SlideShare a Scribd company logo
1 of 74
Download to read offline
Outlook
มุมมองเศรษฐกิจปี 2023 ณ ไตรมาส 2 ปี 2023
Q2/2023
SCB EIC คงประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2023 ที่ 3.9%
ตามการบริโภคภาคเอกชนและท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวดี ท่ามกลางการส่งออก
ที่ไม่ค่อยสดใส และการจัดตั้งรัฐบาลที่มีความไม่แน่นอนสูง
วิธีใช้งาน Interactive PDF
กลับสู่หน้าสารบัญ ไปยังเนื้อหาที่ต้องการ
1
หน้า
แนวโน้มเศรษฐกิจ
ไตรมาส 2 ปี 2023
Q2/2023
ไปยัง Outlook เล่มอื่น ๆ เข้าสู่เว็บไซต์ EIC
หน้า หน้า หน้า
หน้า
4
Executive
summary 11 29
เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจไทย
เรื่องในเล่ม
ตลาดการเงิน 64
Outlook
Q2/2023
วงจรการขึ้นดอกเบี้ยโลกใกล้สิ้นสุด
แต่ผลกระทบดอกเบี้ยสูง
(Lag effects) ยังอยู่
หน้า
23
หน้า
33
ภาคท่องเที่ยวยังก้าวต่อ
หนุนภาพรวมเศรษฐกิจไทย
เศรษฐกิจไทยหลังเลือกตั้ง
ความไม่แน่นอนที่รออยู่
หน้า
53
4
Executive summary
SCB EIC ปรับลดคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลกในปี 2023 อยู่ที่ 2.1% เนื่องจากตัวเลขเศรษฐกิจต้นไตรมาส 2 ออกมาแย่กว่าที่คาดไว้ การฟื้นตัวของภาคการผลิตและภาคบริการ
ยังมีความแตกต่างกันสูง อีกทั้ง ความเสี่ยงด้านต่ามีมากขึ้นอาจกดดันการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกในช่วงที่เหลือของปี เช่น มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อมีแนวโน้มเข้มงวดขึ้นต่อเนื่อง
ธนาคารกลางสาคัญมีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยต่ออีกไม่เกิน 1-2 ครั้งในปีนี้ จากเงินเฟ้อพื้นฐานยังมีแนวโน้มปรับลดลงช้าตามภาวะตลาดแรงงานที่ยังตึงตัว อย่างไรก็ดี ด้วยเงินเฟ้อทั่วไปที่
ปรับลดลงเร็วกว่าคาด อีกทั้ง ดอกเบี้ยนโยบายที่แท้จริงทยอยกลับมาเป็นบวก วงจรการขึ้นดอกเบี้ยทั่วโลกจึงมีแนวโน้มใกล้สิ้นสุดลง อย่างไรก็ดี Quantitative tightening ของ AEs จะยัง
ทาให้สภาพคล่องในระบบการเงินโลกปรับลดลงต่อเนื่อง และคาดว่าจะส่งผลต่อตลาดการเงิน EMs ผ่านเงินทุนเคลื่อนย้ายไหลออกสุทธิและ Bond yields
SCB EIC คงประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2023 ที่ 3.9% จากแรงหนุนการบริโภคภาคเอกชนและภาคการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวต่างชาติคาดว่าจะอยู่ที่ 30 ล้านคน รายได้จาก
นักท่องเที่ยวต่างชาติมีโอกาสแตะ 1.27 ล้านล้านบาท จากการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เข้าใกล้ค่าเฉลี่ยในปี 2019 มากขึ้น SCB EIC ประเมินการส่งออกเป็นปัจจัยเสี่ยง
ด้านต่าที่สาคัญ โดยปรับลดคาดการณ์มูลค่าส่งออกสินค้าไทยปีนี้เหลือ 0.5% (เดิม 1.2%) จากแรงหนุนตลาดส่งออกจีนที่แผ่วกว่าคาด และความเสี่ยงด้านต่าของเศรษฐกิจโลกที่เพิ่มขึ้น
นอกจากนี้ เศรษฐกิจไทยมีโอกาสเผชิญกับเอลนีโญระดับอ่อนถึงรุนแรงในช่วงครึ่งหลังของปี คาดว่าสร้างความเสียหายในภาคเกษตรราว 40,000 ล้านบาท ความไม่แน่นอนทางการเมือง
เป็นความเสี่ยงในประเทศที่ต้องติดตาม โดยเฉพาะการจับขั้วรัฐบาลและนโยบายรัฐบาลใหม่
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปขยายตัวชะลอลงมากตามราคาพลังงานในประเทศที่ปรับลดลงมาก แต่ยังมีความไม่แน่นอนจากมาตรการอุดหนุนราคาพลังงานภาครัฐ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะ
ชะลอลงมาอยู่ที่ 1.7% แต่ยังอยู่ในระดับสูงเทียบจากอดีต สะท้อนการทยอยส่งผ่านต้นทุนจากผู้ผลิตสู่ราคาผู้บริโภคและแรงกดดันเงินเฟ้อจากด้านอุปสงค์ในช่วงที่เศรษฐกิจไทยฟื้นตัว
เข้มแข็งขึ้น
SCB EIC คาดว่านโยบายการเงินไทยจะทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่องสู่ Terminal rate ที่ 2.5% ในไตรมาส 3 ตามแนวโน้มเศรษฐกิจไทยที่ขยายตัวต่อเนื่อง และเงินเฟ้อแม้จะกลับมา
อยู่ในกรอบ แต่ยังมีความเสี่ยงด้านสูงจากการส่งผ่านต้นทุนและแรงกดดันเงินเฟ้อด้านอุปสงค์ ภาวะการเงินไทยจึงมีแนวโน้มตึงตัวต่อเนื่อง ในระยะสั้นเงินบาทจะยังเผชิญแรงกดดันด้าน
อ่อนค่า เนื่องจากเงินดอลลาร์สหรัฐยังมีแนวโน้มแข็งค่าและเงินบาทได้รับแรงกดดันเพิ่มเติมจากเงินหยวนอ่อนค่า คาดว่าเงินบาทจะปรับแข็งค่าขึ้นไปอยู่ที่ 32-33 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
ณ สิ้นปีนี้ จากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย ความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่จะปรับดีขึ้นหลังความไม่แน่นอนทางการเมืองลดลง และเงินดอลลาร์สหรัฐที่จะกลับมาอ่อนค่าหลัง Fed
หยุดขึ้นดอกเบี้ย
5
ในปี 2023 เงินบาทมีแนวโน้มกลับมาแข็งค่าขึ้นตามการฟื้นตัว
ของเศรษฐกิจไทย ส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดกลับมาเกินดุล
ในปีนี้ ความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่ปรับดีขึ้น และการกลับมา
อ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐหลัง Fed หยุดการขึ้นดอกเบี้ย
โดยคาดว่าค่าเงินบาทอยู่ที่ 32-33 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
ณ สิ้นปี 2023
SCB EIC คงประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2023 ที่ 3.9% ตามการบริโภคภาคเอกชน ภาคท่องเที่ยวและภาคบริการที่ฟื้นตัวดี ท่ามกลางการส่งออกที่ยังดูไม่สดใส และการจัดตั้งรัฐบาลที่มีความไม่แน่นอน
เป็นประเด็นต้องจับตา
Key forecasts
GDP
(%YOY)
2022 2023F
2.6 3.9 1.25 2.50
อัตราแลกเปลี่ยน (ณ สิ้นปี)
(THB/USD)
34.6 32-33
2022 2023F 2022 2023F
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (ณ สิ้นปี)
(%)
(2.00)
(3.9) (32-33)
เศรษฐกิจไทยปี 2023
ภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชนยังคงเป็นปัจจัยหลักขับเคลื่อน
เศรษฐกิจไทยตลอดปี 2023 ขณะที่ภาคการส่งออกคาดว่าจะขยายตัวได้เพียง
0.5% ด้านอัตราเงินเฟ้อทั่วไปขยายตัวชะลอลงมากตามราคาพลังงานใน
ประเทศที่ปรับลดลง แต่ยังมีความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของมาตรการ
อุดหนุนราคาพลังงานภาครัฐ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะชะลอลงแต่ยัง
อยู่ในระดับสูง สะท้อนการทยอยส่งผ่านต้นทุนจากผู้ผลิตสู่ราคาผู้บริโภคและ
แรงกดดันเงินเฟ้อจากด้านอุปสงค์ในช่วงที่เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวเข้มแข็งขึ้น
ทั้งนี้ความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องติดตาม โดยเฉพาะ
การจับขั้วรัฐบาลและนโยบายรัฐบาลใหม่
คณะกรรมการนโยบายการเงินมีแนวโน้มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย
นโยบายอีก 2 ครั้ง ครั้งละ 25 BPS ในการประชุมเดือน ส.ค.
และเดือน ก.ย. นี้ สู่ Terminal rate ที่ 2.5% เพื่อให้นโยบาย
การเงินปรับเข้าสู่ระดับที่สอดคล้องกับแนวโน้มการขยายตัวของ
เศรษฐกิจไทยอย่างมีศักยภาพ (Normalization) และอัตราเงิน
เฟ้ออยู่ในกรอบเป้าหมายที่ 1-3%
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, สานักงานสถิติแห่งชาติ, สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, กระทรวงการคลัง, ธนาคารแห่งประเทศไทย, กระทรวงพาณิชย์,
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, CEIC และ Bloomberg
(คาดการณ์ครั้งก่อน)
6
ปัจจัยบวก
ปัจจัยลบ
ปัจจัยเสี่ยง
เศรษฐกิจไทยปี 2023
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติยังคงอยู่ที่ 30 ล้านคน ขณะที่รายได้จากนักท่องเที่ยว
ต่างชาติมีโอกาสแตะ 1.27 ล้านล้านบาท
อัตราการว่างงานที่ลดลงเข้าใกล้ระดับก่อนวิกฤติมาก
ระดับค่าครองชีพที่ชะลอตัวลง
ภาคการส่งออกสินค้าที่มีแนวโน้มชะลอตัวลงมากกว่าคาดจากอุปสงค์โลกที่อ่อนแอ
เม็ดเงินสนับสนุนเศรษฐกิจของภาครัฐมีแนวโน้มลดลงในช่วงจัดตั้งรัฐบาลใหม่
ภาคเกษตรไทยมีโอกาสเผชิญกับเอลนีโญระดับอ่อนถึงรุนแรงในช่วงครึ่งหลังของปี
การเมืองจะยังมีความไม่แน่นอนสูงจากการจัดตั้ง
รัฐบาลและนโยบายต่าง ๆ
ภาวะเงินเฟ้อที่อาจเร่งตัวขึ้นได้อีกครั้ง และอาจ
ส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชนและ
ต้นทุนในการประกอบธุรกิจ
ความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์โลกที่มีอยู่มาก เช่น
รัสเซีย-ยูเครน หรือข้อพิพาทกรณีจีน-ไต้หวัน การ
แบ่งขั้วทางเศรษฐกิจระหว่างจีนและสหรัฐฯ ซึ่งอาจ
ส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานโลกและการส่งออก
สินค้าของไทย
หนี้ครัวเรือนกลับมาเร่งตัว
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, สานักงานสถิติแห่งชาติ, สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, กระทรวงการคลัง, ธนาคารแห่งประเทศไทย, กระทรวงพาณิชย์,
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, CEIC และ Bloomberg
7
อัตราเงินเฟ้อ
หดตัว ขยายตัว
การเติบโตทางเศรษฐกิจ ทิศทางนโยบายการเงิน
SCB EIC ปรับลดคาดการณ์ GDP โลกในปี 2023 มาอยู่ที่ 2.1% จากตัวเลขทางเศรษฐกิจเริ่มออกมาแย่กว่าคาด อีกทั้ง ความเสี่ยงด้านต่ามีมากขึ้น
เศรษฐกิจโลกปี 2023
ลดลง เพิ่มขึ้น ตึงตัว ผ่อนคลาย
SCB EIC ปรับลดคาดการณ์ GDP โลกในปี 2023 มาอยู่ที่ 2.1%
จากตัวเลขทางเศรษฐกิจเริ่มออกมาแย่กว่าคาด อีกทั้ง ความเสี่ยง
ด้านต่ามีมากขึ้น โดยเศรษฐกิจโลกในระยะปานกลางมีแนวโน้ม
เติบโต 3% ต่าสุดในรอบ 30 ปี
ความเสี่ยงด้านต่า เช่น มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อที่เข้มงวดขึ้น
ความสามารถในการทากาไรของภาคธุรกิจลดลง ความเชื่อมั่นทาง
เศรษฐกิจอยู่ในระดับต่า และภาคการผลิตอ่อนแอตามอุปสงค์
เงินเฟ้อพื้นฐานยังมีแนวโน้มปรับลดลงช้าตามตลาดแรงงานที่ยัง
ตึงตัว อย่างไรก็ดี เงินเฟ้อทั่วไปปรับลดลงเร็วอีกทั้ง ดอกเบี้ย
นโยบายที่แท้จริงทยอยกลับเป็นบวก วงจรการขึ้นดอกเบี้ยทั่วโลก
จึงมีแนวโน้มใกล้สิ้นสุด
อย่างไรก็ดี Quantitative tightening ของ AEs จะยังทาให้สภาพ
คล่องในระบบการเงินโลกปรับลดลงต่อเนื่อง และคาดว่าจะส่งผล
ต่อตลาดการเงิน EMs ผ่านเงินทุนเคลื่อนย้ายและ Bond yields
Fed มีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยอย่างมากอีก 1 ครั้งโดยคาดว่าอาจปรับขึ้น
ในเดือน ก.ค. สู่ระดับ 5.25-5.5% และคงดอกเบี้ยไว้ตลอดปีนี้
ECB มีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ย อีก 2 ครั้ง สู่3.75% ขณะที่ BOE อาจขึ้น
ดอกเบี้ยถึง 3 ครั้งสู่ 5.25% เนื่องจากยุโรปเผชิญแรงกดดันเงินเฟ้อสูง
กว่าสหรัฐฯ
PBoC จะคงนโยบายการเงินในระดับผ่อนคลายในปี 2023 เนื่องจาก
เศรษฐกิจยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และอัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับต่า ขณะที่ภาค
อสังหายังคงหดตัวทั้งยอดขายและการก่อสร้าง
BOJ มีแนวโน้มปรับนโยบาย YCC เพิ่มเติมในเดือน ก.ค. คาดว่าจะ
เปลี่ยนมาควบคุมอัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะสั้นขึ้น
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC
8
การเติบโตของเศรษฐกิจปี 2021 2022 และ 2023
หน่วย : %YOY
5.5 5.0
1.9
7.8
2.1
3.5
1.4
3.0
1.4
0.6 1.2
5.7
สหรัฐฯ ยูโรโซน ญี่ปุ่น จีน
2021 2022 2023F
ปัจจัยสนับสนุน
ปัจจัยเสี่ยง
การฟื้นตัวต่อเนื่องของภาคบริการ
ตลาดแรงงานมีความยืดหยุ่นสูง ช่วยสนับสนุนการบริโภค
ราคาสินค้าโภคภัณฑ์มีแนวโน้มปรับลดลง ช่วยลด
แรงกดดันด้านราคาที่จะกระทบกาลังซื้อผู้บริโภค
มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อเข้มงวดขึ้น
ความสามารถในการทากาไรของภาคธุรกิจลดลง
ความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับต่า
ภาคการผลิตอ่อนแอ ตามภาวะอุปสงค์
เงินเฟ้อพื้นฐานชะลอลงช้า กดดันให้ธนาคารกลางอาจต้องขึ้น
ดอกเบี้ยต่อและคงไว้นาน
แรงหนุนเศรษฐกิจจาก EMs น้อยลง
ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ยืดเยื้อ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC
9
การเมือง ภูมิรัฐศาสตร์
หมวดความเสี่ยงของ
เศรษฐกิจโลกปี 2023
เศรษฐกิจ การเงิน
สงคราม การทหาร
สังคม
มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อทั่วโลก
มีแนวโน้มเข้มงวดขึ้นต่อเนื่อง
1
1 2 3
หมายเหตุ
คือ ความเสี่ยงสาคัญของเศรษฐกิจโลก
ที่มีโอกาสเกิดมากและผลกระทบสูง
3 อันดับในปี 2023
แผนที่ความเสี่ยงเศรษฐกิจโลกปี 2023
ความสามารถในการทากาไรของภาคธุรกิจลดลง
จากอุปสงค์ที่ลดลง เงินเฟ้อและดอกเบี้ยสูง
วิกฤตพลังงานอาจรุนแรงอีกครั้ง
ในช่วงปลายปีตามปัจจัยฤดูกาล
ภาคการผลิตจะยังอ่อนแอ
ตามอุปสงค์ที่ลดลง
พื้นที่การคลังของรัฐบาลท้องถิ่นที่เริ่มมีจากัด
อาจกระทบต่อการใช้มาตรการกระตุ้นทางการคลัง
ตลาดตราสารหนี้โลกอาจเผชิญแรงกดดัน
หาก BOJ ดาเนินนโยบายการเงินผ่อนคลายน้อยลง
ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ-จีน ยังตึงเครียดจากการแข่งขันด้าน
เทคโนโลยี อาจขยายสู่ประเด็นความมั่นคงของชาติ วิกฤตนิวเคลียร์
ในอิหร่าน
ข้อพิพาท
จีน-อินเดีย
สงคราม
ไต้หวัน-จีน-สหรัฐฯ
สงคราม
รัสเซีย-ยูเครน
2
3
ข้อจากัดทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีเพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ปี 2020 เป็น
อุปสรรคต่อการค้าข้ามพรมแดนและห่วงโซ่อุปทานของโลกในอนาคต
วิกฤตขาดแคลนอาหารรุนแรงขึ้นจากการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การพัฒนาสกุลเงินดิจิทัลของธนาคารกลางในหลายประเทศ
อาจส่งผลต่อเสถียรภาพระบบการเงินโลก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC
10
June 15 BOE meeting with Monetary Policy Report การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) พร้อมกับรายงานนโยบายการเงิน
ประเด็นที่ต้องจับตา
ลาดับเหตุการณ์สาคัญของเศรษฐกิจโลกปี 2023
July 27 ECB meeting with Macroeconomic projections การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป (ECB) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจยูโรโซน
July 27-28 BOJ meeting with Outlook Report การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจญี่ปุ่น
August 3 BOE meeting with Monetary Policy Report การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) พร้อมกับรายงานนโยบายการเงิน
September BIS Quarterly Review การประเมินผลการดาเนินการของระบบธนาคารและตลาดการเงินโลก โดย Bank of International Settlements
September 14 ECB meeting with Macroeconomic projections การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป (ECB) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจยูโรโซน
September 19-20 FOMC meeting with Macroeconomic projections การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารสหรัฐฯ (Fed) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจสหรัฐฯ
October 26 ECB meeting with Macroeconomic projections การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป (ECB) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจยูโรโซน
October 30-31 BOJ meeting with Outlook Report การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจญี่ปุ่น
November 2 BOE meeting with Monetary Policy Report การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) พร้อมกับรายงานนโยบายการเงิน
December BIS Quarterly Review การประเมินผลการดาเนินการของระบบธนาคารและตลาดการเงินโลก โดย Bank of International Settlements
December 12-13 FOMC meeting with Macroeconomic projections การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารสหรัฐฯ (Fed) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจสหรัฐฯ
December 14 ECB meeting with Macroeconomic projections การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป (ECB) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจยูโรโซน
ที่มา : ข้อมูลจากธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed), ธนาคารกลางยุโรป (ECB), ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) และธนาคารเพื่อการชาระหนี้ระหว่างประเทศ (BIS)
เศรษฐกิจโลก
เศรษฐกิจโลกเปราะบาง
ท่ามกลางความเสี่ยงด้านต่าที่เพิ่มขึ้น
13
SCB EIC ปรับลดคาดการณ์ GDP โลกในปี 2023 มาอยู่ที่ 2.1% จากตัวเลขทางเศรษฐกิจเริ่มออกมาแย่กว่าคาด
อีกทั้งความเสี่ยงด้านต่ามีมากขึ้น โดยเศรษฐกิจโลกในระยะปานกลางมีแนวโน้มเติบโต 3% ต่าสุดในรอบ 30 ปี
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg
คาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดย SCB EIC
หน่วย : %YOY
Citi Economic Surprise Index
หน่วย : ดัชนี, < 0 = ตัวเลขเจริงออกมาแย่กว่าที่ตลาดคาด (@June 7th )
Global Medium-term GDP Forecast by IMF
หน่วย : 5 years GACR
GDP growth 2022
2023 Forecast
Mar Jun
Global 3.0% 2.3% 2.1%
US 2.1% 1.6% 1.4%
Euro 3.5% 0.8% 0.6%
Japan 1.4% 1.2% 1.2%
China 3.0% 5.5% 5.7%
India 6.7% 6.0% 6.4%
CLMV 6.4% 5.4% 4.6%
ASEAN4 6.0% - 4.5%
Latin America 3.5% - 1.5%
-100
-50
0
50
100
150
Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 Jun-23
Global EZ US China
UK Japan EMs
-4% 3% 6%
• การฟื้นตัวต่อเนื่องของภาคบริการ
• ตลาดแรงงานมีความยืดหยุ่นสูง ช่วยสนับสนุนการบริโภค
• ราคาสินค้าโภคภัณฑ์มีแนวโน้มปรับลดลง ช่วยลด
แรงกดดันด้านราคาที่จะกระทบกาลังซื้อผู้บริโภค
Upside
• มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อเข้มงวดขึ้น
• ความสามารถในการทากาไรของภาคธุรกิจลดลง
ความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับต่า
• ภาคการผลิตอ่อนแอ ตามภาวะอุปสงค์
• เงินเฟ้อพื้นฐานชะลอลงช้า กดดันให้ธนาคารกลางอาจต้องขึ้น
ดอกเบี้ยต่อและคงไว้นาน ทาให้สภาพคล่องในระบบตึงตัว
• แรงหนุนเศรษฐกิจจาก EMs น้อยลง
• ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ยืดเยื้อ
Downside
• การแบ่งขั้วทางเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบด้านลบต่อห่วงโซ่อุปทานโลก
• เศรษฐกิจ EMs ขนาดใหญ่มีแนวโน้มเติบโตช้าลง เช่น จีน เกาหลีใต้
• กาลังแรงงานเติบโตช้าลง ตามการเติบโตของประชากรโลกที่ลดลง
• บาดแผลทางเศรษฐกิจระยะยาวจากวิกฤติ COVID-19
• IMF ประมาณการการเติบโตของ GDP โลกระยะปานกลาง (5 ปี) 3% ต่าสุด
นับตั้งแต่ปี 1990 ที่มีการจัดทาประมาณการณ์ดังกล่าว และต่ากว่าค่าเฉลี่ย
PRE-COVID (2010-2019) ที่ 4.1% ค่อนข้างมาก
Stagnant medium-term growth
14
มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อมีแนวโน้มเข้มงวดขึ้น ส่งผลให้การบริโภคครัวเรือนและการลงทุนของภาคธุรกิจ
ที่เคยเป็นแรงหนุนสาคัญของเศรษฐกิจโลกในช่วงก่อนหน้ามีแนวโน้มชะลอตัวลงตาม
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
หมายเหตุ: C&I loans = Commercial and industrial loans
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Fed, Bloomberg
มาตรฐานการให้สินเชื่อต่าง ๆ ของธนาคารใน US เข้มงวดขึ้น
หน่วย : ดัชนี (C&I = Commercial and industrial loans)
มาตรฐานการให้สินเชื่อและความต้องการสินเชื่อธุรกิจใน EA
หน่วย : Net Percent
การลงทุนภาคเอกชน (Private Nonresidential Fixed Investment)
หน่วย : %YOY
-40
-20
0
20
40
60
80
Q1-20
Q3-20
Q1-21
Q3-21
Q1-22
Q3-22
Q1-23
C&I Loans to Large/Middle firms
C&I Loans to small firms
Credit card loans
-25
0
25
50
Mar-19
Aug-19
Jan-20
Jun-20
Nov-20
Apr-21
Sep-21
Feb-22
Jul-22
Dec-22
May-23
Change in Credit Standards Lending to Business (last 3m)
Expected Change in Demand for Loans to Business
-20%
-15%
-10%
-5%
0%
5%
10%
15%
20%
Jan-18
Jul-18
Jan-19
Jul-19
Jan-20
Jul-20
Jan-21
Jul-21
Jan-22
Jul-22
Jan-23
US
EU
Tighter credit
standard
Tighter credit
standard
Lower credit
demand
15
ความสามารถในการทากาไรของภาคธุรกิจมีแนวโน้มถูกกดดันต่อเนื่อง จากอุปสงค์ที่ลดลง เงินเฟ้อและดอกเบี้ยสูง
ความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจที่อยู่ในระดับต่าลง จะเป็นปัจจัยกดดันเศรษฐกิจโลกในช่วงครึ่งหลังของปี
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Fed, Bloomberg, J.P. Morgan, The Conference Board และ ECB
ดัชนีความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจของสหรัฐและยุโรป
หน่วย : ดัชนี, EU: 100 = LT average, US: 1985=100
กาไรภาคธุรกิจไม่รวมภาคการเงิน (US Corporate profit)
หน่วย : %QOQ
-5.3%
-15%
-5%
5%
15%
25%
35%
Q1-20
Q2-20
Q3-20
Q4-20
Q1-21
Q2-21
Q3-21
Q4-21
Q1-22
Q2-22
Q3-22
Q4-22
Q1-23
ดัชนีกาไรภาคธุรกิจไม่รวมภาคการเงิน (MSCI EU Corporate profit)
หน่วย : %
5.8
0
2
4
6
8
10
Jan-20
May-20
Sep-20
Jan-21
May-21
Sep-21
Jan-22
May-22
Sep-22
Jan-23
May-23
60
80
100
120
140
Jan-18 May-19 Sep-20 Jan-22 May-23
EU Economic Sentiment Indicator (ESI)
US Consumer Confidence Index (CCI)
US: CCI 6 Months Expectations
16
การฟื้นตัวในภาคบริการและภาคการผลิตจะยังแตกต่างกันมาก ตามภาวะอุปสงค์ในภาคบริการและการท่องเที่ยว
ที่ขยายตัวได้ดี ขณะที่อุปสงค์สินค้ายังหดตัว
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ J.P. Morgan
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของโลก
หน่วย : ดัชนี, > 50 = อยู่ในภาวะขยายตัว, ปรับฤดูกาล
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของโลก (แบ่งตามกิจกรรม)
หน่วย : ดัชนี, > 50 = อยู่ในภาวะขยายตัว, ปรับฤดูกาล
40
45
50
55
60
65
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022
2023
Manufacturing Service
2018
avg
2019
avg
2022 2023
Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr May
All industry PMI 53.6 51.6 49.3 49.6 49.0 48.0 48.2 49.7 52.1 53.4 54.2 54.4
Manufacturing PMI
Output 53.1 50.3 49.4 48.7 48.7 47.8 48.5 48.9 50.7 50.6 50.8 51.5
Suppliers' delivery times 45.6 49.5 44.8 45.7 46.5 47.3 47.8 49.0 51.0 52.6 53.3 53.5
New orders 52.9 49.8 48.2 47.7 46.9 46.7 46.4 47.7 49.3 49.5 49.4 49.3
Export orders 50.8 48.8 47.0 45.9 46.2 46.2 46.2 47.4 48.3 47.7 48.4 47.3
Service PMI
New business 54.4 52.4 50.3 50.5 49.9 48.2 48.2 50.6 52.0 53.7 54.6 55.4
อุปทานคอขวดภาคการผลิต
คลี่คลายใกล้ระดับ
Pre-pandemic
อุปสงค์สินค้า
ยังต่ากว่า Pre-pandemic
& หดตัวต่อเนื่อง
อุปสงค์ภาคบริการ
ขยายตัวต่อเนื่อง &
สูงกว่า Pre-pandemic
ภาพรวมเศรษฐกิจฟื้นตัว
ต่อเนื่อง จากภาคบริการ
ที่ฟื้นตัวดี ขณะที่ภาคการ
ผลิตยังอ่อนแอมาก
17
นอกจากนี้ ราคาพลังงานโลกจะได้รับแรงกดดันจากความกังวลภาวะเศรษฐกิจถดถอยมากขึ้น และการฟื้นตัวในภาค
การผลิตของจีนที่ช้ากว่าคาด ท่ามกลางความพยายามในการปรับลดกาลังการผลิตน้ามันเพิ่มเติมของกลุ่ม OPEC+
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ราคาน้ามันดิบ Brent
หน่วย : USD/Barrel
ราคาปิโตรเลียมเหลว (LPG) Aramco
หน่วย : USD/Ton
ราคาก๊าซธรรมชาติ Henry Hub
หน่วย : USD/MMBtu
0
2
4
6
8
10
2018 2019 2020 2021 2022 2023
0
200
400
600
800
1000
1200
2018 2019 2020 2021 2022 2023
0
20
40
60
80
100
120
140
2018 2019 2020 2021 2022 2023
5-yr avg 2021 2022 2023F
2.8 3.7 6.6 2.7
5-yr avg 2021 2022 2023F
57.1 70.5 100.9 80
5-yr avg 2021 2022 2023F
429.7 645.5 713.5 637
• กลุ่ม OPEC+ ขยายระยะเวลาสิ้นสุดของการประกาศลดกาลังการ
ผลิตแบบสมัครใจ 1.66 ล้านบาร์เรล/วัน ไปเป็นปี 2024
(เดิมสิ้นสุดปี 2023)
• อย่างไรก็ตาม ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก ยังเป็นปัจจัย
กดดันสาคัญต่ออุปสงค์น้ามันดิบโลก
• Saudi Aramco ลดราคาโพรเพนใน มิ.ย. ลง 105 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน เดือน
ต่อเดือนเป็น 450 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน เป็นผลมาจากอุปทานที่เพียงพอ
ในตะวันออกกลางและสหรัฐฯและความต้องการปิโตรเคมีที่ต่าจากจีนต่ากว่าคาด
เนื่องจากการฟื้นตัวของจีนในภาคอุตสาหกรรม เกิดขึ้นค่อนข้างช้า
Manufacturing PMI ลดลงสู่ระดับต่าสุดในรอบ 5 เดือนที่ 48.8 ในเดือน พ.ค.
2023 จาก 49.2 ในเดือน เม.ย. ซึ่งขาดการประมาณการของตลาดที่ 49.4
• อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นของโรง PDH ที่ต้องใช้ Propane เป็นวัตถุดิบ มีแผน
ที่จะเพิ่มกาลังการผลิตเป็นอย่างมากในปีนี้ จึงทาให้ราคา Propane อาจกลับมา
อยู่ในระดับสูงได้อีกในช่วงครึ่งปีหลัง
• คาดว่า ตลาดก๊าซฯ จะคลายความตึงตัวต่อเนื่องตั้งแต่ต้นปีเพราะความกังวล
เศรษฐกิจถดถอย แต่ในไตรมาส 3 ปี 2023 นี้ ราคาอาจปรับขึ้นบ้าง เนื่องจากมี
อุปสงค์เพิ่มขึ้นจากประเทศที่ปีก่อนหน้านี้ลดการนาเข้าลงเพราะสู้ราคาสูงไม่ไหว
และภาคการผลิตของจีน แต่ยังคงต่ากว่าคาด
• ทว่าเมื่อเริ่มเข้าช่วงหน้าหนาวในไตรมาส 4 ปี 2023 ราคาจะเริ่มปรับระดับสูง
อีกครั้งเพื่อเติมก๊าซฯ เข้า Storage เตรียมพร้อมรับมือกับอากาศหนาว คาดว่า
จะอยู่ในกรอบ 3.5-4 ดอลลาร์สหรัฐ/mmbtu (แต่ถ้าหากอากาศหนาวกว่าคาด
ราคาอาจจะกลับเพิ่มสูงมากได้)
หมายเหตุ : 5-year period = 2015-2019; ข้อมูลและการวิเคราะห์จากสถานการณ์ ณ เดือน มิ.ย. 2023
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, TradingView, Goldman Sachs, US EIA, JP Morgan และสานักข่าวต่าง ๆ
18
ในการประชุม G-7 ล่าสุดมองว่า ปัญหาความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ที่มีโอกาสรุนแรงมากขึ้น และอาจเป็น
แรงกดดันในอนาคตต่อประเทศที่ยังมีท่าทีเป็นกลาง
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ International Monetary Fund (IMF) WEO April 2023, BBC และ Center For Strategic & International Studies (CSIS)
ดัชนีความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์และจานวนการกล่าวถึงการย้ายฐานการผลิตกลับประเทศ (Reshoring)
หน่วย : ดัชนี หน่วย : จานวนครั้งที่กล่าวถึงการย้ายฐาน
การผลิตกลับประเทศในรายงานผล
ประกอบการ (Earnings calls)
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
0
20
40
60
80
100
120
140
160
180
2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022
Geopolitical Risk
Interest in Reshoring* (แกนขวา)
Higher geopolitical risk/higher reshoring interest
สรุปการประชุม G-7 และนัยต่อนโยบายในอนาคต
• G-7 ตกลงจะเพิ่มแรงกดดันต่อรัสเซีย และลดการพึ่งพาพลังงาน
รัสเซีย เพื่อจากัดรายได้ของรัสเซียและลดความสามารถในการทา
สงครามกับยูเครน อีกทั้ง ยังเห็นว่ารัสเซียควรรับผิดชอบค่าใช้จ่าย
ในการฟื้นฟูยูเครน
• G-7 มองว่ากลุ่มประเทศตนพึ่งพาจีนมากไป โดยเฉพาะด้าน
การค้า จึงจะใช้มาตรการลดความเสี่ยง (De-risking) โดย
เสริมสร้างห่วงโซ่อุปทานของตนแทนสินค้านาเข้าสาคัญจากจีน
เช่น แร่ธาตุและเซมิคอนดักเตอร์ และเสริมสร้างโครงสร้าง
พื้นฐานดิจิทัลเพื่อป้องกันการแฮกและไม่ให้เทคโนโลยีรั่วไหลไปจีน
• จีนออกมาตอบโต้และแจ้งประเทศต่าง ๆ ไม่ให้ “สมรู้ร่วมคิดในการ
บีบบังคับทางเศรษฐกิจ” ของสหรัฐฯ และเรียกร้องให้กลุ่ม G-7
“หยุดรวมตัวกันเพื่อสร้างกลุ่มพิเศษ” ทั้งนี้จีนพยายามจะสร้าง
พันธมิตรกับประเทศอื่น เช่น เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมร่วมกับ
ประเทศเอเชียกลาง
• การประชุมครั้งนี้อาจทาให้ปัญหา Geopolitics มีโอกาสรุนแรงขึ้น
และเป็นแรงกดดันต่อประเทศอื่น ๆ ที่ยังเป็นกลางไม่เลือกข้าง
Note: *The interest in reshoring measures the frequency of mentions of reshoring, friend-shoring, or near-shoring in firms’ earnings calls
19
ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์เริ่มก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อการกระจายตัวของ FDI โดยเริ่มเห็น FDI
ไหลไปลงทุนในประเทศที่มียุทธศาสตร์ทางการเมืองระหว่างประเทศสอดคล้องกันมากขึ้น
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ International Monetary Fund (IMF) WEO April 2023
Foreign Direct Investment (FDI) ไหลไปลงทุนในประเทศที่มีแนวทางการเมืองสอดคล้องกัน
มากขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงห่วงโซ่อุปทานจากความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์
หน่วย : %การเปลี่ยนแปลงโดยรวม (aggregate change) ในช่วง 20Q2-22Q4 เทียบ 15Q1-20Q1
FDI สหรัฐฯ ไหลไปลงทุนมากขึ้นในประเทศที่มียุทธศาสตร์ทางการเมืองระหว่างประเทศเป็นมิตรกัน
หน่วย : %การเปลี่ยนแปลงโดยรวม (aggregate change) ในช่วง 20Q2-22Q4 เทียบกับ 15Q1-20Q1
• FDI ไหลไปบางประเทศชะลอลง สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ เช่น FDI
ไปจีน โดยเฉพาะอุตฯ เซมิคอนดักเตอร์ ปรับลดลงตามยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ ที่กีดกันการเข้าถึง
เทคโนโลยีขั้นสูงของจีน
• การกระจายตัวของ FDI เช่นนี้จะกระทบเศรษฐกิจหลายประเทศ โดยเฉพาะตลาดเกิดใหม่และ
เศรษฐกิจกาลังพัฒนา ซึ่งต้องเผชิญข้อจากัดจากการแบ่งขั้วของเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่เพิ่มขึ้น
ซึ่งเป็นแหล่งต้นทางของ FDI
-50
-25
0
25
50
75
100
CRI
COL
IND
CAN
KOR
TWN
MYS
SGP
AUS
MEX
BRA
VNM
JPN
ARG
PHL
HKG
CHN
FDI ที่ไหลไปลงทุนอุตฯ เซมิคอนดักเตอร์ (แยกกลุ่มประเทศ)
หน่วย : ดัชนี (4Q moving average, 2015Q1 = 100)
0
50
100
150
200
250
2015q1
2015q3
2016q1
2016q3
2017q1
2017q3
2018q1
2018q3
2019q1
2019q3
2020q1
2020q3
2021q1
2021q3
2022q1
2022q3
US Europe China Asia Ex. China
20
SCB EIC ปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในปี 2023 เป็น 1.4% (เดิม 1.6%)
จากภาวะสินเชื่อที่มีแนวโน้มตึงตัวกว่าคาด ทั้งนี้คาดว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะสามารถ Soft landing ได้
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg และ ISM
US
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อสะท้อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มชะลอลง
หน่วย : ดัชนี (มากกว่า 50 หมายถึง ขยายตัวจากเดือนก่อน)
จานวนการ Layoff พนักงาน (U.S. Challenger Job Cuts) เพิ่มขึ้น
หน่วย : แสนตาแหน่ง
Housing market เริ่ม Stabilize และคาดว่าผ่านจุดต่าสุดไปแล้ว
หน่วย : พันหน่วย หน่วย : ดัชนี
มาตรฐานการให้สินเชื่อเข้มงวดขึ้น มักเห็นตลาดแรงงานอ่อนแอตามมา
หน่วย : พันตาแหน่ง หน่วย : %
46.9
50.3
40
45
50
55
60
Nov-22
Dec-22
Jan-23
Feb-23
Mar-23
Apr-23
May-23
ISM Manufacturing ISM Services
0.8
0.0
0.5
1.0
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
การประกาศปลดพนักงานใน 5 เดือนแรกของปี 2023
สูงกว่าปี 2022 ทั้งปีแล้ว (1 ใน 3 มาจาก Tech sector)
-40
-10
20
50
80
-10,000
-7,000
-4,000
-1,000
2,000
1990
1993
1996
1999
2002
2005
2008
2011
2014
2017
2020
2023
Employment (Nonfarm Payrolls)
Net % of banks tighten standard for C&I loans (RHS)
0
30
60
90
500
600
700
800
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
New home sales
Homebuilder sentiment (RHS)
• เศรษฐกิจ US ได้แรงหนุนจากการใช้จ่ายและรายได้
ผู้บริโภคที่ขยายตัวต่อเนื่อง ช่วยชดเชยการลงทุน
ภาคธุรกิจและภาคอสังหาฯ ที่ลดลง
• การใช้จ่ายผู้บริโภคจะยังเป็นปัจจัยหนุนGDPในไตรมาส2
ต่อเนื่อง จากรายได้ผู้บริโภคที่ยังขยายตัวในสูง
ตามตลาดแรงงานตึงตัว
U.S. economy in 2023H1
• สถานการณ์ Banking stress เริ่มกลับเข้าสู่ภาวะปกติ
มากขึ้น แต่คาดว่าความตึงเครียดที่เกิดขึ้นจะยังส่งผล
ให้ภาวะสินเชื่อตึงตัวขึ้นต่อ จะเป็นปัจจัยกดดัน
เศรษฐกิจสหรัฐฯ ในช่วงครึ่งหลังของปี
• ภาวะสินเชื่อและภาวะการเงินที่ตึงตัว รวมถึงเงินออม
ที่เริ่มลดลง จะทาให้การใช้จ่ายผู้บริโภคและการลงทุน
ภาคธุรกิจชะลอลง แต่คาดว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ
จะ Soft landing โดยเงินเฟ้อมีแนวโน้มลดลง ขณะที่
เศรษฐกิจจะยังขยายตัวได้เล็กน้อยในช่วงที่เหลือของปี
U.S. economy in 2023H2
Tighter credit leads
to weaker job market.
Tighter
21
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, S&P Global’s PMI และ Eurostat
การเติบโตของเศรษฐกิจยุโรป
หน่วย : %QOQ
การเติบโตของเศรษฐกิจสาคัญในยุโรป
หน่วย : %QOQ
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของยูโรโซน
หน่วย : ดัชนี, > 50 = อยู่ในภาวะขยายตัว, ปรับฤดูกาล
Euro zone
-15
-5
5
15
1Q2018
3Q2018
1Q2019
3Q2019
1Q2020
3Q2020
1Q2021
3Q2021
1Q2022
3Q2022
1Q2023
EA19 EU27 Ex UK
EA19 (%YOY) EU27 Ex UK (%YOY)
-3
-2
-1
0
1
2
3
4
1Q2021
2Q2021
3Q2021
4Q2021
1Q2022
2Q2022
3Q2022
4Q2022
1Q2023
Germany France Italy
Technical Recession
40
45
50
55
60
65
Sep-20
Jan-21
May-21
Sep-21
Jan-22
May-22
Sep-22
Jan-23
May-23
Service PMI Manufacturing PMI
Composite PMI
• ภาคการผลิตหดตัวรุนแรงขึ้นต่อเนื่อง และยังไม่มีปัจจัยบวกสนับสนุนในระยะต่อไป (อุปสงค์ยังไม่ฟื้นตัว อุปทานคอขวดคลี่คลาย
ไปมากแล้ว จึงคาดว่าผลมีไม่มากในระยะต่อไป)
• สถานการณ์ขาดแคลนพลังงานอาจรุนแรงขึ้นในไตรมาส 4 ตามอุปสงค์ที่จะสูงขึ้นตามฤดูกาล ขณะที่อุปทานยังตึงตัว
• ปัจจัยบวกของเศรษฐกิจมาจากการท่องเที่ยว จะเข้า Peak season ในช่วงไตรมาส 3
• แม้เศรษฐกิจจะอ่อนแอมาก แต่คาดว่าจะหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยทางเทคนิคได้ในปีนี้ เนื่องจากเศรษฐกิจมีความหยืดหยุ่นสูง
และสามารถหลีกเลี่ยง Technical recession ในช่วงที่เศรษฐกิจเปราะบางมากกว่าปัจจุบันได้ (3Q2022-4Q2022)
เศรษฐกิจยูโรโซนในช่วงครึ่งหลังของปี จะเติบในอัตราชะลอลงมากเทียบกับครึ่งแรกของปี
SCB EIC ปรับลดคาดการณ์ GDP ยูโรโซนเป็น 0.6% (เดิม 0.8%) จากตัวเลข GDP ไตรมาส 1 ที่ต่ากว่าคาด เศรษฐกิจสาคัญ เช่น เยอรมนีเข้าสู่
ภาวะถดถอยทางเทคนิคแล้ว ภาคการผลิตยังไม่ผ่านจุดต่าสุด โดยเศรษฐกิจในช่วงครึ่งหลังของปี จะชะลอลงเทียบกับช่วงครึ่งแรกของปี
22
SCB EIC ปรับเพิ่มคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนเป็น 5.7% (เดิม 5.5%) จากภาคบริการที่ฟื้นตัว
ต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ภาคส่วนอื่นยังเปราะบาง สะท้อนให้เห็นการฟื้นตัวที่ไม่เท่าเทียมกัน
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูล CEIC และ China National Bureau of Statistics
China
เศรษฐกิจจีนโดยรวมขยายตัวแข็งแกร่งขึ้น แต่ฟื้นตัวจากภาคบริการเป็นหลัก แรงส่งจากการเปิดประเทศเริ่มมีสัญญาณแผ่วลง
ตัวชี้วัดเศรษฐกิจจีน (รูปบน) และดัชนีผลผลิตภาคบริการและอุตสาหกรรมจีน (รูปล่าง)
หน่วย : %YOY (นอกจากระบุไว้)
ดัชนี PMI (ของ National Bureau of Statistics)
หน่วย : ดัชนี (>50 สะท้อนการขยายตัวจากเดือนที่แล้ว)
Indicators 2022 (avg.) Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23
Unemployment rate (%) 5.6% 5.5% 5.6% 5.3% 5.2%
Consumer confidence (index) 95.0 91.2 94.7 94.9
Retail sales -1.6 10.6 18.4
Exports, USD 7.8 -10.7 -1.6 14.3 8.0
Fixed asset investment 5.7 5.5 5.5 -0.7 -17.4
Real estate: floor space started -36.9 -9.4 -9.4 -29.0 -28.3
Real estate: floor space sold -23.5 -3.6 -3.6 -3.5 -11.8
-15
-5
5
15
25
Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23
Services Industrial
SCB EIC ประเมินว่า เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้มขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นที่ 5.7% ในปีนี้ ตามการฟื้นตัวของภาคบริการที่ได้ประโยชน์จาก Pent-up demand ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมยังคงได้รับผลกระทบจากอุปสงค์ที่ชะลอตัว
การฟื้นตัวในระยะต่อไปมีแนวโน้มชะลอตัวจากแรงส่งการเปิดประเทศที่เริ่มหมดลงและความเสี่ยงต่าง ๆ ที่กดดันกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อาทิ การว่างงานของแรงงานอายุน้อย ข้อจากัดของนโยบายการคลังในการกระตุ้น
เศรษฐกิจ และภาคอสังหาฯ ที่ยังหดตัว อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจจีนจะยังคงขยายตัวได้สูงในปีนี้จากปัจจัยฐานที่ต่ามากในช่วง Lockdown ปีก่อน
57.0
51.9
58.2
52.9
48.8
54.5
0
10
20
30
40
50
60
Composite Manufacturing Services
Mar-23 Apr-23 May-23
วงจรการขึ้นดอกเบี้ยโลกใกล้สิ้นสุด
แต่ผลกระทบดอกเบี้ยสูง (Lag effects) ยังอยู่
24
ธนาคารกลางมีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยอีก 1-2 ครั้งในปีนี้ จากเงินเฟ้อพื้นฐานที่ชะลอลงช้าตามตลาดแรงงานตึงตัว
วงจรการขึ้นดอกเบี้ยใกล้จะสิ้นสุดแล้ว เนื่องจากเงินเฟ้อลดลงเร็วกว่าคาด ดอกเบี้ยที่แท้จริงทยอยเป็นบวก
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
หมายเหตุ : *Real policy rate คานวณโดยการใช้อัตราเงินเฟ้อทั่วไป 12-month rolling
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, CEIC, St Louis Fed และ Eurostat
Citi Inflation Surprise Index ต่ากว่าคาดครั้งแรกในรอบ 29 เดือน
หน่วย : ดัชนี, < 0 = ตัวเลขเงินเฟ้อจริงออกมาต่ากว่าที่ตลาดคาดไว้
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง*
หน่วย : % ข้อมูลเดือน เม.ย. – 12 พ.ค. 2023
ตาแหน่งงานว่าง (Job opening rate)
หน่วย : %
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานของสหรัฐ ยูโรโซน และสหราชอาณาจักร
หน่วย : % YOY
วงจรการขึ้นดอกเบี้ยใกล้สิ้นสุดลง
-1.46
-100
0
100
200
300
Apr-21 Dec-21 Aug-22 Apr-23
Global Eurozone US EMs
China UK Japan Latam
7.1
1.1 1.0 0.7 0.1
-1.6 -1.6 -1.9 -2.1 -2.7 -3.4 -4.6 -5.5 -6.0 -6.6
-12.0
-8.0
-4.0
0.0
4.0
8.0
12.0
Brazil
China
S.Africa
Indonesia
India
S.Korea
Switzerland
Canada
US
France
Japan
Germany
UK
Italy
EU
0.
1.
2.
3.
4.
3
4
5
6
7
8
Jul-19
Dec-19
May-20
Oct-20
Mar-21
Aug-21
Jan-22
Jun-22
Nov-22
Apr-23
US EU (RHS)
2
4
6
8
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
EA20 Core CPI UK Core CPI US Core PCE
• Fed มีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยอย่างมากอีก 1 ครั้ง
โดยคาดว่าอาจปรับขึ้นในเดือน ก.ค. สู่ระดับ
5.25-5.5% และคงดอกเบี้ยไว้ตลอดปีนี้
เนื่องจากเงินเฟ้อพื้นฐานยังมีแนวโน้มลดลงได้ช้า
และยังอยู่สูงกว่ากรอบเป้าหมายของ Fed ที่ 2%
ทั้งนี้ แม้ Dot plot จะแสดงถึงโอกาสในการ
ขึ้นดอกเบี้ยอีก 2 ครั้ง แต่คาดว่าเงินเฟ้อจะปรับ
ลดลงชัดเจนขึ้นในช่วง H2 ส่งผลให้ Fed จะไม่
ขึ้นดอกเบี้ยต่อ
• ECB มีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยอีก 2 ครั้ง สู่ 3.75%
ขณะที่ BOE อาจขึ้นดอกเบี้ยถึง 3 ครั้ง สู่5.25%
เนื่องจากยุโรปเผชิญแรงกดดันเงินเฟ้อสูงกว่า
สหรัฐฯ แม้เงินเฟ้อทั่วไปชะลอลงเร็วตามราคา
พลังงาน แต่เงินเฟ้อพื้นฐานยังขยายตัวต่อเนื่อง
จากค่าแรงที่เพิ่มขึ้นตามตลาดแรงงานที่ตึงตัว อีก
ทั้งอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงยังติดลบสูง
25
สภาพคล่องในระบบการเงินโลกมีแนวโน้มปรับลดลงจาก Quantitative Tightening แม้วงจรขึ้นดอกเบี้ยจะ
สิ้นสุดลง ซึ่งจะกระทบตลาดการเงิน EMs ผ่านเงินทุนเคลื่อนย้ายไหลเข้าที่ลดลงและ Bond yields ที่ทรงตัวสูง
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, CEIC, St Louis Fed และ The Institute of International Finance (IIF)
ขนาดงบดุลของธนาคารกลางสหรัฐและยุโรป : Total assets
หน่วย : USD Billion, EUR Billion
ปริมาณเงิน (Money supply: M2) ของสหรัฐและยุโรป
หน่วย : USD Billion
เงินทุนเคลื่อนย้ายต่างชาติในตลาดการเงิน EMs
หน่วย : USD Billion
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี
หน่วย : %
3,000
5,000
7,000
9,000
2019 2020 2021 2022 2023
US EU
-4.6
1.4
-10
0
10
20
30
10,000
15,000
20,000
2019 2020 2021 2022 2023
US EU US %YOY EU %YOY
-1
1
3
5
Jan-19
Jun-19
Nov-19
Apr-20
Sep-20
Feb-21
Jul-21
Dec-21
May-22
Oct-22
Mar-23
Germany UK Italy US
-30
0
30
60
90
2019 2020 2021 2022 2023
China Equity EM ex-China Equity
China Debt EM ex-China Debt
Total
• สภาพคล่องในสหรัฐฯ และยุโรปเริ่มปรับ
ลดลงตั้งแต่ 2022Q4 ตามการดาเนิน
นโยบายการเงินแบบเข้มงวดผ่าน
Quantitative Tightening (QT) ส่งผลให้
อัตราการขยายตัวของปริมาณเงินในระบบ
ลดลง (หดตัวในสหรัฐฯ)
• สภาพคล่องทั่วโลกที่ลดลงส่งผลให้ภาวะ
การเงินตึงตัวขึ้นและกระทบต่อการลงทุนใน
สินทรัพย์เสี่ยงเป็นสาคัญ โดยจะกระทบต่อ
EMs ผ่านการไหลเข้าของเงินทุนเคลื่อนย้าย
สู่ตลาดการเงิน EMs ที่ลดลง
• Bond yield มีแนวโน้มทรงตัวสูง ตาม
ทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบายทั่วโลก ซึ่งจะ
กระทบต่อต้นทุนการระดมทุนของภาครัฐ
และภาคธุรกิจ
26
เงินฝากในระบบธนาคารของ AEs มีแนวโน้มปรับลดลงต่อ ตามการใช้จ่ายหลังเปิดเมือง ค่าครองชีพสูง และ
การขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางทาให้ผลตอบแทนสินทรัพย์การเงินอื่นน่าสนใจขึ้น
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Fed, ECB และ BoE
U.S. bank deposits and U.S. money market funds
หน่วย : ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
Euro Area banks deposits and MMFs
หน่วย : ล้านล้านยูโร
UK Bank Deposits
หน่วย : พันล้านปอนด์
17.2
5.3
2.5
3.0
3.5
4.0
4.5
5.0
5.5
10
12
14
16
18
Jan-19 Nov-19 Sep-20 Jul-21 May-22 Mar-23
Deposits: All commercial banks
Money market funds assets (RHS)
14.9
0.7
0.4
0.5
0.6
0.7
12
13
14
15
16
Jan-19 Nov-19 Sep-20 Jul-21 May-22 Mar-23
Deposits MMFs (RHS)
3,494
0
0.2
0.4
0.6
0.8
1
1.2
2500
2750
3000
3250
3500
3750
Jan-19 Nov-19 Sep-20 Jul-21 May-22 Mar-23
ECB Hiking cycle BOE Hiking cycle
Fed Hiking cycle
• Excess saving ใน US มีแนวโน้มลดลง อาจส่งผลให้การบริโภคในระยะต่อไปลดลงตามมาได้ ผู้บริโภค US เริ่มใช้ Excess saving หลังเปิดเมืองเฉลี่ย 3 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือนตั้งแต่ Q3/2021
และเพิ่มเป็น 1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือนในปี 2022 โดยคาดว่า Excess saving ยังเหลืออยู่ราว 5 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งคาดว่าเพียงพอรองรับการบริโภคได้อย่างน้อยถึงสิ้นปีนี้
• เงินฝากระบบธนาคาร US เริ่มไหลไป MMFs มากขึ้นตั้งแต่ 2022 จาก 1) ผลตอบแทนที่สูงกว่า (ผลตอบแทนเฉลี่ยของ US MMFs สูงสุดในรอบ 50 ปี เฉลี่ย 4.7% เทียบ 0.02% ณ ม.ค. 2022
ส่งผลให้ Yield gap ในปัจจุบันสูงราว 4%) 2) สถานการณ์ Banking stress (Stability, Liquidity และ Yield) ส่งผลให้เงินฝากไหลออกมากขึ้น
• Euro area และ UK ไม่ได้เผชิญ Deposit outflow มากเหมือน US เพราะโครงสร้างตลาดการเงินไม่ได้มีทางเลือกการลงทุนหลากหลายเท่า อีกทั้ง ขนาดของตลาดสินทรัพย์อื่น ๆ โดยเฉพาะ MMFs มีขนาดเล็ก
มากเมื่อเทียบมูลค่าเงินฝากในระบบ (EA 4% vs US 30%) ทั้งนี้เงินฝากเริ่มมีแนวโน้มลดลงหลังเปิดเมืองและค่าครองชีพสูงต่อเนื่องเป็นสาคัญ
27
ตลาดตราสารหนี้โลกอาจเผชิญแรงกดดันเพิ่มเติม หาก BOJ ดาเนินนโยบายการเงินผ่อนคลายน้อยลงในช่วง
ครึ่งปีหลัง เนื่องจากนักลงทุนญี่ปุ่นซึ่งมีบทบาทสาคัญ อาจย้ายเงินลงทุนกลับไปตลาดตราสารหนี้ญี่ปุ่น
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, CEIC, Fed, ECB และ BoE
มูลค่าการถือตราสารทางการเงินในต่างประเทศของนักลงทุนญี่ปุ่นในช่วงผู้ว่าการ Kuroda
หน่วย : % ขนาดตลาดของแต่ละประเทศ (April 2013 to Dec. 2022)
เงินเฟ้อของญี่ปุ่นปรับชะลอลงเล็กน้อย แต่ Core ยังเร่งตัว สะท้อนอุปสงค์ที่อยู่ในทิศทางฟื้นตัว
เพิ่มโอกาสที่เงินเฟ้อจะยั่งยืนที่กรอบของ BOJ ที่ 2% ให้มีมากขึ้น
หน่วย : %YOY
การเติบโตของค่าจ้างของญี่ปุ่น โดยรวมแม้ปรับชะลอลง แต่การเติบโตของค่าจ้างตามสัญญาที่เป็น
ค่าจ้างพื้นฐานสาคัญขยายตัวต่อเนื่อง (ทั้ง %MOM และ %YOY)
หน่วย : %YOY, %MOM
หาก BOJ ดาเนินนโยบายการเงินผ่อนคลายน้อยลงในช่วงครึ่งปีหลัง ตลาดการเงินทั่วโลกมีแนวโน้ม
ได้รับผลกระทบเพิ่มเติม จากการย้ายเงินออกจากตราสารหนี้โลกของนักลงทุนญี่ปุ่น
นาโดยตลาดพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ที่นักลงทุนญี่ปุ่นถือครองพันธบัตรฯ รายใหญ่ที่สุด
ตลาดการเงินในออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ และนิวซีแลนด์ มีแนวโน้มได้รับผลกระทบรุนแรง เช่นกัน
เนื่องจากมีสัดส่วนเงินลงทุนจากญี่ปุ่นต่อมูลค่าตลาดการเงินในประเทศสูงสุด 3 อันดับแรกของโลก
4.1
-2
-1
0
1
2
3
4
5
Feb-15 Apr-16 Jun-17 Aug-18 Oct-19 Dec-20 Feb-22 Apr-23
Headline CPI CPI excl Fresh Food CPI excl Fresh Food & Energy
-3
-1
1
3
5
Jun-17 Aug-18 Oct-19 Dec-20 Feb-22 Apr-23
Total avg monthly earn (YOY) Avg monthly earn (YOY): Scheduled
Avg monthly earn (MOM): Scheduled
Japan
28
นโยบายการเงินการคลังจีนมีแนวโน้มผ่อนคลายต่อไป เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ยังเปราะบางสูง
และเริ่มมีสัญญาณแผ่วลง แต่ความสามารถในการใช้มาตรการกระตุ้นมีความจากัดมากขึ้นจากหลายปัจจัยกดดัน
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
หมายเหตุ : *RRR = required reserve ratio, LPR = loan prime rate, MLF = medium-term lending facility **LGFV = Local Government Financing Vehicle
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูล CEIC, PBOC และ IMF
China
นโยบายการเงินของจีน นโยบายการคลังของจีน
อัตราการขยายตัวของสินเชื่อคงค้างจีน
หน่วย : %YOY
อัตราดอกเบี้ยสาคัญของจีน*
หน่วย : %
คาดการณ์หนี้สาธารณะโดย IMF (รวม LGFV)**
หน่วย : % ต่อ GDP
อัตราส่วนภาระดอกเบี้ยต่อรายได้รัฐบาลท้องถิ่น
หน่วย : % (ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 12 เดือน)
0
2
4
6
8
10
Jan-21
May-21
Sep-21
Jan-22
May-22
Sep-22
Jan-23
May-23
RRR 1-YR LPR
5-YR LPR 1-YR MLF
10.0
10.5
11.0
11.5
12.0
12.5
13.0
Jan-21
May-21
Sep-21
Jan-22
May-22
Sep-22
Jan-23
0
5
10
15
Feb-20
Jul-20
Dec-20
May-21
Oct-21
Mar-22
Aug-22
Jan-23
77.9 80.8 86.3
98.8 101.4
110.1
121.9
128.9
136.3
0
20
40
60
80
100
120
140
2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 2024 2025
• อัตราดอกเบี้ยนโยบายสาคัญของจีนมีแนวโน้มผ่อนคลายต่อไป เนื่องจากเศรษฐกิจยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และอัตรา
เงินเฟ้ออยู่ในระดับต่า ขณะที่ภาคอสังหาฯ ยังคงหดตัว ทั้งยอดขายและการก่อสร้าง
• ประสิทธิภาพในการกระตุ้นการปล่อยสินเชื่อของนโยบายการเงินมีจากัด เนื่องจากอุปสงค์การลงทุนในจีน
ยังซบเซา ส่วนหนึ่งเนื่องจากกาไรภาคอุตสาหกรรมยังหดตัวและความเชื่อมั่นยังไม่กลับมาเต็มที่
• ธนาคารขนาดใหญ่ของจีนปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก คาดว่าจะช่วยให้ธนาคารปล่อยสินเชื่อได้มากขึ้น
และอาจเป็นสัญญาณว่าธนาคารกลางจีนจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระยะต่อไป
• รัฐบาลจีนใช้นโยบายการคลังกระตุ้นเศรษฐกิจ ผ่านการกระตุ้นการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและมาตรการให้ผู้ซื้อ
บ้านและบริษัทอสังหาฯ เข้าถึงเงินทุนได้ง่ายขึ้น
• พื้นที่ทางการคลังของจีนมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากรัฐบาลท้องถิ่น ซึ่งเป็นผู้เบิกจ่ายงบประมาณ
มีระดับหนี้สูงขึ้นมากและภาระดอกเบี้ยจ่ายที่สูงตามมา จึงเผชิญข้อจากัดในการออกมาตรการ
• ในระยะต่อไป จีนมีแนวโน้มใช้นโยบายการคลังแบบผ่อนคลายต่อไป ในลักษณะของมาตรการ
เฉพาะจุดเปราะบาง เช่น การกระตุ้นภาคอสังหาฯ
เศรษฐกิจไทย
แรงส่งเศรษฐกิจไทย
(Momentum) เติบโตต่อเนื่อง แม้ส่งออกไม่สดใส
31
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ CEIC
SCB EIC คงประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2023 ที่ 3.9% จากแนวโน้มบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวดีและแรงหนุนจาก
ภาคการท่องเที่ยว ขณะที่การส่งออกเป็นปัจจัยเสี่ยงด้านต่าสาคัญ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปขยายตัวชะลอลงมากตามราคา
พลังงานในประเทศที่ปรับลดลง ในระยะต่อไปเงินเฟ้อยังมีความไม่แน่นอนจากมาตรการอุดหนุนราคาพลังงานภาครัฐ
ประมาณการเศรษฐกิจ (กรณีฐาน) หน่วย 2021 2022
2023F
ณ มี.ค. ณ มิ.ย.
2023 2023
GDP %YOY 1.6 2.6 3.9 3.9
การบริโภคภาคเอกชน %YOY 0.6 6.3 3.9 4.3
การบริโภคภาครัฐ %YOY 3.7 0.0 -1.5 -2.2
การลงทุนภาคเอกชน %YOY 3.0 5.1 3.0 2.4
การลงทุนภาครัฐ %YOY 3.4 -4.9 2.2 2.2
มูลค่าส่งออกสินค้า (USD BOP basis) %YOY 19.2 5.5 1.2 0.5
มูลค่านาเข้าสินค้า (USD BOP basis) %YOY 27.7 15.3 0.9 0.7
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ล้านคน 0.4 11.2 30.2 30.2
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป %YOY 1.2 6.1 2.7 2.1
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน %YOY 0.2 2.5 2.4 1.7
ราคาน้ามันดิบ Brent USD/Bbl. 70.5 100.9 77.8 80.7
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (สิ้นปี) % 0.5 1.25 2.0 2.5
เงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ (สิ้นปี) THB/USD 33.2 34.6 32-33 32-33
• เศรษฐกิจจีนฟื้นตัวสูงจากฐานต่า
• การฟื้นตัวต่อเนื่องของการบริโภค
• นโยบายควบคุม/จากัดการส่งออกสินค้าของประเทศคู่แข่ง
ปัจจัยสนับสนุน
• การจัดตั้งรัฐบาลใหม่และความไม่แน่นอนทางการเมือง
• หนี้ครัวเรือนกลับมาเร่งตัว
ปัจจัยเสี่ยงในประเทศ
• เศรษฐกิจโลกชะลอตัวกระทบการส่งออก
• ปัญหา Geopolitics รุนแรงขึ้น กระทบ Global supply chain
และการส่งออก
• ปัญหาเสถียรภาพระบบการเงินโลก
• นโยบายการเงินโลกตึงตัวนาน
ปัจจัยเสี่ยงต่างประเทศ
คาดการณ์ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)
32
เศรษฐกิจไทยยังอยู่ในทิศทางของการฟื้นตัวจากแรงส่งของภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชน
ขณะที่หลายองค์ประกอบเติบโตชะลอลงหรือหดตัว โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าและการผลิตภาคอุตสาหกรรม
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ธนาคารแห่งประเทศไทย, สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, สานักงาน
เศรษฐกิจอุตสาหกรรม, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, สานักงานสถิติแห่งชาติ, การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และ CEIC
เศรษฐกิจไทย Unit 2022 Q4/22 Q1/23 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 YTD
ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) %YOY 2.6 1.4 2.7 2.7
ภาคอุปสงค์
ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน %YOY 8.4 5.2 5.5 6.9 2.4 4.8 4.8 6.7 7.6 4.7
ยอดขายรถในประเทศ %YOY 15.1 -3.0 -6.1 -4.8 -3.9 -5.6 -3.9 -8.4 -6.1 -6.1
ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน %YOY 2.6 -1.9 -0.2 -1.5 -4.2 -2.7 0.1 1.8 0.0 -0.2
ส่งออกหักทอง (ศุลกากร) %YOY 4.4 -8.3 -2.3 -5.1 -13.9 -4.4 -2.5 -0.4 -9.3 -4.0
ความเชื่อมั่นผู้บริโภค 100 = stable 43.9 47.9 52.7 47.9 49.7 51.7 52.6 53.8 55.0 55.7 53.8
ความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ 50 = stable 49.0 48.5 51.1 49.4 48.4 49.8 50.6 52.9 50.1 49.7 50.6
ภาคอุปทาน
รายได้ภาคเกษตร %YOY 13.7 16.0 6.8 15.7 11.9 6.2 13.6 1.3 3.8 6.2
ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม %YOY 0.4 -6.0 -3.7 -5.3 -8.5 -4.8 -2.4 -3.9 -8.1 -3.9
อัตราการใช้กาลังการผลิต %, SA 62.8 60.1 60.5 60.4 59.3 60.0 61.4 60.1 59.5 60.3
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ thousands 11153.3 5465 6478 1748 2241 2145 2114 2219 2182 8660
จานวนทริปในประเทศ %YOY 182.4 83.4 35.1 69.0 35.5 41.4 31.6 32.2 27.7 33.1
อัตราการเข้าพักโรงแรม % 47.2 62.6 70.3 63.3 70.0 71.4 69.9 69.5 70.1 70.2
ตลาดแรงงาน
อัตราว่างงาน % 1.3 1.2 1.1 1.1
อัตราว่างงานของแรงงานอายุน้อย % 6.6 6.1
อัตราว่างงานของแรงงานในประกันสังคม % 2.1 1.8 1.8 1.8 1.7 1.7 1.6 1.9 1.9 1.8
ชั่วโมงการทางานภาคเอกชน hours/week 45.7 46.3
• อุปสงค์ในประเทศปรับดีขึ้น ขณะที่อุปสงค์จาก
ต่างประเทศหดตัว การบริโภคภาคเอกชนขยายตัว
ดีขึ้นต่อเนื่อง ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนชะลอ
ตัวในเดือน เม.ย. สอดคล้องกับการส่งออกสินค้าที่
กลับมาหดตัวสูง
• เศรษฐกิจภาคอุปทานขยายตัวจากภาคบริการและ
ภาคเกษตร ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมยังหดตัว
ภาคการท่องเที่ยวและภาคบริการที่เกี่ยวข้องยังมี
แนวโน้มการฟื้นตัวที่ดี ภาคเกษตรขยายตัวได้จาก
ปริมาณผลผลิต
• ตลาดแรงงานฟื้นตัว อัตราการว่างงานในไตรมาส
1 ปี 2023 ฟื้นตัวกลับเข้าสู่ระดับก่อนเกิดวิกฤติ
โดยเฉพาะภาคบริการ
เศรษฐกิจไทยยังมีทิศทางฟื้นตัว
จากนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ฟื้นตัวได้ดีและนักท่องเที่ยวชาวไทยเที่ยวไทยที่เติบโตต่อเนื่อง
อีกทั้ง ยังเห็นสัญญาณการฟื้นตัวดีในหลายจังหวัด
ภาคท่องเที่ยวยังก้าวต่อ หนุนภาพรวมเศรษฐกิจไทย
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023

More Related Content

Similar to Outlook ไตรมาส 2/2023

TH-Outlook-4Q22.pdf
TH-Outlook-4Q22.pdfTH-Outlook-4Q22.pdf
TH-Outlook-4Q22.pdfSCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-2023_TH_20230131.pdf
CLMV-Outlook-2023_TH_20230131.pdfCLMV-Outlook-2023_TH_20230131.pdf
CLMV-Outlook-2023_TH_20230131.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนเศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนSCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCBEICSCB
 
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdfOutlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2022
Outlook ไตรมาส 4/2022Outlook ไตรมาส 4/2022
Outlook ไตรมาส 4/2022SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...SCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCBEICSCB
 

Similar to Outlook ไตรมาส 2/2023 (11)

TH-Outlook-4Q22.pdf
TH-Outlook-4Q22.pdfTH-Outlook-4Q22.pdf
TH-Outlook-4Q22.pdf
 
CLMV-Outlook-2023_TH_20230131.pdf
CLMV-Outlook-2023_TH_20230131.pdfCLMV-Outlook-2023_TH_20230131.pdf
CLMV-Outlook-2023_TH_20230131.pdf
 
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนเศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdfOutlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2022
Outlook ไตรมาส 4/2022Outlook ไตรมาส 4/2022
Outlook ไตรมาส 4/2022
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
 

More from SCBEICSCB

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletSCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นSCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfSCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...SCBEICSCB
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCBEICSCB
 

More from SCBEICSCB (20)

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
 

Outlook ไตรมาส 2/2023

  • 1. Outlook มุมมองเศรษฐกิจปี 2023 ณ ไตรมาส 2 ปี 2023 Q2/2023 SCB EIC คงประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2023 ที่ 3.9% ตามการบริโภคภาคเอกชนและท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวดี ท่ามกลางการส่งออก ที่ไม่ค่อยสดใส และการจัดตั้งรัฐบาลที่มีความไม่แน่นอนสูง
  • 2. วิธีใช้งาน Interactive PDF กลับสู่หน้าสารบัญ ไปยังเนื้อหาที่ต้องการ 1 หน้า แนวโน้มเศรษฐกิจ ไตรมาส 2 ปี 2023 Q2/2023 ไปยัง Outlook เล่มอื่น ๆ เข้าสู่เว็บไซต์ EIC
  • 3. หน้า หน้า หน้า หน้า 4 Executive summary 11 29 เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจไทย เรื่องในเล่ม ตลาดการเงิน 64 Outlook Q2/2023 วงจรการขึ้นดอกเบี้ยโลกใกล้สิ้นสุด แต่ผลกระทบดอกเบี้ยสูง (Lag effects) ยังอยู่ หน้า 23 หน้า 33 ภาคท่องเที่ยวยังก้าวต่อ หนุนภาพรวมเศรษฐกิจไทย เศรษฐกิจไทยหลังเลือกตั้ง ความไม่แน่นอนที่รออยู่ หน้า 53
  • 4. 4 Executive summary SCB EIC ปรับลดคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลกในปี 2023 อยู่ที่ 2.1% เนื่องจากตัวเลขเศรษฐกิจต้นไตรมาส 2 ออกมาแย่กว่าที่คาดไว้ การฟื้นตัวของภาคการผลิตและภาคบริการ ยังมีความแตกต่างกันสูง อีกทั้ง ความเสี่ยงด้านต่ามีมากขึ้นอาจกดดันการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกในช่วงที่เหลือของปี เช่น มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อมีแนวโน้มเข้มงวดขึ้นต่อเนื่อง ธนาคารกลางสาคัญมีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยต่ออีกไม่เกิน 1-2 ครั้งในปีนี้ จากเงินเฟ้อพื้นฐานยังมีแนวโน้มปรับลดลงช้าตามภาวะตลาดแรงงานที่ยังตึงตัว อย่างไรก็ดี ด้วยเงินเฟ้อทั่วไปที่ ปรับลดลงเร็วกว่าคาด อีกทั้ง ดอกเบี้ยนโยบายที่แท้จริงทยอยกลับมาเป็นบวก วงจรการขึ้นดอกเบี้ยทั่วโลกจึงมีแนวโน้มใกล้สิ้นสุดลง อย่างไรก็ดี Quantitative tightening ของ AEs จะยัง ทาให้สภาพคล่องในระบบการเงินโลกปรับลดลงต่อเนื่อง และคาดว่าจะส่งผลต่อตลาดการเงิน EMs ผ่านเงินทุนเคลื่อนย้ายไหลออกสุทธิและ Bond yields SCB EIC คงประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2023 ที่ 3.9% จากแรงหนุนการบริโภคภาคเอกชนและภาคการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวต่างชาติคาดว่าจะอยู่ที่ 30 ล้านคน รายได้จาก นักท่องเที่ยวต่างชาติมีโอกาสแตะ 1.27 ล้านล้านบาท จากการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เข้าใกล้ค่าเฉลี่ยในปี 2019 มากขึ้น SCB EIC ประเมินการส่งออกเป็นปัจจัยเสี่ยง ด้านต่าที่สาคัญ โดยปรับลดคาดการณ์มูลค่าส่งออกสินค้าไทยปีนี้เหลือ 0.5% (เดิม 1.2%) จากแรงหนุนตลาดส่งออกจีนที่แผ่วกว่าคาด และความเสี่ยงด้านต่าของเศรษฐกิจโลกที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ เศรษฐกิจไทยมีโอกาสเผชิญกับเอลนีโญระดับอ่อนถึงรุนแรงในช่วงครึ่งหลังของปี คาดว่าสร้างความเสียหายในภาคเกษตรราว 40,000 ล้านบาท ความไม่แน่นอนทางการเมือง เป็นความเสี่ยงในประเทศที่ต้องติดตาม โดยเฉพาะการจับขั้วรัฐบาลและนโยบายรัฐบาลใหม่ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปขยายตัวชะลอลงมากตามราคาพลังงานในประเทศที่ปรับลดลงมาก แต่ยังมีความไม่แน่นอนจากมาตรการอุดหนุนราคาพลังงานภาครัฐ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะ ชะลอลงมาอยู่ที่ 1.7% แต่ยังอยู่ในระดับสูงเทียบจากอดีต สะท้อนการทยอยส่งผ่านต้นทุนจากผู้ผลิตสู่ราคาผู้บริโภคและแรงกดดันเงินเฟ้อจากด้านอุปสงค์ในช่วงที่เศรษฐกิจไทยฟื้นตัว เข้มแข็งขึ้น SCB EIC คาดว่านโยบายการเงินไทยจะทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่องสู่ Terminal rate ที่ 2.5% ในไตรมาส 3 ตามแนวโน้มเศรษฐกิจไทยที่ขยายตัวต่อเนื่อง และเงินเฟ้อแม้จะกลับมา อยู่ในกรอบ แต่ยังมีความเสี่ยงด้านสูงจากการส่งผ่านต้นทุนและแรงกดดันเงินเฟ้อด้านอุปสงค์ ภาวะการเงินไทยจึงมีแนวโน้มตึงตัวต่อเนื่อง ในระยะสั้นเงินบาทจะยังเผชิญแรงกดดันด้าน อ่อนค่า เนื่องจากเงินดอลลาร์สหรัฐยังมีแนวโน้มแข็งค่าและเงินบาทได้รับแรงกดดันเพิ่มเติมจากเงินหยวนอ่อนค่า คาดว่าเงินบาทจะปรับแข็งค่าขึ้นไปอยู่ที่ 32-33 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ณ สิ้นปีนี้ จากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย ความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่จะปรับดีขึ้นหลังความไม่แน่นอนทางการเมืองลดลง และเงินดอลลาร์สหรัฐที่จะกลับมาอ่อนค่าหลัง Fed หยุดขึ้นดอกเบี้ย
  • 5. 5 ในปี 2023 เงินบาทมีแนวโน้มกลับมาแข็งค่าขึ้นตามการฟื้นตัว ของเศรษฐกิจไทย ส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดกลับมาเกินดุล ในปีนี้ ความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่ปรับดีขึ้น และการกลับมา อ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐหลัง Fed หยุดการขึ้นดอกเบี้ย โดยคาดว่าค่าเงินบาทอยู่ที่ 32-33 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ณ สิ้นปี 2023 SCB EIC คงประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2023 ที่ 3.9% ตามการบริโภคภาคเอกชน ภาคท่องเที่ยวและภาคบริการที่ฟื้นตัวดี ท่ามกลางการส่งออกที่ยังดูไม่สดใส และการจัดตั้งรัฐบาลที่มีความไม่แน่นอน เป็นประเด็นต้องจับตา Key forecasts GDP (%YOY) 2022 2023F 2.6 3.9 1.25 2.50 อัตราแลกเปลี่ยน (ณ สิ้นปี) (THB/USD) 34.6 32-33 2022 2023F 2022 2023F อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (ณ สิ้นปี) (%) (2.00) (3.9) (32-33) เศรษฐกิจไทยปี 2023 ภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชนยังคงเป็นปัจจัยหลักขับเคลื่อน เศรษฐกิจไทยตลอดปี 2023 ขณะที่ภาคการส่งออกคาดว่าจะขยายตัวได้เพียง 0.5% ด้านอัตราเงินเฟ้อทั่วไปขยายตัวชะลอลงมากตามราคาพลังงานใน ประเทศที่ปรับลดลง แต่ยังมีความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของมาตรการ อุดหนุนราคาพลังงานภาครัฐ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะชะลอลงแต่ยัง อยู่ในระดับสูง สะท้อนการทยอยส่งผ่านต้นทุนจากผู้ผลิตสู่ราคาผู้บริโภคและ แรงกดดันเงินเฟ้อจากด้านอุปสงค์ในช่วงที่เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวเข้มแข็งขึ้น ทั้งนี้ความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องติดตาม โดยเฉพาะ การจับขั้วรัฐบาลและนโยบายรัฐบาลใหม่ คณะกรรมการนโยบายการเงินมีแนวโน้มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย นโยบายอีก 2 ครั้ง ครั้งละ 25 BPS ในการประชุมเดือน ส.ค. และเดือน ก.ย. นี้ สู่ Terminal rate ที่ 2.5% เพื่อให้นโยบาย การเงินปรับเข้าสู่ระดับที่สอดคล้องกับแนวโน้มการขยายตัวของ เศรษฐกิจไทยอย่างมีศักยภาพ (Normalization) และอัตราเงิน เฟ้ออยู่ในกรอบเป้าหมายที่ 1-3% ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, สานักงานสถิติแห่งชาติ, สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, กระทรวงการคลัง, ธนาคารแห่งประเทศไทย, กระทรวงพาณิชย์, การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, CEIC และ Bloomberg (คาดการณ์ครั้งก่อน)
  • 6. 6 ปัจจัยบวก ปัจจัยลบ ปัจจัยเสี่ยง เศรษฐกิจไทยปี 2023 จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติยังคงอยู่ที่ 30 ล้านคน ขณะที่รายได้จากนักท่องเที่ยว ต่างชาติมีโอกาสแตะ 1.27 ล้านล้านบาท อัตราการว่างงานที่ลดลงเข้าใกล้ระดับก่อนวิกฤติมาก ระดับค่าครองชีพที่ชะลอตัวลง ภาคการส่งออกสินค้าที่มีแนวโน้มชะลอตัวลงมากกว่าคาดจากอุปสงค์โลกที่อ่อนแอ เม็ดเงินสนับสนุนเศรษฐกิจของภาครัฐมีแนวโน้มลดลงในช่วงจัดตั้งรัฐบาลใหม่ ภาคเกษตรไทยมีโอกาสเผชิญกับเอลนีโญระดับอ่อนถึงรุนแรงในช่วงครึ่งหลังของปี การเมืองจะยังมีความไม่แน่นอนสูงจากการจัดตั้ง รัฐบาลและนโยบายต่าง ๆ ภาวะเงินเฟ้อที่อาจเร่งตัวขึ้นได้อีกครั้ง และอาจ ส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชนและ ต้นทุนในการประกอบธุรกิจ ความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์โลกที่มีอยู่มาก เช่น รัสเซีย-ยูเครน หรือข้อพิพาทกรณีจีน-ไต้หวัน การ แบ่งขั้วทางเศรษฐกิจระหว่างจีนและสหรัฐฯ ซึ่งอาจ ส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานโลกและการส่งออก สินค้าของไทย หนี้ครัวเรือนกลับมาเร่งตัว ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, สานักงานสถิติแห่งชาติ, สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, กระทรวงการคลัง, ธนาคารแห่งประเทศไทย, กระทรวงพาณิชย์, การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, CEIC และ Bloomberg
  • 7. 7 อัตราเงินเฟ้อ หดตัว ขยายตัว การเติบโตทางเศรษฐกิจ ทิศทางนโยบายการเงิน SCB EIC ปรับลดคาดการณ์ GDP โลกในปี 2023 มาอยู่ที่ 2.1% จากตัวเลขทางเศรษฐกิจเริ่มออกมาแย่กว่าคาด อีกทั้ง ความเสี่ยงด้านต่ามีมากขึ้น เศรษฐกิจโลกปี 2023 ลดลง เพิ่มขึ้น ตึงตัว ผ่อนคลาย SCB EIC ปรับลดคาดการณ์ GDP โลกในปี 2023 มาอยู่ที่ 2.1% จากตัวเลขทางเศรษฐกิจเริ่มออกมาแย่กว่าคาด อีกทั้ง ความเสี่ยง ด้านต่ามีมากขึ้น โดยเศรษฐกิจโลกในระยะปานกลางมีแนวโน้ม เติบโต 3% ต่าสุดในรอบ 30 ปี ความเสี่ยงด้านต่า เช่น มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อที่เข้มงวดขึ้น ความสามารถในการทากาไรของภาคธุรกิจลดลง ความเชื่อมั่นทาง เศรษฐกิจอยู่ในระดับต่า และภาคการผลิตอ่อนแอตามอุปสงค์ เงินเฟ้อพื้นฐานยังมีแนวโน้มปรับลดลงช้าตามตลาดแรงงานที่ยัง ตึงตัว อย่างไรก็ดี เงินเฟ้อทั่วไปปรับลดลงเร็วอีกทั้ง ดอกเบี้ย นโยบายที่แท้จริงทยอยกลับเป็นบวก วงจรการขึ้นดอกเบี้ยทั่วโลก จึงมีแนวโน้มใกล้สิ้นสุด อย่างไรก็ดี Quantitative tightening ของ AEs จะยังทาให้สภาพ คล่องในระบบการเงินโลกปรับลดลงต่อเนื่อง และคาดว่าจะส่งผล ต่อตลาดการเงิน EMs ผ่านเงินทุนเคลื่อนย้ายและ Bond yields Fed มีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยอย่างมากอีก 1 ครั้งโดยคาดว่าอาจปรับขึ้น ในเดือน ก.ค. สู่ระดับ 5.25-5.5% และคงดอกเบี้ยไว้ตลอดปีนี้ ECB มีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ย อีก 2 ครั้ง สู่3.75% ขณะที่ BOE อาจขึ้น ดอกเบี้ยถึง 3 ครั้งสู่ 5.25% เนื่องจากยุโรปเผชิญแรงกดดันเงินเฟ้อสูง กว่าสหรัฐฯ PBoC จะคงนโยบายการเงินในระดับผ่อนคลายในปี 2023 เนื่องจาก เศรษฐกิจยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และอัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับต่า ขณะที่ภาค อสังหายังคงหดตัวทั้งยอดขายและการก่อสร้าง BOJ มีแนวโน้มปรับนโยบาย YCC เพิ่มเติมในเดือน ก.ค. คาดว่าจะ เปลี่ยนมาควบคุมอัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะสั้นขึ้น ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC
  • 8. 8 การเติบโตของเศรษฐกิจปี 2021 2022 และ 2023 หน่วย : %YOY 5.5 5.0 1.9 7.8 2.1 3.5 1.4 3.0 1.4 0.6 1.2 5.7 สหรัฐฯ ยูโรโซน ญี่ปุ่น จีน 2021 2022 2023F ปัจจัยสนับสนุน ปัจจัยเสี่ยง การฟื้นตัวต่อเนื่องของภาคบริการ ตลาดแรงงานมีความยืดหยุ่นสูง ช่วยสนับสนุนการบริโภค ราคาสินค้าโภคภัณฑ์มีแนวโน้มปรับลดลง ช่วยลด แรงกดดันด้านราคาที่จะกระทบกาลังซื้อผู้บริโภค มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อเข้มงวดขึ้น ความสามารถในการทากาไรของภาคธุรกิจลดลง ความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับต่า ภาคการผลิตอ่อนแอ ตามภาวะอุปสงค์ เงินเฟ้อพื้นฐานชะลอลงช้า กดดันให้ธนาคารกลางอาจต้องขึ้น ดอกเบี้ยต่อและคงไว้นาน แรงหนุนเศรษฐกิจจาก EMs น้อยลง ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ยืดเยื้อ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC
  • 9. 9 การเมือง ภูมิรัฐศาสตร์ หมวดความเสี่ยงของ เศรษฐกิจโลกปี 2023 เศรษฐกิจ การเงิน สงคราม การทหาร สังคม มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อทั่วโลก มีแนวโน้มเข้มงวดขึ้นต่อเนื่อง 1 1 2 3 หมายเหตุ คือ ความเสี่ยงสาคัญของเศรษฐกิจโลก ที่มีโอกาสเกิดมากและผลกระทบสูง 3 อันดับในปี 2023 แผนที่ความเสี่ยงเศรษฐกิจโลกปี 2023 ความสามารถในการทากาไรของภาคธุรกิจลดลง จากอุปสงค์ที่ลดลง เงินเฟ้อและดอกเบี้ยสูง วิกฤตพลังงานอาจรุนแรงอีกครั้ง ในช่วงปลายปีตามปัจจัยฤดูกาล ภาคการผลิตจะยังอ่อนแอ ตามอุปสงค์ที่ลดลง พื้นที่การคลังของรัฐบาลท้องถิ่นที่เริ่มมีจากัด อาจกระทบต่อการใช้มาตรการกระตุ้นทางการคลัง ตลาดตราสารหนี้โลกอาจเผชิญแรงกดดัน หาก BOJ ดาเนินนโยบายการเงินผ่อนคลายน้อยลง ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ-จีน ยังตึงเครียดจากการแข่งขันด้าน เทคโนโลยี อาจขยายสู่ประเด็นความมั่นคงของชาติ วิกฤตนิวเคลียร์ ในอิหร่าน ข้อพิพาท จีน-อินเดีย สงคราม ไต้หวัน-จีน-สหรัฐฯ สงคราม รัสเซีย-ยูเครน 2 3 ข้อจากัดทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีเพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ปี 2020 เป็น อุปสรรคต่อการค้าข้ามพรมแดนและห่วงโซ่อุปทานของโลกในอนาคต วิกฤตขาดแคลนอาหารรุนแรงขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การพัฒนาสกุลเงินดิจิทัลของธนาคารกลางในหลายประเทศ อาจส่งผลต่อเสถียรภาพระบบการเงินโลก ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC
  • 10. 10 June 15 BOE meeting with Monetary Policy Report การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) พร้อมกับรายงานนโยบายการเงิน ประเด็นที่ต้องจับตา ลาดับเหตุการณ์สาคัญของเศรษฐกิจโลกปี 2023 July 27 ECB meeting with Macroeconomic projections การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป (ECB) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจยูโรโซน July 27-28 BOJ meeting with Outlook Report การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจญี่ปุ่น August 3 BOE meeting with Monetary Policy Report การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) พร้อมกับรายงานนโยบายการเงิน September BIS Quarterly Review การประเมินผลการดาเนินการของระบบธนาคารและตลาดการเงินโลก โดย Bank of International Settlements September 14 ECB meeting with Macroeconomic projections การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป (ECB) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจยูโรโซน September 19-20 FOMC meeting with Macroeconomic projections การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารสหรัฐฯ (Fed) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจสหรัฐฯ October 26 ECB meeting with Macroeconomic projections การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป (ECB) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจยูโรโซน October 30-31 BOJ meeting with Outlook Report การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจญี่ปุ่น November 2 BOE meeting with Monetary Policy Report การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) พร้อมกับรายงานนโยบายการเงิน December BIS Quarterly Review การประเมินผลการดาเนินการของระบบธนาคารและตลาดการเงินโลก โดย Bank of International Settlements December 12-13 FOMC meeting with Macroeconomic projections การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารสหรัฐฯ (Fed) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจสหรัฐฯ December 14 ECB meeting with Macroeconomic projections การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป (ECB) พร้อมกับการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจยูโรโซน ที่มา : ข้อมูลจากธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed), ธนาคารกลางยุโรป (ECB), ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) และธนาคารเพื่อการชาระหนี้ระหว่างประเทศ (BIS)
  • 13. 13 SCB EIC ปรับลดคาดการณ์ GDP โลกในปี 2023 มาอยู่ที่ 2.1% จากตัวเลขทางเศรษฐกิจเริ่มออกมาแย่กว่าคาด อีกทั้งความเสี่ยงด้านต่ามีมากขึ้น โดยเศรษฐกิจโลกในระยะปานกลางมีแนวโน้มเติบโต 3% ต่าสุดในรอบ 30 ปี หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg คาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดย SCB EIC หน่วย : %YOY Citi Economic Surprise Index หน่วย : ดัชนี, < 0 = ตัวเลขเจริงออกมาแย่กว่าที่ตลาดคาด (@June 7th ) Global Medium-term GDP Forecast by IMF หน่วย : 5 years GACR GDP growth 2022 2023 Forecast Mar Jun Global 3.0% 2.3% 2.1% US 2.1% 1.6% 1.4% Euro 3.5% 0.8% 0.6% Japan 1.4% 1.2% 1.2% China 3.0% 5.5% 5.7% India 6.7% 6.0% 6.4% CLMV 6.4% 5.4% 4.6% ASEAN4 6.0% - 4.5% Latin America 3.5% - 1.5% -100 -50 0 50 100 150 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 Jun-23 Global EZ US China UK Japan EMs -4% 3% 6% • การฟื้นตัวต่อเนื่องของภาคบริการ • ตลาดแรงงานมีความยืดหยุ่นสูง ช่วยสนับสนุนการบริโภค • ราคาสินค้าโภคภัณฑ์มีแนวโน้มปรับลดลง ช่วยลด แรงกดดันด้านราคาที่จะกระทบกาลังซื้อผู้บริโภค Upside • มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อเข้มงวดขึ้น • ความสามารถในการทากาไรของภาคธุรกิจลดลง ความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับต่า • ภาคการผลิตอ่อนแอ ตามภาวะอุปสงค์ • เงินเฟ้อพื้นฐานชะลอลงช้า กดดันให้ธนาคารกลางอาจต้องขึ้น ดอกเบี้ยต่อและคงไว้นาน ทาให้สภาพคล่องในระบบตึงตัว • แรงหนุนเศรษฐกิจจาก EMs น้อยลง • ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ยืดเยื้อ Downside • การแบ่งขั้วทางเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบด้านลบต่อห่วงโซ่อุปทานโลก • เศรษฐกิจ EMs ขนาดใหญ่มีแนวโน้มเติบโตช้าลง เช่น จีน เกาหลีใต้ • กาลังแรงงานเติบโตช้าลง ตามการเติบโตของประชากรโลกที่ลดลง • บาดแผลทางเศรษฐกิจระยะยาวจากวิกฤติ COVID-19 • IMF ประมาณการการเติบโตของ GDP โลกระยะปานกลาง (5 ปี) 3% ต่าสุด นับตั้งแต่ปี 1990 ที่มีการจัดทาประมาณการณ์ดังกล่าว และต่ากว่าค่าเฉลี่ย PRE-COVID (2010-2019) ที่ 4.1% ค่อนข้างมาก Stagnant medium-term growth
  • 14. 14 มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อมีแนวโน้มเข้มงวดขึ้น ส่งผลให้การบริโภคครัวเรือนและการลงทุนของภาคธุรกิจ ที่เคยเป็นแรงหนุนสาคัญของเศรษฐกิจโลกในช่วงก่อนหน้ามีแนวโน้มชะลอตัวลงตาม หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ หมายเหตุ: C&I loans = Commercial and industrial loans ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Fed, Bloomberg มาตรฐานการให้สินเชื่อต่าง ๆ ของธนาคารใน US เข้มงวดขึ้น หน่วย : ดัชนี (C&I = Commercial and industrial loans) มาตรฐานการให้สินเชื่อและความต้องการสินเชื่อธุรกิจใน EA หน่วย : Net Percent การลงทุนภาคเอกชน (Private Nonresidential Fixed Investment) หน่วย : %YOY -40 -20 0 20 40 60 80 Q1-20 Q3-20 Q1-21 Q3-21 Q1-22 Q3-22 Q1-23 C&I Loans to Large/Middle firms C&I Loans to small firms Credit card loans -25 0 25 50 Mar-19 Aug-19 Jan-20 Jun-20 Nov-20 Apr-21 Sep-21 Feb-22 Jul-22 Dec-22 May-23 Change in Credit Standards Lending to Business (last 3m) Expected Change in Demand for Loans to Business -20% -15% -10% -5% 0% 5% 10% 15% 20% Jan-18 Jul-18 Jan-19 Jul-19 Jan-20 Jul-20 Jan-21 Jul-21 Jan-22 Jul-22 Jan-23 US EU Tighter credit standard Tighter credit standard Lower credit demand
  • 15. 15 ความสามารถในการทากาไรของภาคธุรกิจมีแนวโน้มถูกกดดันต่อเนื่อง จากอุปสงค์ที่ลดลง เงินเฟ้อและดอกเบี้ยสูง ความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจที่อยู่ในระดับต่าลง จะเป็นปัจจัยกดดันเศรษฐกิจโลกในช่วงครึ่งหลังของปี หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Fed, Bloomberg, J.P. Morgan, The Conference Board และ ECB ดัชนีความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจของสหรัฐและยุโรป หน่วย : ดัชนี, EU: 100 = LT average, US: 1985=100 กาไรภาคธุรกิจไม่รวมภาคการเงิน (US Corporate profit) หน่วย : %QOQ -5.3% -15% -5% 5% 15% 25% 35% Q1-20 Q2-20 Q3-20 Q4-20 Q1-21 Q2-21 Q3-21 Q4-21 Q1-22 Q2-22 Q3-22 Q4-22 Q1-23 ดัชนีกาไรภาคธุรกิจไม่รวมภาคการเงิน (MSCI EU Corporate profit) หน่วย : % 5.8 0 2 4 6 8 10 Jan-20 May-20 Sep-20 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 May-23 60 80 100 120 140 Jan-18 May-19 Sep-20 Jan-22 May-23 EU Economic Sentiment Indicator (ESI) US Consumer Confidence Index (CCI) US: CCI 6 Months Expectations
  • 16. 16 การฟื้นตัวในภาคบริการและภาคการผลิตจะยังแตกต่างกันมาก ตามภาวะอุปสงค์ในภาคบริการและการท่องเที่ยว ที่ขยายตัวได้ดี ขณะที่อุปสงค์สินค้ายังหดตัว หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ J.P. Morgan ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของโลก หน่วย : ดัชนี, > 50 = อยู่ในภาวะขยายตัว, ปรับฤดูกาล ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของโลก (แบ่งตามกิจกรรม) หน่วย : ดัชนี, > 50 = อยู่ในภาวะขยายตัว, ปรับฤดูกาล 40 45 50 55 60 65 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 Manufacturing Service 2018 avg 2019 avg 2022 2023 Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr May All industry PMI 53.6 51.6 49.3 49.6 49.0 48.0 48.2 49.7 52.1 53.4 54.2 54.4 Manufacturing PMI Output 53.1 50.3 49.4 48.7 48.7 47.8 48.5 48.9 50.7 50.6 50.8 51.5 Suppliers' delivery times 45.6 49.5 44.8 45.7 46.5 47.3 47.8 49.0 51.0 52.6 53.3 53.5 New orders 52.9 49.8 48.2 47.7 46.9 46.7 46.4 47.7 49.3 49.5 49.4 49.3 Export orders 50.8 48.8 47.0 45.9 46.2 46.2 46.2 47.4 48.3 47.7 48.4 47.3 Service PMI New business 54.4 52.4 50.3 50.5 49.9 48.2 48.2 50.6 52.0 53.7 54.6 55.4 อุปทานคอขวดภาคการผลิต คลี่คลายใกล้ระดับ Pre-pandemic อุปสงค์สินค้า ยังต่ากว่า Pre-pandemic & หดตัวต่อเนื่อง อุปสงค์ภาคบริการ ขยายตัวต่อเนื่อง & สูงกว่า Pre-pandemic ภาพรวมเศรษฐกิจฟื้นตัว ต่อเนื่อง จากภาคบริการ ที่ฟื้นตัวดี ขณะที่ภาคการ ผลิตยังอ่อนแอมาก
  • 17. 17 นอกจากนี้ ราคาพลังงานโลกจะได้รับแรงกดดันจากความกังวลภาวะเศรษฐกิจถดถอยมากขึ้น และการฟื้นตัวในภาค การผลิตของจีนที่ช้ากว่าคาด ท่ามกลางความพยายามในการปรับลดกาลังการผลิตน้ามันเพิ่มเติมของกลุ่ม OPEC+ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ราคาน้ามันดิบ Brent หน่วย : USD/Barrel ราคาปิโตรเลียมเหลว (LPG) Aramco หน่วย : USD/Ton ราคาก๊าซธรรมชาติ Henry Hub หน่วย : USD/MMBtu 0 2 4 6 8 10 2018 2019 2020 2021 2022 2023 0 200 400 600 800 1000 1200 2018 2019 2020 2021 2022 2023 0 20 40 60 80 100 120 140 2018 2019 2020 2021 2022 2023 5-yr avg 2021 2022 2023F 2.8 3.7 6.6 2.7 5-yr avg 2021 2022 2023F 57.1 70.5 100.9 80 5-yr avg 2021 2022 2023F 429.7 645.5 713.5 637 • กลุ่ม OPEC+ ขยายระยะเวลาสิ้นสุดของการประกาศลดกาลังการ ผลิตแบบสมัครใจ 1.66 ล้านบาร์เรล/วัน ไปเป็นปี 2024 (เดิมสิ้นสุดปี 2023) • อย่างไรก็ตาม ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก ยังเป็นปัจจัย กดดันสาคัญต่ออุปสงค์น้ามันดิบโลก • Saudi Aramco ลดราคาโพรเพนใน มิ.ย. ลง 105 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน เดือน ต่อเดือนเป็น 450 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน เป็นผลมาจากอุปทานที่เพียงพอ ในตะวันออกกลางและสหรัฐฯและความต้องการปิโตรเคมีที่ต่าจากจีนต่ากว่าคาด เนื่องจากการฟื้นตัวของจีนในภาคอุตสาหกรรม เกิดขึ้นค่อนข้างช้า Manufacturing PMI ลดลงสู่ระดับต่าสุดในรอบ 5 เดือนที่ 48.8 ในเดือน พ.ค. 2023 จาก 49.2 ในเดือน เม.ย. ซึ่งขาดการประมาณการของตลาดที่ 49.4 • อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นของโรง PDH ที่ต้องใช้ Propane เป็นวัตถุดิบ มีแผน ที่จะเพิ่มกาลังการผลิตเป็นอย่างมากในปีนี้ จึงทาให้ราคา Propane อาจกลับมา อยู่ในระดับสูงได้อีกในช่วงครึ่งปีหลัง • คาดว่า ตลาดก๊าซฯ จะคลายความตึงตัวต่อเนื่องตั้งแต่ต้นปีเพราะความกังวล เศรษฐกิจถดถอย แต่ในไตรมาส 3 ปี 2023 นี้ ราคาอาจปรับขึ้นบ้าง เนื่องจากมี อุปสงค์เพิ่มขึ้นจากประเทศที่ปีก่อนหน้านี้ลดการนาเข้าลงเพราะสู้ราคาสูงไม่ไหว และภาคการผลิตของจีน แต่ยังคงต่ากว่าคาด • ทว่าเมื่อเริ่มเข้าช่วงหน้าหนาวในไตรมาส 4 ปี 2023 ราคาจะเริ่มปรับระดับสูง อีกครั้งเพื่อเติมก๊าซฯ เข้า Storage เตรียมพร้อมรับมือกับอากาศหนาว คาดว่า จะอยู่ในกรอบ 3.5-4 ดอลลาร์สหรัฐ/mmbtu (แต่ถ้าหากอากาศหนาวกว่าคาด ราคาอาจจะกลับเพิ่มสูงมากได้) หมายเหตุ : 5-year period = 2015-2019; ข้อมูลและการวิเคราะห์จากสถานการณ์ ณ เดือน มิ.ย. 2023 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, TradingView, Goldman Sachs, US EIA, JP Morgan และสานักข่าวต่าง ๆ
  • 18. 18 ในการประชุม G-7 ล่าสุดมองว่า ปัญหาความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ที่มีโอกาสรุนแรงมากขึ้น และอาจเป็น แรงกดดันในอนาคตต่อประเทศที่ยังมีท่าทีเป็นกลาง หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ International Monetary Fund (IMF) WEO April 2023, BBC และ Center For Strategic & International Studies (CSIS) ดัชนีความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์และจานวนการกล่าวถึงการย้ายฐานการผลิตกลับประเทศ (Reshoring) หน่วย : ดัชนี หน่วย : จานวนครั้งที่กล่าวถึงการย้ายฐาน การผลิตกลับประเทศในรายงานผล ประกอบการ (Earnings calls) 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 0 20 40 60 80 100 120 140 160 180 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 Geopolitical Risk Interest in Reshoring* (แกนขวา) Higher geopolitical risk/higher reshoring interest สรุปการประชุม G-7 และนัยต่อนโยบายในอนาคต • G-7 ตกลงจะเพิ่มแรงกดดันต่อรัสเซีย และลดการพึ่งพาพลังงาน รัสเซีย เพื่อจากัดรายได้ของรัสเซียและลดความสามารถในการทา สงครามกับยูเครน อีกทั้ง ยังเห็นว่ารัสเซียควรรับผิดชอบค่าใช้จ่าย ในการฟื้นฟูยูเครน • G-7 มองว่ากลุ่มประเทศตนพึ่งพาจีนมากไป โดยเฉพาะด้าน การค้า จึงจะใช้มาตรการลดความเสี่ยง (De-risking) โดย เสริมสร้างห่วงโซ่อุปทานของตนแทนสินค้านาเข้าสาคัญจากจีน เช่น แร่ธาตุและเซมิคอนดักเตอร์ และเสริมสร้างโครงสร้าง พื้นฐานดิจิทัลเพื่อป้องกันการแฮกและไม่ให้เทคโนโลยีรั่วไหลไปจีน • จีนออกมาตอบโต้และแจ้งประเทศต่าง ๆ ไม่ให้ “สมรู้ร่วมคิดในการ บีบบังคับทางเศรษฐกิจ” ของสหรัฐฯ และเรียกร้องให้กลุ่ม G-7 “หยุดรวมตัวกันเพื่อสร้างกลุ่มพิเศษ” ทั้งนี้จีนพยายามจะสร้าง พันธมิตรกับประเทศอื่น เช่น เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมร่วมกับ ประเทศเอเชียกลาง • การประชุมครั้งนี้อาจทาให้ปัญหา Geopolitics มีโอกาสรุนแรงขึ้น และเป็นแรงกดดันต่อประเทศอื่น ๆ ที่ยังเป็นกลางไม่เลือกข้าง Note: *The interest in reshoring measures the frequency of mentions of reshoring, friend-shoring, or near-shoring in firms’ earnings calls
  • 19. 19 ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์เริ่มก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อการกระจายตัวของ FDI โดยเริ่มเห็น FDI ไหลไปลงทุนในประเทศที่มียุทธศาสตร์ทางการเมืองระหว่างประเทศสอดคล้องกันมากขึ้น หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ International Monetary Fund (IMF) WEO April 2023 Foreign Direct Investment (FDI) ไหลไปลงทุนในประเทศที่มีแนวทางการเมืองสอดคล้องกัน มากขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงห่วงโซ่อุปทานจากความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ หน่วย : %การเปลี่ยนแปลงโดยรวม (aggregate change) ในช่วง 20Q2-22Q4 เทียบ 15Q1-20Q1 FDI สหรัฐฯ ไหลไปลงทุนมากขึ้นในประเทศที่มียุทธศาสตร์ทางการเมืองระหว่างประเทศเป็นมิตรกัน หน่วย : %การเปลี่ยนแปลงโดยรวม (aggregate change) ในช่วง 20Q2-22Q4 เทียบกับ 15Q1-20Q1 • FDI ไหลไปบางประเทศชะลอลง สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ เช่น FDI ไปจีน โดยเฉพาะอุตฯ เซมิคอนดักเตอร์ ปรับลดลงตามยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ ที่กีดกันการเข้าถึง เทคโนโลยีขั้นสูงของจีน • การกระจายตัวของ FDI เช่นนี้จะกระทบเศรษฐกิจหลายประเทศ โดยเฉพาะตลาดเกิดใหม่และ เศรษฐกิจกาลังพัฒนา ซึ่งต้องเผชิญข้อจากัดจากการแบ่งขั้วของเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นแหล่งต้นทางของ FDI -50 -25 0 25 50 75 100 CRI COL IND CAN KOR TWN MYS SGP AUS MEX BRA VNM JPN ARG PHL HKG CHN FDI ที่ไหลไปลงทุนอุตฯ เซมิคอนดักเตอร์ (แยกกลุ่มประเทศ) หน่วย : ดัชนี (4Q moving average, 2015Q1 = 100) 0 50 100 150 200 250 2015q1 2015q3 2016q1 2016q3 2017q1 2017q3 2018q1 2018q3 2019q1 2019q3 2020q1 2020q3 2021q1 2021q3 2022q1 2022q3 US Europe China Asia Ex. China
  • 20. 20 SCB EIC ปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในปี 2023 เป็น 1.4% (เดิม 1.6%) จากภาวะสินเชื่อที่มีแนวโน้มตึงตัวกว่าคาด ทั้งนี้คาดว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะสามารถ Soft landing ได้ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg และ ISM US ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อสะท้อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มชะลอลง หน่วย : ดัชนี (มากกว่า 50 หมายถึง ขยายตัวจากเดือนก่อน) จานวนการ Layoff พนักงาน (U.S. Challenger Job Cuts) เพิ่มขึ้น หน่วย : แสนตาแหน่ง Housing market เริ่ม Stabilize และคาดว่าผ่านจุดต่าสุดไปแล้ว หน่วย : พันหน่วย หน่วย : ดัชนี มาตรฐานการให้สินเชื่อเข้มงวดขึ้น มักเห็นตลาดแรงงานอ่อนแอตามมา หน่วย : พันตาแหน่ง หน่วย : % 46.9 50.3 40 45 50 55 60 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 ISM Manufacturing ISM Services 0.8 0.0 0.5 1.0 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 การประกาศปลดพนักงานใน 5 เดือนแรกของปี 2023 สูงกว่าปี 2022 ทั้งปีแล้ว (1 ใน 3 มาจาก Tech sector) -40 -10 20 50 80 -10,000 -7,000 -4,000 -1,000 2,000 1990 1993 1996 1999 2002 2005 2008 2011 2014 2017 2020 2023 Employment (Nonfarm Payrolls) Net % of banks tighten standard for C&I loans (RHS) 0 30 60 90 500 600 700 800 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 New home sales Homebuilder sentiment (RHS) • เศรษฐกิจ US ได้แรงหนุนจากการใช้จ่ายและรายได้ ผู้บริโภคที่ขยายตัวต่อเนื่อง ช่วยชดเชยการลงทุน ภาคธุรกิจและภาคอสังหาฯ ที่ลดลง • การใช้จ่ายผู้บริโภคจะยังเป็นปัจจัยหนุนGDPในไตรมาส2 ต่อเนื่อง จากรายได้ผู้บริโภคที่ยังขยายตัวในสูง ตามตลาดแรงงานตึงตัว U.S. economy in 2023H1 • สถานการณ์ Banking stress เริ่มกลับเข้าสู่ภาวะปกติ มากขึ้น แต่คาดว่าความตึงเครียดที่เกิดขึ้นจะยังส่งผล ให้ภาวะสินเชื่อตึงตัวขึ้นต่อ จะเป็นปัจจัยกดดัน เศรษฐกิจสหรัฐฯ ในช่วงครึ่งหลังของปี • ภาวะสินเชื่อและภาวะการเงินที่ตึงตัว รวมถึงเงินออม ที่เริ่มลดลง จะทาให้การใช้จ่ายผู้บริโภคและการลงทุน ภาคธุรกิจชะลอลง แต่คาดว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะ Soft landing โดยเงินเฟ้อมีแนวโน้มลดลง ขณะที่ เศรษฐกิจจะยังขยายตัวได้เล็กน้อยในช่วงที่เหลือของปี U.S. economy in 2023H2 Tighter credit leads to weaker job market. Tighter
  • 21. 21 หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, S&P Global’s PMI และ Eurostat การเติบโตของเศรษฐกิจยุโรป หน่วย : %QOQ การเติบโตของเศรษฐกิจสาคัญในยุโรป หน่วย : %QOQ ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของยูโรโซน หน่วย : ดัชนี, > 50 = อยู่ในภาวะขยายตัว, ปรับฤดูกาล Euro zone -15 -5 5 15 1Q2018 3Q2018 1Q2019 3Q2019 1Q2020 3Q2020 1Q2021 3Q2021 1Q2022 3Q2022 1Q2023 EA19 EU27 Ex UK EA19 (%YOY) EU27 Ex UK (%YOY) -3 -2 -1 0 1 2 3 4 1Q2021 2Q2021 3Q2021 4Q2021 1Q2022 2Q2022 3Q2022 4Q2022 1Q2023 Germany France Italy Technical Recession 40 45 50 55 60 65 Sep-20 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 May-23 Service PMI Manufacturing PMI Composite PMI • ภาคการผลิตหดตัวรุนแรงขึ้นต่อเนื่อง และยังไม่มีปัจจัยบวกสนับสนุนในระยะต่อไป (อุปสงค์ยังไม่ฟื้นตัว อุปทานคอขวดคลี่คลาย ไปมากแล้ว จึงคาดว่าผลมีไม่มากในระยะต่อไป) • สถานการณ์ขาดแคลนพลังงานอาจรุนแรงขึ้นในไตรมาส 4 ตามอุปสงค์ที่จะสูงขึ้นตามฤดูกาล ขณะที่อุปทานยังตึงตัว • ปัจจัยบวกของเศรษฐกิจมาจากการท่องเที่ยว จะเข้า Peak season ในช่วงไตรมาส 3 • แม้เศรษฐกิจจะอ่อนแอมาก แต่คาดว่าจะหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยทางเทคนิคได้ในปีนี้ เนื่องจากเศรษฐกิจมีความหยืดหยุ่นสูง และสามารถหลีกเลี่ยง Technical recession ในช่วงที่เศรษฐกิจเปราะบางมากกว่าปัจจุบันได้ (3Q2022-4Q2022) เศรษฐกิจยูโรโซนในช่วงครึ่งหลังของปี จะเติบในอัตราชะลอลงมากเทียบกับครึ่งแรกของปี SCB EIC ปรับลดคาดการณ์ GDP ยูโรโซนเป็น 0.6% (เดิม 0.8%) จากตัวเลข GDP ไตรมาส 1 ที่ต่ากว่าคาด เศรษฐกิจสาคัญ เช่น เยอรมนีเข้าสู่ ภาวะถดถอยทางเทคนิคแล้ว ภาคการผลิตยังไม่ผ่านจุดต่าสุด โดยเศรษฐกิจในช่วงครึ่งหลังของปี จะชะลอลงเทียบกับช่วงครึ่งแรกของปี
  • 22. 22 SCB EIC ปรับเพิ่มคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนเป็น 5.7% (เดิม 5.5%) จากภาคบริการที่ฟื้นตัว ต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ภาคส่วนอื่นยังเปราะบาง สะท้อนให้เห็นการฟื้นตัวที่ไม่เท่าเทียมกัน หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูล CEIC และ China National Bureau of Statistics China เศรษฐกิจจีนโดยรวมขยายตัวแข็งแกร่งขึ้น แต่ฟื้นตัวจากภาคบริการเป็นหลัก แรงส่งจากการเปิดประเทศเริ่มมีสัญญาณแผ่วลง ตัวชี้วัดเศรษฐกิจจีน (รูปบน) และดัชนีผลผลิตภาคบริการและอุตสาหกรรมจีน (รูปล่าง) หน่วย : %YOY (นอกจากระบุไว้) ดัชนี PMI (ของ National Bureau of Statistics) หน่วย : ดัชนี (>50 สะท้อนการขยายตัวจากเดือนที่แล้ว) Indicators 2022 (avg.) Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 Unemployment rate (%) 5.6% 5.5% 5.6% 5.3% 5.2% Consumer confidence (index) 95.0 91.2 94.7 94.9 Retail sales -1.6 10.6 18.4 Exports, USD 7.8 -10.7 -1.6 14.3 8.0 Fixed asset investment 5.7 5.5 5.5 -0.7 -17.4 Real estate: floor space started -36.9 -9.4 -9.4 -29.0 -28.3 Real estate: floor space sold -23.5 -3.6 -3.6 -3.5 -11.8 -15 -5 5 15 25 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 Services Industrial SCB EIC ประเมินว่า เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้มขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นที่ 5.7% ในปีนี้ ตามการฟื้นตัวของภาคบริการที่ได้ประโยชน์จาก Pent-up demand ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมยังคงได้รับผลกระทบจากอุปสงค์ที่ชะลอตัว การฟื้นตัวในระยะต่อไปมีแนวโน้มชะลอตัวจากแรงส่งการเปิดประเทศที่เริ่มหมดลงและความเสี่ยงต่าง ๆ ที่กดดันกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อาทิ การว่างงานของแรงงานอายุน้อย ข้อจากัดของนโยบายการคลังในการกระตุ้น เศรษฐกิจ และภาคอสังหาฯ ที่ยังหดตัว อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจจีนจะยังคงขยายตัวได้สูงในปีนี้จากปัจจัยฐานที่ต่ามากในช่วง Lockdown ปีก่อน 57.0 51.9 58.2 52.9 48.8 54.5 0 10 20 30 40 50 60 Composite Manufacturing Services Mar-23 Apr-23 May-23
  • 24. 24 ธนาคารกลางมีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยอีก 1-2 ครั้งในปีนี้ จากเงินเฟ้อพื้นฐานที่ชะลอลงช้าตามตลาดแรงงานตึงตัว วงจรการขึ้นดอกเบี้ยใกล้จะสิ้นสุดแล้ว เนื่องจากเงินเฟ้อลดลงเร็วกว่าคาด ดอกเบี้ยที่แท้จริงทยอยเป็นบวก หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ หมายเหตุ : *Real policy rate คานวณโดยการใช้อัตราเงินเฟ้อทั่วไป 12-month rolling ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, CEIC, St Louis Fed และ Eurostat Citi Inflation Surprise Index ต่ากว่าคาดครั้งแรกในรอบ 29 เดือน หน่วย : ดัชนี, < 0 = ตัวเลขเงินเฟ้อจริงออกมาต่ากว่าที่ตลาดคาดไว้ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง* หน่วย : % ข้อมูลเดือน เม.ย. – 12 พ.ค. 2023 ตาแหน่งงานว่าง (Job opening rate) หน่วย : % อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานของสหรัฐ ยูโรโซน และสหราชอาณาจักร หน่วย : % YOY วงจรการขึ้นดอกเบี้ยใกล้สิ้นสุดลง -1.46 -100 0 100 200 300 Apr-21 Dec-21 Aug-22 Apr-23 Global Eurozone US EMs China UK Japan Latam 7.1 1.1 1.0 0.7 0.1 -1.6 -1.6 -1.9 -2.1 -2.7 -3.4 -4.6 -5.5 -6.0 -6.6 -12.0 -8.0 -4.0 0.0 4.0 8.0 12.0 Brazil China S.Africa Indonesia India S.Korea Switzerland Canada US France Japan Germany UK Italy EU 0. 1. 2. 3. 4. 3 4 5 6 7 8 Jul-19 Dec-19 May-20 Oct-20 Mar-21 Aug-21 Jan-22 Jun-22 Nov-22 Apr-23 US EU (RHS) 2 4 6 8 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 EA20 Core CPI UK Core CPI US Core PCE • Fed มีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยอย่างมากอีก 1 ครั้ง โดยคาดว่าอาจปรับขึ้นในเดือน ก.ค. สู่ระดับ 5.25-5.5% และคงดอกเบี้ยไว้ตลอดปีนี้ เนื่องจากเงินเฟ้อพื้นฐานยังมีแนวโน้มลดลงได้ช้า และยังอยู่สูงกว่ากรอบเป้าหมายของ Fed ที่ 2% ทั้งนี้ แม้ Dot plot จะแสดงถึงโอกาสในการ ขึ้นดอกเบี้ยอีก 2 ครั้ง แต่คาดว่าเงินเฟ้อจะปรับ ลดลงชัดเจนขึ้นในช่วง H2 ส่งผลให้ Fed จะไม่ ขึ้นดอกเบี้ยต่อ • ECB มีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยอีก 2 ครั้ง สู่ 3.75% ขณะที่ BOE อาจขึ้นดอกเบี้ยถึง 3 ครั้ง สู่5.25% เนื่องจากยุโรปเผชิญแรงกดดันเงินเฟ้อสูงกว่า สหรัฐฯ แม้เงินเฟ้อทั่วไปชะลอลงเร็วตามราคา พลังงาน แต่เงินเฟ้อพื้นฐานยังขยายตัวต่อเนื่อง จากค่าแรงที่เพิ่มขึ้นตามตลาดแรงงานที่ตึงตัว อีก ทั้งอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงยังติดลบสูง
  • 25. 25 สภาพคล่องในระบบการเงินโลกมีแนวโน้มปรับลดลงจาก Quantitative Tightening แม้วงจรขึ้นดอกเบี้ยจะ สิ้นสุดลง ซึ่งจะกระทบตลาดการเงิน EMs ผ่านเงินทุนเคลื่อนย้ายไหลเข้าที่ลดลงและ Bond yields ที่ทรงตัวสูง หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, CEIC, St Louis Fed และ The Institute of International Finance (IIF) ขนาดงบดุลของธนาคารกลางสหรัฐและยุโรป : Total assets หน่วย : USD Billion, EUR Billion ปริมาณเงิน (Money supply: M2) ของสหรัฐและยุโรป หน่วย : USD Billion เงินทุนเคลื่อนย้ายต่างชาติในตลาดการเงิน EMs หน่วย : USD Billion อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี หน่วย : % 3,000 5,000 7,000 9,000 2019 2020 2021 2022 2023 US EU -4.6 1.4 -10 0 10 20 30 10,000 15,000 20,000 2019 2020 2021 2022 2023 US EU US %YOY EU %YOY -1 1 3 5 Jan-19 Jun-19 Nov-19 Apr-20 Sep-20 Feb-21 Jul-21 Dec-21 May-22 Oct-22 Mar-23 Germany UK Italy US -30 0 30 60 90 2019 2020 2021 2022 2023 China Equity EM ex-China Equity China Debt EM ex-China Debt Total • สภาพคล่องในสหรัฐฯ และยุโรปเริ่มปรับ ลดลงตั้งแต่ 2022Q4 ตามการดาเนิน นโยบายการเงินแบบเข้มงวดผ่าน Quantitative Tightening (QT) ส่งผลให้ อัตราการขยายตัวของปริมาณเงินในระบบ ลดลง (หดตัวในสหรัฐฯ) • สภาพคล่องทั่วโลกที่ลดลงส่งผลให้ภาวะ การเงินตึงตัวขึ้นและกระทบต่อการลงทุนใน สินทรัพย์เสี่ยงเป็นสาคัญ โดยจะกระทบต่อ EMs ผ่านการไหลเข้าของเงินทุนเคลื่อนย้าย สู่ตลาดการเงิน EMs ที่ลดลง • Bond yield มีแนวโน้มทรงตัวสูง ตาม ทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบายทั่วโลก ซึ่งจะ กระทบต่อต้นทุนการระดมทุนของภาครัฐ และภาคธุรกิจ
  • 26. 26 เงินฝากในระบบธนาคารของ AEs มีแนวโน้มปรับลดลงต่อ ตามการใช้จ่ายหลังเปิดเมือง ค่าครองชีพสูง และ การขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางทาให้ผลตอบแทนสินทรัพย์การเงินอื่นน่าสนใจขึ้น หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Fed, ECB และ BoE U.S. bank deposits and U.S. money market funds หน่วย : ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ Euro Area banks deposits and MMFs หน่วย : ล้านล้านยูโร UK Bank Deposits หน่วย : พันล้านปอนด์ 17.2 5.3 2.5 3.0 3.5 4.0 4.5 5.0 5.5 10 12 14 16 18 Jan-19 Nov-19 Sep-20 Jul-21 May-22 Mar-23 Deposits: All commercial banks Money market funds assets (RHS) 14.9 0.7 0.4 0.5 0.6 0.7 12 13 14 15 16 Jan-19 Nov-19 Sep-20 Jul-21 May-22 Mar-23 Deposits MMFs (RHS) 3,494 0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2 2500 2750 3000 3250 3500 3750 Jan-19 Nov-19 Sep-20 Jul-21 May-22 Mar-23 ECB Hiking cycle BOE Hiking cycle Fed Hiking cycle • Excess saving ใน US มีแนวโน้มลดลง อาจส่งผลให้การบริโภคในระยะต่อไปลดลงตามมาได้ ผู้บริโภค US เริ่มใช้ Excess saving หลังเปิดเมืองเฉลี่ย 3 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือนตั้งแต่ Q3/2021 และเพิ่มเป็น 1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือนในปี 2022 โดยคาดว่า Excess saving ยังเหลืออยู่ราว 5 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งคาดว่าเพียงพอรองรับการบริโภคได้อย่างน้อยถึงสิ้นปีนี้ • เงินฝากระบบธนาคาร US เริ่มไหลไป MMFs มากขึ้นตั้งแต่ 2022 จาก 1) ผลตอบแทนที่สูงกว่า (ผลตอบแทนเฉลี่ยของ US MMFs สูงสุดในรอบ 50 ปี เฉลี่ย 4.7% เทียบ 0.02% ณ ม.ค. 2022 ส่งผลให้ Yield gap ในปัจจุบันสูงราว 4%) 2) สถานการณ์ Banking stress (Stability, Liquidity และ Yield) ส่งผลให้เงินฝากไหลออกมากขึ้น • Euro area และ UK ไม่ได้เผชิญ Deposit outflow มากเหมือน US เพราะโครงสร้างตลาดการเงินไม่ได้มีทางเลือกการลงทุนหลากหลายเท่า อีกทั้ง ขนาดของตลาดสินทรัพย์อื่น ๆ โดยเฉพาะ MMFs มีขนาดเล็ก มากเมื่อเทียบมูลค่าเงินฝากในระบบ (EA 4% vs US 30%) ทั้งนี้เงินฝากเริ่มมีแนวโน้มลดลงหลังเปิดเมืองและค่าครองชีพสูงต่อเนื่องเป็นสาคัญ
  • 27. 27 ตลาดตราสารหนี้โลกอาจเผชิญแรงกดดันเพิ่มเติม หาก BOJ ดาเนินนโยบายการเงินผ่อนคลายน้อยลงในช่วง ครึ่งปีหลัง เนื่องจากนักลงทุนญี่ปุ่นซึ่งมีบทบาทสาคัญ อาจย้ายเงินลงทุนกลับไปตลาดตราสารหนี้ญี่ปุ่น หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, CEIC, Fed, ECB และ BoE มูลค่าการถือตราสารทางการเงินในต่างประเทศของนักลงทุนญี่ปุ่นในช่วงผู้ว่าการ Kuroda หน่วย : % ขนาดตลาดของแต่ละประเทศ (April 2013 to Dec. 2022) เงินเฟ้อของญี่ปุ่นปรับชะลอลงเล็กน้อย แต่ Core ยังเร่งตัว สะท้อนอุปสงค์ที่อยู่ในทิศทางฟื้นตัว เพิ่มโอกาสที่เงินเฟ้อจะยั่งยืนที่กรอบของ BOJ ที่ 2% ให้มีมากขึ้น หน่วย : %YOY การเติบโตของค่าจ้างของญี่ปุ่น โดยรวมแม้ปรับชะลอลง แต่การเติบโตของค่าจ้างตามสัญญาที่เป็น ค่าจ้างพื้นฐานสาคัญขยายตัวต่อเนื่อง (ทั้ง %MOM และ %YOY) หน่วย : %YOY, %MOM หาก BOJ ดาเนินนโยบายการเงินผ่อนคลายน้อยลงในช่วงครึ่งปีหลัง ตลาดการเงินทั่วโลกมีแนวโน้ม ได้รับผลกระทบเพิ่มเติม จากการย้ายเงินออกจากตราสารหนี้โลกของนักลงทุนญี่ปุ่น นาโดยตลาดพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ที่นักลงทุนญี่ปุ่นถือครองพันธบัตรฯ รายใหญ่ที่สุด ตลาดการเงินในออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ และนิวซีแลนด์ มีแนวโน้มได้รับผลกระทบรุนแรง เช่นกัน เนื่องจากมีสัดส่วนเงินลงทุนจากญี่ปุ่นต่อมูลค่าตลาดการเงินในประเทศสูงสุด 3 อันดับแรกของโลก 4.1 -2 -1 0 1 2 3 4 5 Feb-15 Apr-16 Jun-17 Aug-18 Oct-19 Dec-20 Feb-22 Apr-23 Headline CPI CPI excl Fresh Food CPI excl Fresh Food & Energy -3 -1 1 3 5 Jun-17 Aug-18 Oct-19 Dec-20 Feb-22 Apr-23 Total avg monthly earn (YOY) Avg monthly earn (YOY): Scheduled Avg monthly earn (MOM): Scheduled Japan
  • 28. 28 นโยบายการเงินการคลังจีนมีแนวโน้มผ่อนคลายต่อไป เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ยังเปราะบางสูง และเริ่มมีสัญญาณแผ่วลง แต่ความสามารถในการใช้มาตรการกระตุ้นมีความจากัดมากขึ้นจากหลายปัจจัยกดดัน หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ หมายเหตุ : *RRR = required reserve ratio, LPR = loan prime rate, MLF = medium-term lending facility **LGFV = Local Government Financing Vehicle ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูล CEIC, PBOC และ IMF China นโยบายการเงินของจีน นโยบายการคลังของจีน อัตราการขยายตัวของสินเชื่อคงค้างจีน หน่วย : %YOY อัตราดอกเบี้ยสาคัญของจีน* หน่วย : % คาดการณ์หนี้สาธารณะโดย IMF (รวม LGFV)** หน่วย : % ต่อ GDP อัตราส่วนภาระดอกเบี้ยต่อรายได้รัฐบาลท้องถิ่น หน่วย : % (ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 12 เดือน) 0 2 4 6 8 10 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 May-23 RRR 1-YR LPR 5-YR LPR 1-YR MLF 10.0 10.5 11.0 11.5 12.0 12.5 13.0 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 0 5 10 15 Feb-20 Jul-20 Dec-20 May-21 Oct-21 Mar-22 Aug-22 Jan-23 77.9 80.8 86.3 98.8 101.4 110.1 121.9 128.9 136.3 0 20 40 60 80 100 120 140 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 2024 2025 • อัตราดอกเบี้ยนโยบายสาคัญของจีนมีแนวโน้มผ่อนคลายต่อไป เนื่องจากเศรษฐกิจยังฟื้นตัวไม่เต็มที่และอัตรา เงินเฟ้ออยู่ในระดับต่า ขณะที่ภาคอสังหาฯ ยังคงหดตัว ทั้งยอดขายและการก่อสร้าง • ประสิทธิภาพในการกระตุ้นการปล่อยสินเชื่อของนโยบายการเงินมีจากัด เนื่องจากอุปสงค์การลงทุนในจีน ยังซบเซา ส่วนหนึ่งเนื่องจากกาไรภาคอุตสาหกรรมยังหดตัวและความเชื่อมั่นยังไม่กลับมาเต็มที่ • ธนาคารขนาดใหญ่ของจีนปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก คาดว่าจะช่วยให้ธนาคารปล่อยสินเชื่อได้มากขึ้น และอาจเป็นสัญญาณว่าธนาคารกลางจีนจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระยะต่อไป • รัฐบาลจีนใช้นโยบายการคลังกระตุ้นเศรษฐกิจ ผ่านการกระตุ้นการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและมาตรการให้ผู้ซื้อ บ้านและบริษัทอสังหาฯ เข้าถึงเงินทุนได้ง่ายขึ้น • พื้นที่ทางการคลังของจีนมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากรัฐบาลท้องถิ่น ซึ่งเป็นผู้เบิกจ่ายงบประมาณ มีระดับหนี้สูงขึ้นมากและภาระดอกเบี้ยจ่ายที่สูงตามมา จึงเผชิญข้อจากัดในการออกมาตรการ • ในระยะต่อไป จีนมีแนวโน้มใช้นโยบายการคลังแบบผ่อนคลายต่อไป ในลักษณะของมาตรการ เฉพาะจุดเปราะบาง เช่น การกระตุ้นภาคอสังหาฯ
  • 31. 31 หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ CEIC SCB EIC คงประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2023 ที่ 3.9% จากแนวโน้มบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวดีและแรงหนุนจาก ภาคการท่องเที่ยว ขณะที่การส่งออกเป็นปัจจัยเสี่ยงด้านต่าสาคัญ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปขยายตัวชะลอลงมากตามราคา พลังงานในประเทศที่ปรับลดลง ในระยะต่อไปเงินเฟ้อยังมีความไม่แน่นอนจากมาตรการอุดหนุนราคาพลังงานภาครัฐ ประมาณการเศรษฐกิจ (กรณีฐาน) หน่วย 2021 2022 2023F ณ มี.ค. ณ มิ.ย. 2023 2023 GDP %YOY 1.6 2.6 3.9 3.9 การบริโภคภาคเอกชน %YOY 0.6 6.3 3.9 4.3 การบริโภคภาครัฐ %YOY 3.7 0.0 -1.5 -2.2 การลงทุนภาคเอกชน %YOY 3.0 5.1 3.0 2.4 การลงทุนภาครัฐ %YOY 3.4 -4.9 2.2 2.2 มูลค่าส่งออกสินค้า (USD BOP basis) %YOY 19.2 5.5 1.2 0.5 มูลค่านาเข้าสินค้า (USD BOP basis) %YOY 27.7 15.3 0.9 0.7 จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ล้านคน 0.4 11.2 30.2 30.2 อัตราเงินเฟ้อทั่วไป %YOY 1.2 6.1 2.7 2.1 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน %YOY 0.2 2.5 2.4 1.7 ราคาน้ามันดิบ Brent USD/Bbl. 70.5 100.9 77.8 80.7 อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (สิ้นปี) % 0.5 1.25 2.0 2.5 เงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ (สิ้นปี) THB/USD 33.2 34.6 32-33 32-33 • เศรษฐกิจจีนฟื้นตัวสูงจากฐานต่า • การฟื้นตัวต่อเนื่องของการบริโภค • นโยบายควบคุม/จากัดการส่งออกสินค้าของประเทศคู่แข่ง ปัจจัยสนับสนุน • การจัดตั้งรัฐบาลใหม่และความไม่แน่นอนทางการเมือง • หนี้ครัวเรือนกลับมาเร่งตัว ปัจจัยเสี่ยงในประเทศ • เศรษฐกิจโลกชะลอตัวกระทบการส่งออก • ปัญหา Geopolitics รุนแรงขึ้น กระทบ Global supply chain และการส่งออก • ปัญหาเสถียรภาพระบบการเงินโลก • นโยบายการเงินโลกตึงตัวนาน ปัจจัยเสี่ยงต่างประเทศ คาดการณ์ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)
  • 32. 32 เศรษฐกิจไทยยังอยู่ในทิศทางของการฟื้นตัวจากแรงส่งของภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชน ขณะที่หลายองค์ประกอบเติบโตชะลอลงหรือหดตัว โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าและการผลิตภาคอุตสาหกรรม หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ธนาคารแห่งประเทศไทย, สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, สานักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, สานักงานสถิติแห่งชาติ, การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และ CEIC เศรษฐกิจไทย Unit 2022 Q4/22 Q1/23 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 YTD ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) %YOY 2.6 1.4 2.7 2.7 ภาคอุปสงค์ ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน %YOY 8.4 5.2 5.5 6.9 2.4 4.8 4.8 6.7 7.6 4.7 ยอดขายรถในประเทศ %YOY 15.1 -3.0 -6.1 -4.8 -3.9 -5.6 -3.9 -8.4 -6.1 -6.1 ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน %YOY 2.6 -1.9 -0.2 -1.5 -4.2 -2.7 0.1 1.8 0.0 -0.2 ส่งออกหักทอง (ศุลกากร) %YOY 4.4 -8.3 -2.3 -5.1 -13.9 -4.4 -2.5 -0.4 -9.3 -4.0 ความเชื่อมั่นผู้บริโภค 100 = stable 43.9 47.9 52.7 47.9 49.7 51.7 52.6 53.8 55.0 55.7 53.8 ความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ 50 = stable 49.0 48.5 51.1 49.4 48.4 49.8 50.6 52.9 50.1 49.7 50.6 ภาคอุปทาน รายได้ภาคเกษตร %YOY 13.7 16.0 6.8 15.7 11.9 6.2 13.6 1.3 3.8 6.2 ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม %YOY 0.4 -6.0 -3.7 -5.3 -8.5 -4.8 -2.4 -3.9 -8.1 -3.9 อัตราการใช้กาลังการผลิต %, SA 62.8 60.1 60.5 60.4 59.3 60.0 61.4 60.1 59.5 60.3 จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ thousands 11153.3 5465 6478 1748 2241 2145 2114 2219 2182 8660 จานวนทริปในประเทศ %YOY 182.4 83.4 35.1 69.0 35.5 41.4 31.6 32.2 27.7 33.1 อัตราการเข้าพักโรงแรม % 47.2 62.6 70.3 63.3 70.0 71.4 69.9 69.5 70.1 70.2 ตลาดแรงงาน อัตราว่างงาน % 1.3 1.2 1.1 1.1 อัตราว่างงานของแรงงานอายุน้อย % 6.6 6.1 อัตราว่างงานของแรงงานในประกันสังคม % 2.1 1.8 1.8 1.8 1.7 1.7 1.6 1.9 1.9 1.8 ชั่วโมงการทางานภาคเอกชน hours/week 45.7 46.3 • อุปสงค์ในประเทศปรับดีขึ้น ขณะที่อุปสงค์จาก ต่างประเทศหดตัว การบริโภคภาคเอกชนขยายตัว ดีขึ้นต่อเนื่อง ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนชะลอ ตัวในเดือน เม.ย. สอดคล้องกับการส่งออกสินค้าที่ กลับมาหดตัวสูง • เศรษฐกิจภาคอุปทานขยายตัวจากภาคบริการและ ภาคเกษตร ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมยังหดตัว ภาคการท่องเที่ยวและภาคบริการที่เกี่ยวข้องยังมี แนวโน้มการฟื้นตัวที่ดี ภาคเกษตรขยายตัวได้จาก ปริมาณผลผลิต • ตลาดแรงงานฟื้นตัว อัตราการว่างงานในไตรมาส 1 ปี 2023 ฟื้นตัวกลับเข้าสู่ระดับก่อนเกิดวิกฤติ โดยเฉพาะภาคบริการ เศรษฐกิจไทยยังมีทิศทางฟื้นตัว