้บริโภค เช่น เมนูเพื่อสุขภาพ ชาไทยฟีเวอร์ การปรับร้านให้มีความ Local เช่น เมล็ดกาแฟที่สร้างรายได้ ให้ชาวเขา หรือมีลักษณะเฉพาะ ทาให้ยอดขายเติบโตได้ดีโดยเฉพาะในพื้นที่ท่องเที่ยว • ในระยะกลางกลุ่มคาเฟ่/บาร์ ยังคงมียอดขายที่ฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง และกลับสู่ระดับPre-covid โดยได้ปัจจัยสนับสนุนจากนโยบายภาครัฐ รายได้จาก Catering ให้กลุ่มลูกค้า Business หลังจากกลับมาประชุมออฟไลน์มากขึ้น ผู้บริโภคให้ความสนใจกับเอกลักษณ์และเรื่องราว ของร้านมากขึ้น ทาให้ร้านที่มีจุดขายเฉพาะ เช่น ร้านขายกาแฟที่มีความเฉพาะกลุ่ม (Niche) ร้านคาเฟ่ Craft chocolate หรือร้านที่มีคอนเซ็ปต์ Instagramable มีจานวนร้านค้า และยอดขายเพิ่มขึ้น • อย่างไรก็ดี การขึ้นค่าแรงขั้นต่าส่งผลให้ต้นทุนสูงขึ้น นอกจากนี้ กลุ่มคาเฟ่/บาร์ ยังต้อง เผชิญกับการแข่งขันที่ค่อนข้างรุนแรง โดยเฉพาะร้านเล็กที่ต้องแข่งกันเอง และแข่งกับร้าน Chain ดังนั้น กลุ่มคาเฟ่/บาร์ อาจต้องพิจารณานากลยุทธ์ทางการตลาดมาใช้ เพื่อเพิ่ม ความสามารถในการแข่งขัน เช่น เพิ่มเอกลักษณ์ของร้านและสินค้า หรือการให้บริการเสริม ที่ต่างจากคู่แข่ง ภาพรวมภาวะธุรกิจบริการอาหารแบบคาเฟ่
  • 12. ประเด็น ESG เข้ามา เสริมความยั่งยืน และจริยธรรม SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร ร้านอาหารสามารถลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยการใช้วัตถุดิบท้องถิ่น และพลังงานทดแทน ส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคมโดยการสนับสนุน ชุมชน และให้ค่าแรงที่ยุติธรรม การปฏิบัติตามกฎหมาย การส่งเสริม จริยธรรม และการเปิดเผยข้อมูลเป็นส่วนสาคัญในการสร้างความยั่งยืน
  • 13. 13 SCB EIC Industry insight : ธุรกิจบริการอาหาร ESG คือ ปัจจัยที่วัดความยั่งยืนและจริยธรรมของบริษัท ซึ่งนักลงทุนและลูกค้าให้ความสนใจมากขึ้น สามารถช่วย เสริมสร้างความน่าเชื่อถือและความยั่งยืนในธุรกิจร้านอาหาร ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูล Aston Lark Limited และข้อมูลของบริษัทต่าง ๆ ESG : Restaurant ประเด็น ESG ในธุรกิจบริการอาหาร ESG เป็นปัจจัยสาคัญที่วัดความยั่งยืนและผลกระทบทางจริยธรรมของบริษัท ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา นักลงทุนมีความสนใจมากขึ้นในบริษัทที่มีผลการดาเนินงาน ESG ที่แข็งแกร่ง และลูกค้าก็เริ่มมองหา ธุรกิจที่ให้ความสาคัญกับความยั่งยืนและการปฏิบัติที่มีจริยธรรมมากขึ้น Environment : ร้านอาหารสามารถลด Carbon footprint โดยการเลือกซื้อ วัตถุดิบท้องถิ่นและวัตถุดิบตามฤดูกาล การใช้แหล่งพลังงานทางเลือก และพลังงานทดแทน การเปลี่ยนไปใช้บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืนมากขึ้น เช่น ภาชนะ ที่สามารถย่อยสลายได้หรือภาชนะที่ใช้ซ้าได้ และลดปริมาณ Food waste โดยการควบคุมปริมาณอาหารที่เสิร์ฟและบริจาคอาหารที่เหลือให้กับองค์กร การกุศล Social : ร้านอาหารสามารถส่งเสริมความรับผิดชอบทางสังคมโดยการให้ ค่าแรงและสวัสดิการที่ยุติธรรมกับพนักงาน สนับสนุนชุมชนท้องถิ่น และเลือกซื้อวัตถุดิบที่ผลิตอย่างมีจริยธรรม Governance : ร้านอาหารสามารถนารูปแบบการบริหารแบบ Sustainable เข้ามาในกิจการของตน ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริม มาตรฐานจริยธรรมที่ดี รวมไปถึงเปิดเผยการดาเนินงานและกระบวนการ ตัดสินใจของธุรกิจ รับฟังและให้คุณค่ากับความคิดเห็นของสังคม ตัวอย่างการนา ESG มาใช้ในการดาเนินงานของธุรกิจบริการอาหาร Firm Target Environment Social Governance Resource and Waste managem ent (2026) ลด Energy intensity 3% (2023) และเป็น 5% ในปี 2026 คัดแยกขยะรีไซเคิล 150 ตัน (2026) สร้างความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน สนับสนุนการสร้าง รายได้ใช้ชุมชน เป้าหมาย 300,000 บาท ต่อปีใน 2026 มีช่องทางการ ร้องเรียน มีการ ตรวจสอบดูแล คุณภาพของ Suppliers Carbon neutrality (2050) ลดการใช้ Single- use plastic 75% (2024) เข้าสู่การ เป็น Carbon neutrality (2050) พัฒนาพนักงานอย่างยั่งยืน สนับสนุนการศึกษา การสร้างงาน ความเป็นอยู่ ที่ดีให้ชุมชน (2030) อาศัยหลัก ธรรมาภิบาลกากับ ดูแลกิจการที่ดี และได้รับรางวัล การันตีด้าน ESG