SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
วิชาหลักพยาธิวิทยา
505345
น.สพ.สมพงศ์ วงษ์มา
เนื้อหา
บทที่ 1 บทนา
บทที่ 2 การบาดเจ็บของเซลล์
บทที่ 3 การเสื่อมสภาพของเซลล์
บทที่ 4 การตายของเซลล์
บทที่ 5 การอักเสบ
บทที่ 6 การซ่อมแซมเนื้อเยื่อ
บทที่ 7 ระบบป้องกันอันตรายของร่างกาย
บทที่ 8 อิมมูนพยาธิวิทยา
บทที่ 9 เนื้องอก
บทที่ 10 มะเร็ง
บทที่ 1
บทนา
พยาธิวิทยา (Pathology) หมายถึง การศึกษาการเปลี่ยนแปลงใน
ร่างกายเมื่อเกิดโรค(disease) หรือ พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นในร่างกาย
ของคนหรือสัตว์เมื่อเกิดโรค ในการศึกษาเรื่องราวของโรคที่เกิดขึ้นจึง
จาเป็นต้องเรียนรู้ถึงสาเหตุ(etiology) พยาธิกาเนิด
(pathogenesis) อาการ(sign)และรอยโรค(lesions) รวมทั้ง
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่เกิดขึ้นตามมาจากโรคทั้งทางกายวิภาค ทาง
สรีรวิทยาและทางเคมี
คาศัพท์ทางพยาธิวิทยา
•โรค (disease) คือ สภาพที่ร่างกายไม่สามารถรักษาสภาพสมดุลได้ คือ
มีความผิดปกติทั้งร่างกายและจิตใจ
•สุขภาพ (health) คือ สภาพปกติของร่างกายและจิตใจ คือทุกส่วน
ของร่างกายทางานโดยปกติมีการตอบสนองได้ดีต่อสภาพแวดล้อม
ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพและมีสมดุลไว้ได้อย่างปกติเรียกว่า ภาวะ
ธารงดุล (homeostasis)
•สาเหตุของโรค (etiology) คือ การศึกษาถึงสาเหตุที่ทาให้เกิดโรค
หรือ พยาธิสภาพขึ้นในร่างกายสัตว์โดยทั่วไป จาแนกออกเป็น ตัวการ
ทางกายภาพ ทางเคมี ทางโภชนาการ และตัวการที่มีชีวิต เช่น
แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา โปรโตซัว ริคเกตเซีย เป็นต้น
คาศัพท์ทางพยาธิวิทยา(ต่อ)
•พยาธิกาเนิด (pathogenesis) หมายถึง กระบวนการของโรค ซึ่งทาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงในร่างกายเริ่มตั้งแต่เป็นโรค จนถึงระยะสุดท้าย คือ หายขาดจากโรค ตาย
หรือ เป็นตัวนาโรค(carrier)
•อาการ (signs) คือ การเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่สามารถตรวจสอบพบความ
ผิดปกติในร่างกายได้ ถึงแม้ว่าจะเป็นในระดับเซลล์
•กลุ่มอาการ (symptoms) เป็นความผิดปกติของร่างกายในระดับอวัยวะ และ
ระบบซึ่งสามารถสังเกตหรือมองเห็นได้
•รอยโรค (lesions) เป็นการเปลี่ยนแปลงของเซลล์หรือเนื้อเยื่อที่อยู่ในพยาธิสภาพ
ซึ่งสามารถสังเกตุเห็นได้ด้วยตาเปล่า(macroscopic) หรือเห็นได้โดยอาศัย
กล้องจุลทรรศน์ (microscope) เช่น กลุ่มวัณโรค หรือ ฝีหนอง ปอดอักเสบ
เป็นต้น
คำศัพท์ทำงพยำธิวิทยำ(ต่อ)
-รอยโรคจาเพาะ (pathognomonic lesion) หมายถึง รอยโรค
ที่เกิดขึ้นเป็นลักษณะเฉพาะของโรค ซึ่งไม่พบในโรคอื่นมีประโยชน์ช่วยการ
วินิจฉัยโรคได้เป็นอย่างดี
-การชันสูตรโรค (diagnosis) เป็นขั้นตอนการพิสูจน์สัตว์ป่ายที่เป็น
โรค(disease) โดยอาศัยข้อมูลจากอาการ(signs) กลุ่มอาการ
(symptoms) สาเหตุแท้จริง(etiology) การชันสูตรซาก
(necropsy หรือ autopsy) รอยโรค(lesions) และ ข้อมูลทาง
พยาธิคลินิค
-การชันสูตรซาก (necropsy หรือ autopsy) หมายถึง การผ่า
ชันสูตรโรคในสัตว์ที่ตาย อย่างเป็นระบบระเบียบ
-การตรวจชิ้นเนื้อจากสัตว์ป่วย (biopsy) คือ การตรวจชิ้นเนื้อที่ตัดเอา
มาจากตัวสัตว์ขณะที่ยังมีชีวิตอยู่
คำศัพท์ทำงพยำธิวิทยำ(ต่อ)
-การพยากรณ์โรค (prognosis) เป็นการพยากรณ์โรคโดยคลินิกแพทย์ ว่าโรคจะ
มีความรุนแรงมากขึ้นหรือลดลงอย่างไร ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการวางแนวทางรักษา การ
สิ้นสุดของโรค (result) อาจแบ่งได้ 3กรณีคือ การหายขาดจากโรค
(recovery) การหายจากโรคแต่พิการ ( invalidism) หรือ ตาย
(somatic death)
การจาแนกวิชาพยาธิวิทยา
หลักพยาธิวิทยาหรือพยาธิวิทยาทั่วไป
พยาธิวิทยาเฉพาะระบบ
พยาธิวิทยาคลินิก
พยาธิวิทยาของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
สรีรพยาธิวิทยา
พยาธิวิทยาเกี่ยวกับการทดลอง
ศัลยพยาธิวิทยา
องค์ประกอบที่จะต้องศึกษาในรายวิชาหลักพยาธิวิทยา
• สาเหตุของโรค(Etiology)
• พยาธิกาเนิดของโรค(Pathogenesis)
• วิการรอยโรค(Lesion)
•ลักษระการเปลียนแปลงทางชีวเคมีเมื่อเกิดโรค(Pathologic
Biochemistry)
•อาการของโรคเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยา(Sign or Symptom)
•ผลของการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยา(Termination of Pathological
changes)
•การวินิจฉัยโรค(Diagnosis)
•การพยากรณ์โรค(Prognosis)
Etiology or Causes of disease
1.สาเหตุโน้มนา (predisposing causes)
1.1. สาแหตุทางพันธุกรรม (genetic causes)
1.2. วิรูปของอวัยวะที่ไม่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรม
Agenesia หรือ Aplasia= ไม่มีพัฒนาการของอวัยวะ
Hypoplasia = ขนาดของอวัยวะเล็กกว่าปกติ
Atresia = การตีบตันของอวัยวะที่เป็นท่อ
Fissure = ลักษณะช่องโหว่ โดยมักเกิดที่แนวกลางของลาตัว
Fusion = การรวม หรือติดกันของอวัยวะที่เป็นคู่ เช่น ไต
Displacement = อวัยวะอยู่ผิดที่
ฯลฯ.
2. สาเหตุที่แท้จริง (exciting causes)
2.1 สาเหตุทางกายภาพ (Physical cuses)
2.1.1 การกระทบกระแทก
• contusion
• abrasion
• erosion
• laceration
• compression
2.1.2 กระแสไฟฟ้ า
2.1.3 อุณหภูมิ (temperature)
• ความร้อน (thermal burn)
• ความเย็น (hypothermia)
2.1.4 กัมมันตภาพรังสี (radiation injury)
2.2. สาเหตุทางเคมี (chemical causes)
2.2.1 สารอนินทรีย์เคมี
2.2.2 สารอินทรีย์เคมี
2.2.3 ภาวะขาดอาหาร (nutritional deficiency)
พยาธิกาเนิด(Pathogenesis)
พยาธิกาเนิด หมายถึง กระบวนการหรือกลไกดาเนินการเปลี่ยนแปลง
ต่างๆเมื่อเกิดโรค ตลอดทั้งปัจจัยต่างๆ ซึ่งเกี่ยวพันกับการทาให้เกิดโรค นับตั้งแต่
เริ่มแรกจนกระทั่งสิ้นสุด ซึ่งอาจหายขาดจากโรค หรือหายจากโรคแต่พิการหรือตาย
ไป
วิการรอยโรค(Lesion)
วิการรอยโรค คือ ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเซลล์หรือเนื้อเยื่อ
เนื่องจากผลของการเกิดโรค ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงด้วยเหตุผลของ
อันตรายมากระทบโดยตรง เช่น บาดแผลถูกมีดบาด หรือเกิดจากผลของ
ปฏิกิริยาตอบโต้ต่ออันตรายที่มากระทบร่างกายเอง เช่น บาดแผลถูกมีดบาด
หรือเกิดจากผลของปฏิกิริยาตอบโต้ต่ออันตรายที่มากระทบร่างกายเอง เช่น
โรคภูมิแพ้ต่างๆ เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีเมื่อเกิดโรค (Pathologic
biochemistry)
biochemistry คือ ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบทางชีวเคมี
ของของเหลวหรือเนื้อเยื่อเมื่อร่างกายเกิดโรค ดังเช่น สารบางชนิดที่ควรจะถูกกรอง
จากเลือดแล้วขับออกทางปัสสาวะ แต่กลับคั่งค้างอยู่ในเลือด เมื่อไตเกิดโรคไม่สามารถ
ทาหน้าที่ได้ตามปกติ (เช่น Urea, Creatinine) เราตรวจดูการเปลี่ยนแปลง
ปริมาณสารชีวเคมีเหล่านี้ในเลือดเพื่อนามาใช้แปลผลตีความ ประเมินการเกิดโรคของไต
ได้ ซึ่งการศึกษาในลักษณะนี้คือ การศึกษาในเชิงพยาธิคลินิกวิทยานั้นเอง
อาการแสดงออกของโรค(Clinical sign or Symptom)
Clinical sign or Symptom คือ ลักษณะอาการแสดงออกมาของโรค
ให้สังเกตได้ ตัวอย่างเช่น เมื่อเกิดวิการกระดูกขาหัก จะมีอาการเจ็บปวด ยืน เดิน ไม่ได้
หรือเกิดวิการการอักเสบของทางเดินหายใจส่วนต้น อาทิ เป็นหวัดจะมีอาการน้ามูกไหล
เป็นต้น
อาการของโรคนอกจากจะขึ้นกับชนิดของโรคแล้วยังขึ้นกับระยะของโรค
(Phase of disease) ว่าเป็นแบบเฉียบพลัน(Acute) หรือเรื้อรัง
(Chronic) และตาแหน่งเนื้อเยื่อที่เกิดโรค
บางกรณีเป็นอาการของโรคใดโรคหนึ่งซึ่งแสดงอาการป่วยออกมาได้หลายอาการ
เรียกว่า “กลุ่มอาการของโรค (Syndrome)”
ผลสิ้นสุดของโรค (Result or Termination)
1. การหายจากการเป็นโรค (Recovery)
2. การหายจากโรคแต่พิการ (Invalidism)
3. การตาย (Death)
การวินิจฉัยโรค (Diagnosis)
การวินิจฉัยโรค (Diagnosis) คือการสรุปความเห็นว่าอาการเจ็บไข้ได้ป่วย
นั้นคือโรคอะไรโดยอาจมีลักษณะเป็นแบบ Definitive diagnosis หมายถึงการ
วินิจฉัยจาเพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นโรคใดโรคหนึ่ง
การพยากรณ์โรค (Prognosis)
การพยากรณ์โรค (Prognosis) คือการประมาณผลการสิ้นสุดของ
โรคว่าจะลงเอยเช่นใด เพื่อเป็นประโยชน์ในการวางแนวทางในการรักษา การสิ้นสุดของ
โรคอาจสิ้นสุดได้ 3 กรณีคือ การหายขาดจากโรค (Recovery) การหายจาก
โรคแต่พิการ (Invalidism) หรือตาย (Somatic death) คือการเกิด
โรครุนแรงหรือร่างกายอ่อนแอมากจนเสียชีวิตจากโรคนั้นๆ
วิธีการแพร่ของเชื้อโรค (mode of transmission)
1. การติดต่อโดยตรง (direct contact)
1.1 ทางอวัยวะเพศ
1.2 ทางผิวหนัง
1.3 ทางบาดแผล
1.4 ทางหายใจ
2. การติดต่อจากแม่ไปยังลูก (congenital transmission)
2.1 ผ่านจากแม่มาทางไข่ (transovarian)
2.2 ติดต่อผ่านทางรก (transplacenta)
2.3 ติดต่อโดยทางน้านม (transmammarian)
3. การติดต่อโดยทางอ้อม (indirect contact)
4. การติดต่อโดยแมลงเป็ นพาหะ (arthropod vector)
4.1 แมลงเป็นตัวนาอย่างเดียว เช่น โรค anthrax
4.2 เชื้อโรคเพิ่มจานวนในตัวพาหะด้วย เช่น เชื้อริกเกตเซีย
4.3 เชื้อโรคถ่ายทอดไปยังลูกหลานของตัวพาหะด้วย เช่น โรค babesiosis
4.4 ส่วนหนึ่งของวงจรชีวิตเจริญอยู่ในพาหะ เช่น วงจรชีวิตของเชื้อที่ทาให้เกิดโรค
Surra เจริญอยู่ในแมลงวัน
ปั จจัยที่มีผลต่อความไวหรือความต้านทานโรค
1. การต้านทานการผ่านเข้าของเชื้อโรค
1.1 ผิวหนัง
1.2 ทางเดินอาหาร
1.3 เยื่อชุ่มตา
1.4 ทางเดินหายใจ
1.5 ท่อปั สสาวะ
2. การอักเสบและการตอบสนองทางอิมมูน
2.1 เชื้อโรคที่เจริญภายนอกเซลล์ มีแนวโน้มเกิดหนอง (suppurative
response)
2.2 เชื้อโรคที่เจริญภายในเซลล์ ปฏิกริยาการอักเสบมีแนวโน้มเป็นแบบเรื้อรัง
และเกิด granulomatous lesion
การตอบสนองทางอิมมูน เป็น defense ที่สาคัญต่อการติดเชื้อโดย
antibody จะมีผลดังนี้
– ทาให้เชื้อโรคมีโอกาสถูกเก็บกินมากขึ้น (opsonized
organism)
– ทาให้ขบวนการเก็บกินเกิดได้ดีขึ้น (facilitate
phagocytosis)
– ทาให้สารพิษและตัวรับเสื่อมสภาพ (inactivate toxin และ
surface receptor)
– กระตุ้น complement (activate complement) ทาให้
เชื้อโรค หรือเซลล์ที่ติดเชื้อเกิด lysis และ ผลิต chemotactic factor ทาให้
เกิดการอักเสบ
จุลชีพมีกลไกต่อสู้ host defense ได้หลายวิธี เช่น
– เปลี่ยนแปลง antigen ของจุลชีพ (modification of
parasitic antigen)
- สภาวะกดภูมิคุ้มกัน(immunosuppression) ทาให้มีความ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อมากขึ้น
- ยับยั้งการตอบสนองทางอิมมูน เช่น Hemophilus
influenza และ Streptococcus pneumoniae สร้าง
enzyme ไว้ใช้ตัดโมเลกุลของ IgA
3. ขวนการเก็บกินและฆ่าเชื้อโรค(Phagocytosis and
microbicide)
• เซลล์ที่มีหน้าที่นี้คือ neutrophil และ macrophage
• เชื้อโรคมีความสามารถในการหลีกเลี่ยง phagocytosis ได้หลายทาง
ดังต่อไปนี้
-ผลิตสารทาให้เกิด degranulation ของ lysosome ซึ่งทาให้
เซลล์ตาย
-หลั่งสารยับยั้ง chemotactic migration เช่น
streptolysin
-ยับยั้งขบวนการโอบล้อม(engulfment) ของ phagocytes
-surface component ของเชื้อแบคทีเรียบางตัว เช่น
Streptococcus spp. มี M protein ซึ่งต้านทานขบวนการเก็บกิน
ได้
4. สารอาหารและความต้านทานเชื้อโรค(nutrition and
resistance to infection)
- ภาวะขาดอาหารทาให้การสร้าง antibody และ cell-mediated
immunity ลดลง
5. ผลของพันธุกรรมต่อความไวของโรค (Genetic influence
on susceptibility to disease )
- เช่น แบคทีเรียที่มีแคปซูล ถ้าเกิดความผิดปกติทางพันธุกรรมแล้วแคปซูล
หลุดออกไป ก็จะทาให้ความรุนแรงหมดไปด้วย
6.อายุของสัตว์ (Age of host)
- เช่น canine herpes virus infection เกิดในลูกสุนัขเล็ก
7. ผลจากสิ่งแวดล้อม (Environmental effect)
- ความแห้ง ความเย็นของอากาศหรือแอมโมเนียที่สะสมในคอก มีผลต่อ
mucociliary apparatus

More Related Content

Viewers also liked

หลักพยาธิบ.1บทนำ
หลักพยาธิบ.1บทนำหลักพยาธิบ.1บทนำ
หลักพยาธิบ.1บทนำpop Jaturong
 
หลักพยาธิบ.1บทนำ
หลักพยาธิบ.1บทนำหลักพยาธิบ.1บทนำ
หลักพยาธิบ.1บทนำpop Jaturong
 
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx pop Jaturong
 
หลักพยาธิบ.8 immunopathology
หลักพยาธิบ.8 immunopathologyหลักพยาธิบ.8 immunopathology
หลักพยาธิบ.8 immunopathologypop Jaturong
 
Lelas the flower and the brand
Lelas the flower and the brandLelas the flower and the brand
Lelas the flower and the brandLelas Perfumes
 
หลักพยาธิบ.9เนื้องอกและมะเร็ง
หลักพยาธิบ.9เนื้องอกและมะเร็งหลักพยาธิบ.9เนื้องอกและมะเร็ง
หลักพยาธิบ.9เนื้องอกและมะเร็งpop Jaturong
 
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx pop Jaturong
 
หลักพยาธิบ.3.การเสื่อมสภาพ
หลักพยาธิบ.3.การเสื่อมสภาพหลักพยาธิบ.3.การเสื่อมสภาพ
หลักพยาธิบ.3.การเสื่อมสภาพpop Jaturong
 
Cb 01 goxcon-ordaz_vianey
Cb 01 goxcon-ordaz_vianeyCb 01 goxcon-ordaz_vianey
Cb 01 goxcon-ordaz_vianeyVianney Goxcon
 
Βάζο με λουλούιδια
Βάζο με λουλούιδιαΒάζο με λουλούιδια
Βάζο με λουλούιδιαDimitra Mylonaki
 
Digi doki pic
Digi doki picDigi doki pic
Digi doki picDigiDoki
 
Coupe d'Europe Classic Teams - Final Prague - Final
Coupe d'Europe Classic Teams - Final Prague - FinalCoupe d'Europe Classic Teams - Final Prague - Final
Coupe d'Europe Classic Teams - Final Prague - Finalbali35
 
Presentaciones de predios en La Paz
Presentaciones de predios en La PazPresentaciones de predios en La Paz
Presentaciones de predios en La PazALMINUTOMX
 
Isletme ve parekende sektorunde kayip onleme egitimi
Isletme ve parekende sektorunde kayip onleme egitimiIsletme ve parekende sektorunde kayip onleme egitimi
Isletme ve parekende sektorunde kayip onleme egitimiIdris Elmas
 

Viewers also liked (18)

หลักพยาธิบ.1บทนำ
หลักพยาธิบ.1บทนำหลักพยาธิบ.1บทนำ
หลักพยาธิบ.1บทนำ
 
หลักพยาธิบ.1บทนำ
หลักพยาธิบ.1บทนำหลักพยาธิบ.1บทนำ
หลักพยาธิบ.1บทนำ
 
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
 
หลักพยาธิบ.8 immunopathology
หลักพยาธิบ.8 immunopathologyหลักพยาธิบ.8 immunopathology
หลักพยาธิบ.8 immunopathology
 
Lelas the flower and the brand
Lelas the flower and the brandLelas the flower and the brand
Lelas the flower and the brand
 
หลักพยาธิบ.9เนื้องอกและมะเร็ง
หลักพยาธิบ.9เนื้องอกและมะเร็งหลักพยาธิบ.9เนื้องอกและมะเร็ง
หลักพยาธิบ.9เนื้องอกและมะเร็ง
 
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
 
หลักพยาธิบ.3.การเสื่อมสภาพ
หลักพยาธิบ.3.การเสื่อมสภาพหลักพยาธิบ.3.การเสื่อมสภาพ
หลักพยาธิบ.3.การเสื่อมสภาพ
 
Cb 01 goxcon-ordaz_vianey
Cb 01 goxcon-ordaz_vianeyCb 01 goxcon-ordaz_vianey
Cb 01 goxcon-ordaz_vianey
 
FAMPO House Bill 2 Updates and Draft Funding Plan
FAMPO House Bill 2 Updates and Draft Funding PlanFAMPO House Bill 2 Updates and Draft Funding Plan
FAMPO House Bill 2 Updates and Draft Funding Plan
 
Βάζο με λουλούιδια
Βάζο με λουλούιδιαΒάζο με λουλούιδια
Βάζο με λουλούιδια
 
Branding
BrandingBranding
Branding
 
Digi doki pic
Digi doki picDigi doki pic
Digi doki pic
 
Coupe d'Europe Classic Teams - Final Prague - Final
Coupe d'Europe Classic Teams - Final Prague - FinalCoupe d'Europe Classic Teams - Final Prague - Final
Coupe d'Europe Classic Teams - Final Prague - Final
 
Presentaciones de predios en La Paz
Presentaciones de predios en La PazPresentaciones de predios en La Paz
Presentaciones de predios en La Paz
 
KompteansebevisElektriker.PDF
KompteansebevisElektriker.PDFKompteansebevisElektriker.PDF
KompteansebevisElektriker.PDF
 
Isletme ve parekende sektorunde kayip onleme egitimi
Isletme ve parekende sektorunde kayip onleme egitimiIsletme ve parekende sektorunde kayip onleme egitimi
Isletme ve parekende sektorunde kayip onleme egitimi
 
навчальні екскурсії та практика
навчальні екскурсії та практиканавчальні екскурсії та практика
навчальні екскурсії та практика
 

Similar to หลักพยาธิ บ.4การตาย pptx

Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสWan Ngamwongwan
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดาsupphawan
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายSurapol Imi
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyKrongdai Unhasuta
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
Acute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritisAcute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritisNew Srsn
 
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenLifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenThira Woratanarat
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)Wan Ngamwongwan
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 

Similar to หลักพยาธิ บ.4การตาย pptx (20)

Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเส
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดา
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderly
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
Chronic muskeletal-2552 p3
Chronic muskeletal-2552 p3Chronic muskeletal-2552 p3
Chronic muskeletal-2552 p3
 
Cpg fibromyalgia
Cpg fibromyalgiaCpg fibromyalgia
Cpg fibromyalgia
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
Acute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritisAcute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritis
 
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenLifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
 
Asthma guideline for children
Asthma guideline for childrenAsthma guideline for children
Asthma guideline for children
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
Zoonosis
ZoonosisZoonosis
Zoonosis
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

หลักพยาธิ บ.4การตาย pptx

  • 2. เนื้อหา บทที่ 1 บทนา บทที่ 2 การบาดเจ็บของเซลล์ บทที่ 3 การเสื่อมสภาพของเซลล์ บทที่ 4 การตายของเซลล์ บทที่ 5 การอักเสบ บทที่ 6 การซ่อมแซมเนื้อเยื่อ บทที่ 7 ระบบป้องกันอันตรายของร่างกาย บทที่ 8 อิมมูนพยาธิวิทยา บทที่ 9 เนื้องอก บทที่ 10 มะเร็ง
  • 3. บทที่ 1 บทนา พยาธิวิทยา (Pathology) หมายถึง การศึกษาการเปลี่ยนแปลงใน ร่างกายเมื่อเกิดโรค(disease) หรือ พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นในร่างกาย ของคนหรือสัตว์เมื่อเกิดโรค ในการศึกษาเรื่องราวของโรคที่เกิดขึ้นจึง จาเป็นต้องเรียนรู้ถึงสาเหตุ(etiology) พยาธิกาเนิด (pathogenesis) อาการ(sign)และรอยโรค(lesions) รวมทั้ง การเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่เกิดขึ้นตามมาจากโรคทั้งทางกายวิภาค ทาง สรีรวิทยาและทางเคมี
  • 4. คาศัพท์ทางพยาธิวิทยา •โรค (disease) คือ สภาพที่ร่างกายไม่สามารถรักษาสภาพสมดุลได้ คือ มีความผิดปกติทั้งร่างกายและจิตใจ •สุขภาพ (health) คือ สภาพปกติของร่างกายและจิตใจ คือทุกส่วน ของร่างกายทางานโดยปกติมีการตอบสนองได้ดีต่อสภาพแวดล้อม ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพและมีสมดุลไว้ได้อย่างปกติเรียกว่า ภาวะ ธารงดุล (homeostasis) •สาเหตุของโรค (etiology) คือ การศึกษาถึงสาเหตุที่ทาให้เกิดโรค หรือ พยาธิสภาพขึ้นในร่างกายสัตว์โดยทั่วไป จาแนกออกเป็น ตัวการ ทางกายภาพ ทางเคมี ทางโภชนาการ และตัวการที่มีชีวิต เช่น แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา โปรโตซัว ริคเกตเซีย เป็นต้น
  • 5. คาศัพท์ทางพยาธิวิทยา(ต่อ) •พยาธิกาเนิด (pathogenesis) หมายถึง กระบวนการของโรค ซึ่งทาให้เกิด การเปลี่ยนแปลงในร่างกายเริ่มตั้งแต่เป็นโรค จนถึงระยะสุดท้าย คือ หายขาดจากโรค ตาย หรือ เป็นตัวนาโรค(carrier) •อาการ (signs) คือ การเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่สามารถตรวจสอบพบความ ผิดปกติในร่างกายได้ ถึงแม้ว่าจะเป็นในระดับเซลล์ •กลุ่มอาการ (symptoms) เป็นความผิดปกติของร่างกายในระดับอวัยวะ และ ระบบซึ่งสามารถสังเกตหรือมองเห็นได้ •รอยโรค (lesions) เป็นการเปลี่ยนแปลงของเซลล์หรือเนื้อเยื่อที่อยู่ในพยาธิสภาพ ซึ่งสามารถสังเกตุเห็นได้ด้วยตาเปล่า(macroscopic) หรือเห็นได้โดยอาศัย กล้องจุลทรรศน์ (microscope) เช่น กลุ่มวัณโรค หรือ ฝีหนอง ปอดอักเสบ เป็นต้น
  • 6. คำศัพท์ทำงพยำธิวิทยำ(ต่อ) -รอยโรคจาเพาะ (pathognomonic lesion) หมายถึง รอยโรค ที่เกิดขึ้นเป็นลักษณะเฉพาะของโรค ซึ่งไม่พบในโรคอื่นมีประโยชน์ช่วยการ วินิจฉัยโรคได้เป็นอย่างดี -การชันสูตรโรค (diagnosis) เป็นขั้นตอนการพิสูจน์สัตว์ป่ายที่เป็น โรค(disease) โดยอาศัยข้อมูลจากอาการ(signs) กลุ่มอาการ (symptoms) สาเหตุแท้จริง(etiology) การชันสูตรซาก (necropsy หรือ autopsy) รอยโรค(lesions) และ ข้อมูลทาง พยาธิคลินิค -การชันสูตรซาก (necropsy หรือ autopsy) หมายถึง การผ่า ชันสูตรโรคในสัตว์ที่ตาย อย่างเป็นระบบระเบียบ -การตรวจชิ้นเนื้อจากสัตว์ป่วย (biopsy) คือ การตรวจชิ้นเนื้อที่ตัดเอา มาจากตัวสัตว์ขณะที่ยังมีชีวิตอยู่
  • 7. คำศัพท์ทำงพยำธิวิทยำ(ต่อ) -การพยากรณ์โรค (prognosis) เป็นการพยากรณ์โรคโดยคลินิกแพทย์ ว่าโรคจะ มีความรุนแรงมากขึ้นหรือลดลงอย่างไร ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการวางแนวทางรักษา การ สิ้นสุดของโรค (result) อาจแบ่งได้ 3กรณีคือ การหายขาดจากโรค (recovery) การหายจากโรคแต่พิการ ( invalidism) หรือ ตาย (somatic death)
  • 9. องค์ประกอบที่จะต้องศึกษาในรายวิชาหลักพยาธิวิทยา • สาเหตุของโรค(Etiology) • พยาธิกาเนิดของโรค(Pathogenesis) • วิการรอยโรค(Lesion) •ลักษระการเปลียนแปลงทางชีวเคมีเมื่อเกิดโรค(Pathologic Biochemistry) •อาการของโรคเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยา(Sign or Symptom) •ผลของการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยา(Termination of Pathological changes) •การวินิจฉัยโรค(Diagnosis) •การพยากรณ์โรค(Prognosis)
  • 10. Etiology or Causes of disease 1.สาเหตุโน้มนา (predisposing causes) 1.1. สาแหตุทางพันธุกรรม (genetic causes) 1.2. วิรูปของอวัยวะที่ไม่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรม Agenesia หรือ Aplasia= ไม่มีพัฒนาการของอวัยวะ Hypoplasia = ขนาดของอวัยวะเล็กกว่าปกติ Atresia = การตีบตันของอวัยวะที่เป็นท่อ Fissure = ลักษณะช่องโหว่ โดยมักเกิดที่แนวกลางของลาตัว Fusion = การรวม หรือติดกันของอวัยวะที่เป็นคู่ เช่น ไต Displacement = อวัยวะอยู่ผิดที่ ฯลฯ.
  • 11. 2. สาเหตุที่แท้จริง (exciting causes) 2.1 สาเหตุทางกายภาพ (Physical cuses) 2.1.1 การกระทบกระแทก • contusion • abrasion • erosion • laceration • compression 2.1.2 กระแสไฟฟ้ า 2.1.3 อุณหภูมิ (temperature) • ความร้อน (thermal burn) • ความเย็น (hypothermia)
  • 12. 2.1.4 กัมมันตภาพรังสี (radiation injury) 2.2. สาเหตุทางเคมี (chemical causes) 2.2.1 สารอนินทรีย์เคมี 2.2.2 สารอินทรีย์เคมี 2.2.3 ภาวะขาดอาหาร (nutritional deficiency) พยาธิกาเนิด(Pathogenesis) พยาธิกาเนิด หมายถึง กระบวนการหรือกลไกดาเนินการเปลี่ยนแปลง ต่างๆเมื่อเกิดโรค ตลอดทั้งปัจจัยต่างๆ ซึ่งเกี่ยวพันกับการทาให้เกิดโรค นับตั้งแต่ เริ่มแรกจนกระทั่งสิ้นสุด ซึ่งอาจหายขาดจากโรค หรือหายจากโรคแต่พิการหรือตาย ไป
  • 13. วิการรอยโรค(Lesion) วิการรอยโรค คือ ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเซลล์หรือเนื้อเยื่อ เนื่องจากผลของการเกิดโรค ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงด้วยเหตุผลของ อันตรายมากระทบโดยตรง เช่น บาดแผลถูกมีดบาด หรือเกิดจากผลของ ปฏิกิริยาตอบโต้ต่ออันตรายที่มากระทบร่างกายเอง เช่น บาดแผลถูกมีดบาด หรือเกิดจากผลของปฏิกิริยาตอบโต้ต่ออันตรายที่มากระทบร่างกายเอง เช่น โรคภูมิแพ้ต่างๆ เป็นต้น
  • 14. การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีเมื่อเกิดโรค (Pathologic biochemistry) biochemistry คือ ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบทางชีวเคมี ของของเหลวหรือเนื้อเยื่อเมื่อร่างกายเกิดโรค ดังเช่น สารบางชนิดที่ควรจะถูกกรอง จากเลือดแล้วขับออกทางปัสสาวะ แต่กลับคั่งค้างอยู่ในเลือด เมื่อไตเกิดโรคไม่สามารถ ทาหน้าที่ได้ตามปกติ (เช่น Urea, Creatinine) เราตรวจดูการเปลี่ยนแปลง ปริมาณสารชีวเคมีเหล่านี้ในเลือดเพื่อนามาใช้แปลผลตีความ ประเมินการเกิดโรคของไต ได้ ซึ่งการศึกษาในลักษณะนี้คือ การศึกษาในเชิงพยาธิคลินิกวิทยานั้นเอง
  • 15. อาการแสดงออกของโรค(Clinical sign or Symptom) Clinical sign or Symptom คือ ลักษณะอาการแสดงออกมาของโรค ให้สังเกตได้ ตัวอย่างเช่น เมื่อเกิดวิการกระดูกขาหัก จะมีอาการเจ็บปวด ยืน เดิน ไม่ได้ หรือเกิดวิการการอักเสบของทางเดินหายใจส่วนต้น อาทิ เป็นหวัดจะมีอาการน้ามูกไหล เป็นต้น อาการของโรคนอกจากจะขึ้นกับชนิดของโรคแล้วยังขึ้นกับระยะของโรค (Phase of disease) ว่าเป็นแบบเฉียบพลัน(Acute) หรือเรื้อรัง (Chronic) และตาแหน่งเนื้อเยื่อที่เกิดโรค บางกรณีเป็นอาการของโรคใดโรคหนึ่งซึ่งแสดงอาการป่วยออกมาได้หลายอาการ เรียกว่า “กลุ่มอาการของโรค (Syndrome)”
  • 16. ผลสิ้นสุดของโรค (Result or Termination) 1. การหายจากการเป็นโรค (Recovery) 2. การหายจากโรคแต่พิการ (Invalidism) 3. การตาย (Death) การวินิจฉัยโรค (Diagnosis) การวินิจฉัยโรค (Diagnosis) คือการสรุปความเห็นว่าอาการเจ็บไข้ได้ป่วย นั้นคือโรคอะไรโดยอาจมีลักษณะเป็นแบบ Definitive diagnosis หมายถึงการ วินิจฉัยจาเพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นโรคใดโรคหนึ่ง
  • 17. การพยากรณ์โรค (Prognosis) การพยากรณ์โรค (Prognosis) คือการประมาณผลการสิ้นสุดของ โรคว่าจะลงเอยเช่นใด เพื่อเป็นประโยชน์ในการวางแนวทางในการรักษา การสิ้นสุดของ โรคอาจสิ้นสุดได้ 3 กรณีคือ การหายขาดจากโรค (Recovery) การหายจาก โรคแต่พิการ (Invalidism) หรือตาย (Somatic death) คือการเกิด โรครุนแรงหรือร่างกายอ่อนแอมากจนเสียชีวิตจากโรคนั้นๆ
  • 18. วิธีการแพร่ของเชื้อโรค (mode of transmission) 1. การติดต่อโดยตรง (direct contact) 1.1 ทางอวัยวะเพศ 1.2 ทางผิวหนัง 1.3 ทางบาดแผล 1.4 ทางหายใจ 2. การติดต่อจากแม่ไปยังลูก (congenital transmission) 2.1 ผ่านจากแม่มาทางไข่ (transovarian) 2.2 ติดต่อผ่านทางรก (transplacenta) 2.3 ติดต่อโดยทางน้านม (transmammarian)
  • 19. 3. การติดต่อโดยทางอ้อม (indirect contact) 4. การติดต่อโดยแมลงเป็ นพาหะ (arthropod vector) 4.1 แมลงเป็นตัวนาอย่างเดียว เช่น โรค anthrax 4.2 เชื้อโรคเพิ่มจานวนในตัวพาหะด้วย เช่น เชื้อริกเกตเซีย 4.3 เชื้อโรคถ่ายทอดไปยังลูกหลานของตัวพาหะด้วย เช่น โรค babesiosis 4.4 ส่วนหนึ่งของวงจรชีวิตเจริญอยู่ในพาหะ เช่น วงจรชีวิตของเชื้อที่ทาให้เกิดโรค Surra เจริญอยู่ในแมลงวัน
  • 20. ปั จจัยที่มีผลต่อความไวหรือความต้านทานโรค 1. การต้านทานการผ่านเข้าของเชื้อโรค 1.1 ผิวหนัง 1.2 ทางเดินอาหาร 1.3 เยื่อชุ่มตา 1.4 ทางเดินหายใจ 1.5 ท่อปั สสาวะ 2. การอักเสบและการตอบสนองทางอิมมูน 2.1 เชื้อโรคที่เจริญภายนอกเซลล์ มีแนวโน้มเกิดหนอง (suppurative response) 2.2 เชื้อโรคที่เจริญภายในเซลล์ ปฏิกริยาการอักเสบมีแนวโน้มเป็นแบบเรื้อรัง และเกิด granulomatous lesion
  • 21. การตอบสนองทางอิมมูน เป็น defense ที่สาคัญต่อการติดเชื้อโดย antibody จะมีผลดังนี้ – ทาให้เชื้อโรคมีโอกาสถูกเก็บกินมากขึ้น (opsonized organism) – ทาให้ขบวนการเก็บกินเกิดได้ดีขึ้น (facilitate phagocytosis) – ทาให้สารพิษและตัวรับเสื่อมสภาพ (inactivate toxin และ surface receptor) – กระตุ้น complement (activate complement) ทาให้ เชื้อโรค หรือเซลล์ที่ติดเชื้อเกิด lysis และ ผลิต chemotactic factor ทาให้ เกิดการอักเสบ
  • 22. จุลชีพมีกลไกต่อสู้ host defense ได้หลายวิธี เช่น – เปลี่ยนแปลง antigen ของจุลชีพ (modification of parasitic antigen) - สภาวะกดภูมิคุ้มกัน(immunosuppression) ทาให้มีความ เสี่ยงต่อการติดเชื้อมากขึ้น - ยับยั้งการตอบสนองทางอิมมูน เช่น Hemophilus influenza และ Streptococcus pneumoniae สร้าง enzyme ไว้ใช้ตัดโมเลกุลของ IgA
  • 23. 3. ขวนการเก็บกินและฆ่าเชื้อโรค(Phagocytosis and microbicide) • เซลล์ที่มีหน้าที่นี้คือ neutrophil และ macrophage • เชื้อโรคมีความสามารถในการหลีกเลี่ยง phagocytosis ได้หลายทาง ดังต่อไปนี้ -ผลิตสารทาให้เกิด degranulation ของ lysosome ซึ่งทาให้ เซลล์ตาย -หลั่งสารยับยั้ง chemotactic migration เช่น streptolysin -ยับยั้งขบวนการโอบล้อม(engulfment) ของ phagocytes -surface component ของเชื้อแบคทีเรียบางตัว เช่น Streptococcus spp. มี M protein ซึ่งต้านทานขบวนการเก็บกิน ได้
  • 24. 4. สารอาหารและความต้านทานเชื้อโรค(nutrition and resistance to infection) - ภาวะขาดอาหารทาให้การสร้าง antibody และ cell-mediated immunity ลดลง 5. ผลของพันธุกรรมต่อความไวของโรค (Genetic influence on susceptibility to disease ) - เช่น แบคทีเรียที่มีแคปซูล ถ้าเกิดความผิดปกติทางพันธุกรรมแล้วแคปซูล หลุดออกไป ก็จะทาให้ความรุนแรงหมดไปด้วย 6.อายุของสัตว์ (Age of host) - เช่น canine herpes virus infection เกิดในลูกสุนัขเล็ก 7. ผลจากสิ่งแวดล้อม (Environmental effect) - ความแห้ง ความเย็นของอากาศหรือแอมโมเนียที่สะสมในคอก มีผลต่อ mucociliary apparatus