SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
1
(ราง ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓)
Blueprint เพื่อการเขาถึงวัคซีนปองกัน COVID 19 ของประชาชนไทย
(Blueprint: Access to COVID 19 vaccines for Thais )
๑. สถานการณการระบาดในระดับโลก [๑]
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีการระบาดในสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งแตเดือน
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เปนตนมา การระบาดของโรคขยายเปนวงกวาง พบผูปวยยืนยันและเสียชีวิตเพิ่มขึ้นอยาง
ตอเนื่อง กระทั่งวันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ องคการอนามัยโลกไดประกาศใหโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เปน
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหวางประเทศ (PHEIC: Public Health Emergency of International Concern)
และลาสุดเมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ องคการอนามัยโลกออกแถลงการณระบุวาไวรัสโคโรนา 2019 ไดเขาสู
ภาวะแพรระบาดไปทั่วโลก (Pandemic) หลายประเทศทั่วโลกไดออกมาตรการตางๆ เพื่อหยุดยั้งการระบาดของไวรัส
เพื่อลดความสูญเสียชีวิตและบรรเทาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม
การประเมินความเสี่ยง และคาดหมายสถานการณการระบาดในประเทศไทย
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เริ่มแพรเขาสูประเทศไทยตั้งแตตนเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ประเทศ
ไทยมีความพยายามอยางเต็มที่ เพื่อเฝาระวังปองกันการนําเชื้อเขาจากตางประเทศ และควบคุมการระบาดในประเทศ
โดยมีการออกมาตรการอยางตอเนื่องเพื่อหยุดยั้งการระบาดของเชื้อไวรัสและบรรเทาผลกระทบทางเศรษฐกิจและ
สังคม อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน ภายหลังจากที่ประเทศไทยไดประกาศใชพระราชกําหนดฉุกเฉินเพื่อควบคุม
สถานการณ สถานการณการระบาดยังคงไมสามารถวางใจได โดยมีการระบาดในกรุงเทพและกระจายไปในจังหวัด
ตางๆ ทั่วประเทศไทยอยางตอเนื่อง [๒]
ทั้งนี้ แมวารัฐบาล ภาคสวนตางๆ และประชาชนจะตระหนักถึงความสําคัญและรวมกันแกไขปญหา
อยางเต็มที่ แตสิ่งที่เกิดขึ้นแลวและยังคงมีผลกระทบอยางตอเนื่องคือการสูญเสียชีวิตและความสูญเสียทางเศรษฐกิจ
และสังคม ธนาคารแหงประเทศไทยไดสรุปประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจพ.ศ. ๒๕๖๓ ที่รอยละ - ๕.๓
[๓] และสูญเสียทางเศรษฐกิจเปนมูลคามหาศาล อาจสูงถึง ๕.๖ พันลานเหรียญสหรัฐ หรือคิดเปนรอยละ ๑.๑๑ของ
ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ [๔] ภาคธุรกิจประสบปญหาจนตองปดกิจการและลดจํานวนพนักงาน สงผลใหมี
ประชาชนชั้นกลางและประชากรกลุมเปราะบางจํานวนมากที่ไดรับผลกระทบตอความมั่นคงในการดํารงชีวิตพื้นฐาน
ซึ่งรัฐบาลไมไดนิ่งนอนใจและไดออกมาตรการความชวยเหลือเพื่อลดผลกระทบตางๆ คิดเปนเปนมูลคาหลายแสน
ลานบาท และหากการระบาดยังดําเนินตอเนื่องไปอีกนานกวา ๑ ป รัฐบาลจะตองใชงบประมาณอีกจํานวนมากเพื่อ
สนับสนุนภาคสวนตางๆ ในการแกไขปญหา
ประเทศไทยจําเปนตองมีมาตรการในระยะตอไป เพื่อสามารถประคองกิจการของประเทศใหดําเนินไปได
และลดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม นอกเหนือจากมาตรการทางดานเศรษฐกิจและสังคมแลว “วัคซีน” จัดเปน
เครื่องมือสําคัญและเปนนวัตกรรมทางสุขภาพที่มีประสิทธิภาพสูงที่จะเปนคําตอบในการปองกันควบคุมโรคและทํา
ใหประเทศไทยผานพนวิกฤติครั้งนี้ไปได
ความสําคัญในการวิจัยพัฒนาวัคซีน COVID19
จากสถานการณการระบาดทั่วโลกและในประเทศ ที่ยังไมมีแนวโนมวาจะหยุดการระบาดไดในระยะเวลา
อันใกล “วัคซีน” จัดเปนเครื่องมือสําคัญที่จะเปนคําตอบในการปองกันควบคุมโรคและลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ
และสังคมได
2
หากจะเรียนรูจากการระบาดของไขหวัดใหญ ๒๐๐๙ ณ เวลานั้น ประเทศไทยไมมีขีดความสามารถใน
การผลิตวัคซีนไดเอง ทําใหตองซื้อวัคซีนจากตางประเทศเพื่อนํามาปองกันควบคุมการระบาด ตองสั่งจองวัคซีน
ลวงหนาและตองเขาคิวกับประเทศอื่นๆ ที่มีความตองการใชวัคซีนเชนเดียวกัน และประเทศไทยไมมีทางเลือกอื่น ซึ่ง
ในที่สุด ประเทศไทยไดวัคซีนมาใชจํานวน ๒ ลานโดส ซึ่งไมเพียงพอที่จะใชกับประชากรทุกคนในประเทศ และไม
เพียงพอแมแตกับประชากรกลุมเสี่ยงที่อาจมีการติดเชื้อและมีอาการรุนแรง แตประสบการณครั้งนั้น ถือวาประเทศ
ไทยโชคดี ที่การระบาดของโรคไมรุนแรงและมีความสูญเสียนอย และหลังจากนั้น ประเทศไทยมีความกาวหนาใน
หลายดานในการพัฒนาวัคซีน มีปจจัยพื้นฐานสําคัญ เกือบครบวงจร ที่เพียงพอที่ประเทศไทยจะลงทุนและทุมเท
สรรพกําลังอยางจริงจังในการพัฒนาวัคซีนเองเพื่อหยุดยั้งการระบาดในครั้งนี้
จากบทเรียนที่ผานมาและสถานการณการระบาดในปจจุบัน ประเทศไทยจําเปนตองตัดสินใจและตอง
ลงทุน โดยมีเปาหมายสําคัญเรงดวน เพื่อใหประเทศไทยมีวัคซีนมาใชเพื่อควบคุมการระบาด ลดการสูญเสียชีวิตและ
ลดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งมีแนวโนมที่จะสูญเสียตอเนื่องยาวนานและอาจจะฟนคืนกลับมาไดยากใน
ระยะเวลาอันใกล การลงทุนเพื่อใหประชาชนไทยไดเขาถึงวัคซีนในงบประมาณหลักพันลาน ถือวามีความคุมคาหาก
จะเทียบกับความสูญเสียในกรณีไมมีวัคซีนใช ความลาชาในการจัดการใหมีวัคซีนใช แมเพียงเดือนเดียว ก็ทําใหเกิด
ความสูญเสียนับแสนลานได
ในการนี้ จึงมีความจําเปนที่ตองมี Blueprint เพื่อการเขาถึงวัคซีนปองกัน COVID 19 ของประชาชน
ไทยเพื่อเปนกรอบนโยบายในการพึ่งพาตนเองดานวัคซีนที่เปนรูปธรรมสําหรับพัฒนาวัคซีน COIVID 19 ควบคูกับ
การเตรียมแผนการผลิตวัคซีนซึ่งเปนประเด็นเรงดวนของประเทศและมีงบประมาณสนับสนุนอยางทันทวงที
๒. ความเคลื่อนไหวในระดับโลก
๒.๑ R&D Blueprint for action to prevent epidemics [๕]
ในการประชุมสมัชชาอนามัยโลกสมัยที่ ๖๘ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ประเทศสมาชิกพองรับ
R&D Blueprint for action to prevent epidemics [๖] เพื่อใชเปนกรอบในการขับเคลื่อนการวิจัยพัฒนาที่
สําคัญสําหรับภาวะฉุกเฉิน และเมื่อมีการระบาดของ COVID 19 องคการอนามัยโลกก็ไดเรงรัดนํา R&D blueprint
มาเปนกรอบการดําเนินงานสําคัญสําหรับการวางทิศทางของการวิจัยในระดับโลกเพื่อตอบสนองตอการระบาดของ
CoVID 19 ในครั้งนี้
R&D blueprint เปนแผนผังที่จัดทําเพื่อวัตถุประสงคในการวาง roadmap สําหรับการวิจัยพัฒนาเพื่อ
เตรียมความพรอมและตอบสนองตอการระบาดใหญ โดยรวบรวมองคความรูและแนวปฏิบัติที่ดี มาวิเคราะหและ
จัดทําโดยใชกระบวนการอยางเปนระบบ การดําเนินการนี้เปนความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกและผูมีสวนได
สวนเสียสําคัญในระดับโลกและในระดับประเทศ ทั้งนี้แบงการทํางานเปน ๕ ดานหลักไดแก
 การจัดลําดับความสําคัญของเชื้อกอโรค
 การจัดลําดับความสําคัญของงานวิจัยพัฒนา
 การพัฒนากลไกการอภิบาลในภาพรวม
3
 ศึกษา คนหา กลไกสนับสนุนการเงินแนวทางใหมสําหรับการเตรียมความพรอมและการ
ตอบสนองของการระบาดใหญ
 การพัฒนาระบบติดตามประเมินผล
การดําเนินการครั้งนี้ มีผูเลนสําคัญ ไดแก WHO CEPI (Coalition for Epidemic Preparedness
Innovations) BMGF (Bill and Melinda Gates Foundation) US CDC (US Center for Disease Control) US
NIH (US National Institute of Health) The Wellcome trust และประเทศสมาชิกที่มีขีดความสามารถและ
เทคโนโลยีในการวิจัยพัฒนา [๗]
๒.๒ ทุนสนับสนุนการวิจัยพัฒนาและการผลิตวัคซีน COVID 19 ในระดับโลก [๘]
ในปจจุบันแหลงทุนสําคัญที่สนับสนุนการพัฒนาวัคซีนในระดับโลกไดใหทุนสนับสนุนผาน The Coalition
for Epidemic Preparedness (CEPI) ซึ่งจัดตั้ง ณ เมืองดาวอส ในการประชุม World Economic Forum
Conference ในปพ.ศ. ๒๕๖๐ โดย CEPI เปนองคกรหุนสวนระหวาง ภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรการกุศล และ
ภาคประชาสังคม มีพันธกิจสําคัญคือ เพื่อเรงรัดการพัฒนาวัคซีนสําหรับโรคอุบัติใหมและสรางความมั่นใจในการ
เขาถึงวัคซีนอยางเทาเทียมในชวงที่มีการระบาด
ในการระบาดของ COVID 19 ในครั้งนี้ CEPI มีบทบาทสําคัญเปนอยางยิ่ง โดยไดประมาณการวาใน
การพัฒนาวัคซีนจะตองใชงบประมาณ ๒ พันลานเหรียญสหรัฐ โดยมีแผนที่จะสงเสริมวัคซีนตนแบบที่มีศักยภาพ
๓ ชนิด และสามารถนําไปสูการขึ้นทะเบียน รวมถึงกระจายการผลิตเพื่อใชในการควบคุมการระบาดทั่วโลก โดยมี
แผนในการพัฒนาใน ๓ ระยะ สําหรับป พ.ศ. ๒๕๖๓
ระยะแรก งบประมาณ ๑๐๐ ลานเหรียญสหรัฐ สนับสนุนวัคซีนตนแบบ ๙ ชนิดสําหรับการทดสอบ
วัคซีนในคนระยะที่ ๑
ระยะที่ ๒ งบประมาณ ๓๗๕ ลานเหรียญสหรัฐ ภายในเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ สําหรับการเตรียมการ
ทดสอบในคนระยะที่ ๒ และ ๓ รวมถึงการผลิตวัคซีนตนแบบใน pilot scale และการลงทุนเบื้องตนสําหรับการ
ขยายกําลังการผลิตในระดับโลก
ระยะที่ ๓ สนับสนุนงบประมาณ ๔๐๐ ลานเหรียญสหรัฐ ภายในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๓ เพื่อทําการ
ทดสอบในคนระยะที่ ๒ และ ๓ สําหรับวัคซีนตนแบบ ๒ ชนิดที่นาจะไดผลดีที่สุด ในประเทศตางๆ จํานวนหนึ่ง
รวมถึงการขยาย/ถายทอดเทคโนโลยีการผลิต
ในปพ.ศ. ๒๕๖๔ จะสนับสนุนงบประมาณ ๕๐๐ - ๗๐๐ ลานเหรียญสหรัฐ เพื่อสงเสริมการผลิตใน
ระดับโลกโดยกระจายกําลังการผลิตไปทั่วทุกภูมิภาค
4
นอกจากงบประมาณผานการขับเคลื่อนโดย CEPI แลว รัฐบาลของประเทศตางๆ รวมถึงภาคเอกชน
ตางสนับสนุนงบประมาณเพื่อการวิจัยพัฒนาวัคซีนในประเทศของตน และมีการทําความรวมมือทวิภาคีกับ
องคกรตางๆ ที่มีศักยภาพ ทั้งระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรการกุศลตางๆ
๒.๓ State of the art at global level: COVID 19 vaccines [๙]
ในปจจุบันประชาคมวิทยาศาสตรและวัคซีนทั่วโลกตางมีความตื่นตัวอยางมากและมีการพัฒนา
วัคซีนในหลายรูปแบบ ขอมูลจากองคการอนามัยโลกรวบรวมวัคซีนตนแบบจากทั่วโลกได ๗๐ ตัว โดยวัคซีน
ตนแบบจาก CanSino Biological Inc. and Beijing Institute of Biotechnology มีความกาวหนามากที่สุด มี
การทดสอบในมนุษยระยะที่ ๒ แลว ลําดับตอมา มีวัคซีนตนแบบจาก Moderna, InovioPharmaceuticals และ
Oxford University ที่มีการทดสอบในมนุษยระยะที่ ๑ นอกจากวัคซีนที่กลาวมาขางตน ยังมีวัคซีนตนแบบไมไดอยู
ในขอมูลที่รวบรวมโดยองคการอนามัยโลกที่มีการทดสอบในมนุษยระยะที่ ๑ ไดแก วัคซีนตนแบบจาก Shenzhen
Geno-immune medical institute จํานวน ๒ ตัว สําหรับวัคซีนสวนใหญยังอยูในระยะการพัฒนาระดับพรีคลินิก
ทุกตัว โดยมีแนวโนมของรูปแบบเทคโนโลยีเปนเทคโนโลยีใหม เชน DNA, RNA, Viral vector platform ซึ่งเปน
เทคโนโลยีที่เหมาะสมในบริบทของการระบาดเนื่องจากรูปแบบเทคโนโลยีเหลานี้มีขีดความสามารถในการขยาย
กําลังการผลิตไดในปริมาณมากและสามารถเปลี่ยนแปลงแอนติเจนไดงายสําหรับเชื้อกอโรคตัวใหมๆ หรือคนพบ
Epitope ใหมที่จะสามารถกระตุนภูมิคุมกันที่ดี
นอกจากขอมูลจากองคการอนามัยโลกแลว ยังมีวัคซีนตนแบบที่พัฒนาในประเทศอื่นๆ อีกจํานวน
หนึ่ง ที่ไมไดอยูในขอมูลที่รวบรวมโดยองคการอนามัยโลก ไดแก ญี่ปุน ไตหวัน คิวบา (ขอมูลไมเปนทางการ)
ตารางที่ ๑ Global State of the art: COVID19 vaccine candidates
รูปแบบ ผูวิจัยพัฒนา ความกาวหนาในการพัฒนา
1. DNA vaccine สหรัฐอเมริกา Clinical trial phase I
สหรัฐอเมริกา /สหรัฐอเมริกา-อิตาลี/
อินเดีย/สวีเดน/ญี่ปุน
Pre-clinical
2. RNA vaccine สหรัฐอเมริกา Clinical trial phase I
จีน (๓)/ สหรัฐอเมริกา-สิงคโปร/
เยอรมนี-จีน-สหรัฐอเมริกา/อังกฤษ/เยอรมัน/
สเปน/ญี่ปุน/รัสเซีย
Pre-clinical
3. VLP vaccine สวิสเซอรแลนด/แคนาดา/อังกฤษ-เยอรมัน Pre-clinical
4. Replicating Viral
Vector vaccine
อินเดีย/ฮองกง/สหรัฐอเมริกา/
ฝรั่งเศส-ออสเตรีย-สหรัฐอเมริกา/
สหรัฐอเมริกา-รัสเซีย/สหรัฐอเมริกา-เนเธอรแลนด
Pre-clinical
จีน Clinical trial phase II
5
รูปแบบ ผูวิจัยพัฒนา ความกาวหนาในการพัฒนา
5. Non Replicating Viral
Vector vaccine
อังกฤษ Clinical trial phase I/II
สหรัฐอเมริกา-จีน/เบลเยี่ยม/เยอรมัน/สเปน/
สหรัฐอเมริกา (๓)
Pre-clinical
6. Protein subunit
vaccine
เดนมารก (๓)/แคนาดา (๓)/สหรัฐอเมริกา(๘)/
ญี่ปุน (๒)/จีน-อังกฤษ(๒)/ฝรั่งเศส/อินเดีย/
ออสเตรเลีย-อังกฤษ-สหรัฐอเมริกา/
สหรัฐอเมริกา-จีน/รัสเซีย/โรมาเนีย
Pre-clinical
7. Inactivated vaccine จีน (๒)/ญี่ปุน Pre-clinical
8. Live Attenuated
Virus vaccine
สหรัฐอเมริกา-อินเดีย/เยอรมัน Pre-clinical
9. Unknown อิตาลี/ไทย/แคนาดา/
อิสราเอล/ออสเตรเลีย/สหรัฐอเมริกา
Pre-clinical
*ขอมูล ณ วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓
๒.๔ ประเด็นทาทายในระดับโลก ในการพัฒนาวัคซีนปองกัน COVID 19
๑. วัคซีนที่กําลังพัฒนาสวนใหญใชรูปแบบเทคโนโลยีใหม ซึ่งยังไมเคยมีวัคซีนที่ใชเทคโนโลยีเหลานี้ประสบ
ความสําเร็จจนสามารถขึ้นทะเบียนและนํามาใชมากอน จึงถือเปนความทาทาย อยางไรก็ตามในระดับโลก ก็ยังมี
วัคซีนที่หลากหลายในรูปแบบเทคโนโลยีมารองรับ ซึ่งหากเทคโนโลยีใหมยังไมประสบผลสําเร็จก็ยังมีวัคซีนที่ใช
เทคโนโลยีเดิมมาเปนความหวังหรือนํามาพัฒนาตอได
๒. องคความรูที่จะสนับสนุนการพัฒนาวัคซีนใหมยังมีจํากัด ไดแก Animal model ที่เหมาะสม ความรู
ดานไวรัสวิทยา ความรูทางภูมิคุมกันวารางกายตอบสนองเพื่อปองกันโรคอยางไร และการพัฒนา assay ในการ
ตรวจ การออกแบบการวิจัยในมนุษยที่เหมาะสม กระบวนการผลิตใหไดวัคซีนจํานวนมากเพื่อเพียงพอตอการใช
๓. ระบบการประกันคุณภาพและการควบคุมกํากับ ซึ่งตองมีการศึกษาพัฒนาแนวทางการขึ้นทะเบียนใน
อีกหลายดาน ตองการมาตรฐานกลาง และตองการ global information sharing platform ที่จะเปนที่
แลกเปลี่ยนความรูรวมกันเพื่อสรางความรวมมือในการทํางาน ลดความทับซอน
๔. แนวทางการเขาถึงวัคซีนที่เหมาะสมและเปนธรรมและเพียงพอตอการใชทั่วโลก ซึ่งตองมีกระบวนการ
ถายทอดเทคโนโลยีเพื่อกระจายกําลังการผลิตใหแกประเทศตางๆ ที่มีศักยภาพ รวมถึงการจัดการระบบ
Intellectual property ที่เหมาะสมและเปนธรรม
๕. กลไกทางการเงินและการบริหารจัดการสําหรับการวิจัยพัฒนาใหทันการณและยั่งยืนสําหรับการเตรียม
ความพรอม
๓. ความเคลื่อนไหวในประเทศไทย
๓.๑ บทบาทของหนวยงานตางๆ ในการวิจัยพัฒนาวัคซีนเพื่อตอบสนองตอการระบาด
6
การขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาวัคซีน COVID 19 เปนไปตามพระราชบัญญัติความมั่นคงดานวัคซีนแหงชาติ พ.ศ.
๒๕๖๑ มีความมุงหมายสําคัญคือ การเขาถึงวัคซีนอยางทั่วถึงและเปนธรรม การดําเนินการใหมีปริมาณวัคซีน
เพียงพอตอความตองการ มีคุณภาพ มีความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการสรางเสริมภูมิคมกันโรค เพื่อการมี
สุขภาพที่ดีของประชาชน ทั้งในสถานการณปกติและในสถานการณฉุกเฉิน
ตารางที่ ๒ หนวยงานและบทบาทที่เกี่ยวของในการวิจัย พัฒนา ผลิตวัคซีน
หนวยงาน/องคกร บทบาท/ภารกิจ
สถาบันวัคซีนแหงชาติ
(พ.ร.บ.ความมั่นคงดานวัคซีนพ.ศ.
๒๕๖๑)
 ผูจัดการของประเทศในการขับเคลื่อนความมั่นคงดานวัคซีน
 เปนหนวยงานในกํากับของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
(พ.ร.บ.การสงเสริมวิทยาศาสตร การ
วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒)
 ผูจัดการระบบการวิจัยของประเทศ
 ดูแลกองทุนวิจัยและกําหนดนโยบายการใหทุนการวิจัยเพื่อตอบโจทยสังคมและ
พัฒนาโครงสรางทางนิเวศนที่เหมาะสมเพื่อการพัฒนาสูเปาหมายของประเทศ
 หนวยงานที่เกี่ยวของ (สอวช. ดูแลนโยบาย/สกสว. policy deployment/ วช.
และหนวยทุนตางๆ (Program Management Unit (PMU)/ มหาวิทยาลัย หนวย
วิจัย)
กระทรวงสาธารณสุข
(National Health Authority)
(พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง
กรม พ.ศ. ๒๕๕๔)
 ผูดูแลนโยบายสุขภาพของประเทศ ตั้งแต การสรางเสริมสุขภาพอนามัย การ
ปองกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟนฟูสมรรถภาพของประชาชน
 หนวยงานที่เกี่ยวของ
o กรมควบคุมโรค (นโยบายปองกันควบคุมโรค (พ.ร.บ. โรคติดตอ พ.ศ.
๒๕๕๘) รวมถึงแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของประเทศ)
o กรมวิทยาศาสตรการแพทย (กําหนดวิธีมาตรฐาน วิเคราะหผลิตภัณฑทาง
การแพทย และเปนหองปฏิบัติการอางอิง พัฒนาระบบประกันคุณภาพ
ดําเนินงานตามกม. วาดวยเชื้อโรคฯ)
o สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เปน National Regulatory
Authority
o กรมการแพทยดูแลนโยบายดานการแพทยและการประเมินเทคโนโลยีที่
เกี่ยวของกับการรักษา
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
(พ.ร.บ.สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
พ.ศ. ๒๕๓๕)
 ดูแลนโยบายและสรางองคความรูเพื่อพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศ
 เปนหนวยสนับสนุนทุนและเปน Program Management Unit (PMU)
 เปนหนวยงานในกํากับของกระทรวงสาธารณสุข
ผูผลิตวัคซีนและชีววัตถุในประเทศ  ผลิตวัคซีนเพื่อใชในประเทศและเพื่อสงออก
 สภากาชาดไทย องคการเภสัชกรรม 42บริษัท องคการเภสัชกรรม-เมอรริเออรชีว
วัตถุ จํากัด บริษัทไบโอเนท-เอเชีย จํากัด บริษัทสยามไบโอไซเอนซจํากัด
รูปที่ ๑ ความเชื่อมโยงบทบาทการวิจัย พัฒนา ผลิตวัคซีนของหนวยงานที่เกี่ยวของ
7
๓.๒ ขีดความสามารถของประเทศไทยในการวิจัยผลิตวัคซีน
๓.๒.๑ ภาพรวมขีดความสามารถตาม vaccine value chain (แสดงในตารางที่ ๓)
ตารางที่ ๓ ขีดความสามารถของประเทศไทยตาม vaccine value chain
การวิจัยพัฒนา การผลิต การประกันและควบคุม
คุณภาพ
การใช
 มีความพรอมในการ
พัฒนาในหลากหลาย
เทคโนโลยี (รายละเอียด
ในหัวขอ ๕.๒.๒)
 มี pilot plant อยางนอย
๔ แหง (ยังขาด pilot plant
BSL3 ที่พรอมใช)
 เคยมีประสบการณการ
ขึ้นทะเบียนวัคซีนในฐานะ
Country of Origin
 มีระบบสุขภาพที่พรอม
และกระจายอยางทั่วถึง
พรอมที่จะใหบริการวัคซีน
ใหม
 มีโครงสรางพื้นฐานที่
ไดมาตรฐานรองรับ
 มีขีดความสามารถใน
การทดสอบวัคซีนในมนุษย
ตั้งแตระยะที่ ๑ จนถึง
ระยะที่ ๔
 มีโรงงานผลิตวัคซีนและชีว
วัตถุที่ใชเทคโนโลยีถังหมักและ
ไขไกฟก (ขาด technology
cell-based, mRNA) มีความ
เปนไปไดที่จะดัดแปลงตอยอด
 ตองการการพัฒนา
ระบบการขึ้นทะเบียน
สําหรับกรณีเรงดวนฉุกเฉิน
(fast track)
 มีระบบการคลัง
สาธารณะที่ยั่งยืนรองรับ
คาใชจายสําหรับการนํา
วัคซีนใหมมาใช
8
การพัฒนาเพื่อผลิตวัคซีน
Covid19)
 มีนักวิจัยที่มีความ
เชี่ยวชาญหลากหลาย
 มีโรงงานที่มีศักยภาพใน
การ formulation/filling
and packaging
 ตองพัฒนาแนวทางการ
ประกันและควบคุมคุณภาพ
สําหรับเทคโนโลยีใหม (เชน
mRNA, DNA vaccine)
 มีกลไกตัดสินใจนโยบาย
การใชวัคซีนที่เขมแข็งและมี
ระบบเฝาระวังอาการที่ไม
พึงประสงคภายหลังการรับ
วัคซีน
๓.๒.๒ State of the art: COVID 19 vaccines ในประเทศไทย
ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการวิจัยพัฒนาวัคซีนในระดับที่ดี สําหรับการวิจัยพัฒนาวัคซีน
COVID 19 นั้น มีนักวิจัยจากหลายสถาบันที่มีขีดความสามารถในการพัฒนาวัคซีนในหลายเทคโนโลยี ไดแก
mRNA, DNA, VLP, Protein subunit, inactivated platforms
ตารางที่ ๔ State of the art การพัฒนา COVID 19 vaccines ในประเทศไทย
รูปแบบ ผูวิจัยพัฒนา หนวยสนับสนุนทุน ความกาวหนา
mRNA ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางการวิจัยและ
พัฒนาวัคซีน
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
สถาบันวัคซีนแหงชาติ และ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
R&D, proof of
concept in 6 months
DNA บริษัท ไบโอเนท-เอเชีย จํากัด - R&D, proof of
concept in 6 months
DNA ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางการวิจัยและ
พัฒนาวัคซีน
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
สถาบันวัคซีนแหงชาติ และ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
R&D, proof of
concept in 6 months
Protein subunit คณะวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยมหิดล
สถาบันวัคซีนแหงชาติ และ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
R&D, proof of
concept in 6 months
Protein subunit คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย
องคการเภสัชกรรม R&D, proof of
concept in 6 months
Inactivated ศูนยวิจัยและพัฒนาวัคซีน
มหาวิทยาลัยมหิดล
สถาบันวัคซีนแหงชาติ และ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
R&D, proof of
concept in 6 months
VLP คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล
มหาวิทยาลัยมหิดล
องคการเภสัชกรรม R&D, proof of
concept in 6 months
*ขอมูล ณ วันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
๓.๓ ระบบวิจัยและกลไกงบประมาณสนับสนุนการวิจัยพัฒนาวัคซีนของประเทศ
ประเทศไทยมีการปฏิรูประบบวิจัยของประเทศเพื่อใหสอดคลองกับความเคลื่อนไหวและภูมิทัศนที่
เปลี่ยนแปลงในระดับโลกดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยมีการเปลี่ยนแปลงสําคัญ ไดแก
 การจัดตั้งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อรับผิดชอบภารกิจนี้
เปนการเฉพาะ และใชขีดความสามารถของสถาบันอุดมศึกษาในการบริหารจัดการใหเกิดการวิจัยและ
9
นวัตกรรมที่สอดคลองกับความตองการของประเทศใหเกิดขึ้นในทุกภาคสวนของสังคมและพัฒนาโครงสราง
ทางนิเวศนที่เหมาะสมเพื่อการพัฒนาสูเปาหมายของประเทศ
 การตราพระราชบัญญัติการสงเสริมวิทยาศาสตร การวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ เพื่อเปน
เครื่องมือขับเคลื่อนนโยบายยุทธศาสตร และแผนดานวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม นําไปสูการปฏิบัติได
เปนรูปธรรม รวมทั้งใหการกํากับติดตามประเมินผลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
 มีกองทุนวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ที่จะสนับสนุนทุนวิจัยแกหนวยงานตางๆ ในประเทศ
โดยงบประมาณวิจัยทั้งหมดจากหนวยงานตางๆในประเทศที่เคยตั้งงบประมาณจะมารวมในกองทุนนี้ และในป
พ.ศ. ๒๕๖๓ เปนปเปลี่ยนผานงบประมาณ สําหรับในป พ.ศ. ๒๕๖๔ งบประมาณวิจัยของประเทศจะจัดสรร
ผานหนวยบริหารและจัดการทุน (PMU) ทั้ง ๗ หนวยงาน คือ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) , สํานักงาน
นวัตกรรมแหงชาติ (NIA) , สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร องคการมหาชน (สวก.) , สถาบันวิจัยระบบ
สาธารณสุข (สวรส) , หนวยบริหารและจัดการทุนดานการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) , หนวยบริหารและจัดการ
ทุนดานการพัฒนากําลังคน และทุนดานการพัฒนา สถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสรางนวัตกรรม (บพค.)
และหนวยบริหารจัดการทุนดานการเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ (บพข.)
 งบประมาณสําหรับการวิจัยพัฒนาวัคซีน COVID19 ในป พ.ศ. ๒๕๖๓ สถาบันวัคซีนแหงชาติได
ประสานความรวมมือกับหนวยงานใหทุนที่เกี่ยวของ (วช. สวรส. และองคการเภสัชกรรม) เพื่อบูรณาการ
นโยบายใหสอดคลองเปนไปในทิศทางเดียวกัน
 ในระยะตอไปจําเปนตองมีการหารือเพื่อพัฒนากลไกนโยบายและกลไกงบประมาณ เพื่อใหเปน
เอกภาพและใหมีความมั่นคงยั่งยืนสําหรับการวิจัยพัฒนาวัคซีนในระยะยาว
๓.๔ ประเด็นทาทายสําหรับการวิจัยพัฒนาวัคซีนของประเทศไทยและขอเสนอเพื่อพัฒนา
ตารางที่ ๕ ประเด็นทาทายสําหรับการวิจัยพัฒนาวัคซีนของประเทศไทยและขอเสนอเพื่อพัฒนา
ประเด็นทาทาย ขอเสนอเพื่อพัฒนา
๑. ดานนโยบายและกลไกทุน
๑.๑ ตองการการสนับสนุนระดับนโยบายอยาง
เขมแข็งและตอเนื่องและถือเปนประเด็นสําคัญและ
เรงดวนระดับนโยบาย
 ปจจุบันมีกลไกนโยบายดานวิทยาศาสตร
ภายใตการปฏิรูประบบวิจัยใหมของประเทศ ซึ่งดูแล
โดยกระทรวง อว. และมีกลไกคณะกรรมการวัคซีน
แหงชาติซึ่งมีความจําเปนที่จะตองสอดคลองไปใน
ทิศทางเดียวกันและบูรณาการ
 เสนอใหการเขาถึงวัคซีน COVID 19 เปนนโยบายสําคัญ
ระดับชาติและเปนนโยบายเรงดวน ที่ตองเรงรัดและจัดหา
ทรัพยากรสนับสนุนใหเพียงพอ
 กําหนดให Vaccine เปน Flagship program ภายใต
กลไกนโยบายวิทยาศาสตร
 เสนอ Blueprint ใหรับรองโดยคณะกรรมการวัคซีน
แหงชาติและรับรองเปนนโยบายเรงดวนและสําคัญภายใต
กลไก ววน.
 มีกรอบการประสานในระดับนโยบายและเชื่อมโยงกับ
กลไกตางๆ ที่เกี่ยวของ
10
๑.๒ ตองการกลไกและระบบสนับสนุนทุนที่เหมาะสม
กับบริบทการระบาดและมีความยั่งยืน
 กลไกการใหทุนดานวิจัยเปลี่ยนผานจาก
ระบบเดิมที่ทุกหนวยงานสามารถของบประมาณได
เองไปสูการรวมงบประมาณไวภายใตระบบวิจัยใหม ที่
ดูแลโดยกระทรวง อว.
 งบประมาณดานวัคซีนควรมีหนวยงานที่ดูแล
อยางครบวงจร เนื่องจากการวิจัยวัคซีนตองใช
เวลานาน ใชประสบการณ และตองดําเนินการ
ตอเนื่อง
 การบริหารงบวิจัยวัคซีนและงบวิจัยในบริบท
การระบาดตองมีความรวดเร็ว มีความยืดหยุน ไม
สามารถดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพได ภายใต
ระบบปกติ
 พัฒนากลไกสนับสนุนทุนวิจัยวัคซีนที่เปนเอกภาพและมี
ผูจัดการในระดับประเทศในระยะยาว (Harmonized
funding mechanisms)
 ศึกษาวิเคราะหรูปแบบการบริหารทุนวิจัยวัคซีน สําหรับ
การระบาด ที่เหมาะสม และเสนอตอฝายนโยบาย
(Innovative financing mechanism for pandemic
vaccine researches)
๒. การวิจัย
 กระบวนการวิจัยอาจลาชาเนื่องจากการขาด
องคความรู (เปนโรคใหม ยังมีความรูจํากัด ทั้งเรื่อง
animal model, assay, กระบวนการควบคุมกํากับ
โดยเฉพาะวัคซีนรูปแบบเทคโนโลยีใหมที่ไมเคยขึ้น
ทะเบียนมากอน ตองการประสบการณเพิ่มเติมสําหรับ
การขึ้นทะเบียนในฐานะ Country of origin การ
ออกแบบการวิจัยในคน จริยธรรมการวิจัยสําหรับ
ความเรงดวนในสถานการณการระบาด)
 ตองทําความรวมมือกับหุนสวนที่มีขีดความสามารถสูง
ทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยนความรูและ
ประสบการณนํามาตอยอด
 มี Roadmap ในการพัฒนาวัคซีนที่ชัดเจนมีกรอบเวลา
และงบประมาณ
 วางแผนเรงรัดขั้นตอนสําคัญ โดยเตรียมการลวงหนา
และวางผลลัพธที่ตองการใหเปนรูปธรรม (การทดสอบในคน
จริยธรรมการวิจัย กระบวนการประกันและควบคุมคุณภาพ)
๓. การผลิต
 ยังมีขีดความสามารถไมเพียงพอสําหรับ
กระบวนการผลิตที่จะตอยอดในระดับอุตสาหกรรม
และขาดปจจัยพื้นฐานที่สําคัญบางสวน (กําลังคน/
ผูเชี่ยวชาญ/pilot plant/โรงงานระดับอุตสาหกรรม/
know how สําหรับ new technology)
 จัดทําแผนเตรียมการผลิตของประเทศเปนนโยบาย
เรงดวน ใหสําเร็จภายใน ๖ เดือน และของบประมาณ
สนับสนุน โดยวางแผนการขยายกําลังการผลิตสําหรับวัคซีนที่
มีรูปแบบเทคโนโลยีที่สามารถผลิตไดจํานวนมากในระดับ
อุตสาหกรรมรองรับวัคซีนที่พัฒนาสําเร็จ โดยระดมทรัพยากร
ทั้งหมดที่มีของประเทศ และใชทรัพยากรจากเครือขายใน
ตางประเทศ ทั้งนี้การวางแผนการผลิตตองดําเนินงานคูขนาน
กับการวิจัย
 เปาหมายเพื่อเขาถึงวัคซีนจึงไมควรพึ่งพาหรือรอวัคซีนที่
พัฒนาในประเทศเทานั้น ดังนั้นเพื่อจัดการความเสี่ยงควร
11
แสวงหาความรวมมือกับหุนสวนที่มี potential vaccine
candidates ดวย
 วางแผนการเขาถึงวัคซีนตั้งแตระยะตน รวมถึงเรื่อง IP
management
๔. การติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ
 ขาดกลไกการติดตามประเมินผลที่มี
ประสิทธิภาพ โดยมีกลไกเชิงนโยบายภาครัฐเปนหลัก
ซึ่งจําเปนที่จะตองมีกลไกที่มาชวยคิดระดับ
ยุทธศาสตรและกลไกที่รูจริงในระดับปฏิบัติมาเสริม
กลไกระดับนโยบาย
 พัฒนากลไกที่คลองตัวและมีการหารืออยางสม่ําเสมอที่
ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญในประเด็นยุทธศาสตร เพื่อสงเสริม
การแกปญหาระดับยุทธศาสตร สนับสนุน Policy advocacy
ชวยคงความสําคัญในระดับนโยบายใหมีความเขมแข็งอยาง
ตอเนื่องไมใหลดนอยลงหลังภาวะวิกฤติ และเชื่อมโยงกับ
นโยบายในระดับโลก เชน การมีเวที think tank การทํางานใน
รูปแบบ taskforce
 พัฒนากลไกระดับการดําเนินงานที่มีผูเชี่ยวชาญและมี
การวางแผนและแกปญหาอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง ในการ
ขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ
จากประเด็นทาทายและขอเสนอแนะในตารางนี้ ไดนําไปวางวางยุทธศาสตรและกลยุทธในลําดับตอไป
๔. วิสัยทัศน
ประชาชนไทยเขาถึงวัคซีน CoVID19 ที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ อยางทั่วถึงและ
เปนธรรม เพื่อหลีกเลี่ยงการปวย การเสียชีวิตและลดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
หลักการสําคัญ ๕ ประการ
๑. Shared national vision: future oriented and sustainability
๒. Inclusive process with clear mandate and milestones
๓. Building on capacities and efforts of partners at national and international levels
๔. Information and knowledge sharing: national public goods
๕. Driving by scientific knowledge
ลําดับความสําคัญ (Priorities)
 เนนการสนับสนุน Innovative platforms ที่สามารถตอยอดสูการขยายกําลังการผลิตได
 ลด cycle time ในการพัฒนาวัคซีน
12
 วางแผนการเตรียมการผลิตวัคซีนใหพรอมภายใน ๖ เดือน เพื่อรองรับการผลิตวัคซีนที่มีศักยภาพ
โดยดําเนินงานคูขนานกับการวิจัย
 ลดระยะเวลาและคาใชจายในการทํา clinical trials รวมทั้งการใช modeling and simulation
เขามาสนับสนุน
 พัฒนาแนวทางและกระบวนการประกันและควบคุมคุณภาพที่เหมาะสมกับบริบทของการระบาด
ที่นํามาใชไดอยางเปนรูปธรรม
 วางแผนการเขาถึงวัคซีนและการนําไปใชในทุกระยะของการพัฒนาวัคซีน
๕. วัตถุประสงค
Blueprint เพื่อการเขาถึงวัคซีนปองกัน COVID 19 ของประชาชนไทยจัดทําขึ้นเพื่อเปนกรอบ
นโยบายในการบูรณาการประสานงานสรางความรวมมือ ระหวางหนวยงานทุกภาคสวน ในการบรรลุเปาหมาย
การเขาถึงวัคซีนของประชาชน ใหมีความปลอดภัยและลดผลกระทบตอเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของ
ประเทศ โดยแผนนี้มุงหวังในการเรงรัดการพัฒนาผลิตวัคซีนหรือสรางองคความรูสําคัญที่เกี่ยวของและสรางขีด
ความสามารถของประเทศในการพัฒนาผลิตวัคซีนระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวเพื่อสรางความมั่นคงยั่งยืน
เพิ่มความสามารถในการพึ่งพาตนเอง
๖. เปาหมายและยุทธศาสตร
Blueprint เพื่อการเขาถึงวัคซีนปองกัน COVID 19 ของประชาชนไทยมียุทธศาสตรและเปาหมายดังนี้
๖.๑ ยุทธศาสตร มี ๒ ดาน
๑. นําวัคซีนตนแบบที่มีศักยภาพสูงจากตางประเทศมาทดสอบในประเทศไทยและขอรับการถายทอด
เทคโนโลยีเพื่อการผลิต (เปาหมายระยะสั้นและระยะกลาง)
๒. พัฒนาวัคซีนตนแบบในประเทศไทยตั้งแตตนน้ํา (เปาหมายระยะกลางและยาว)
เพื่อใหไดผลลัพธที่คาดหวังทั้งในระยะสั้นและระยะยาว กลาวคือ ๑) ไดวัคซีนมาใชทันการณพรอมกับ
ประเทศที่พัฒนาวัคซีนสําเร็จเปนรายแรกๆ ๒) สรางขีดความสามารถของประเทศในระยะยาว ใน Blueprint จึง
วางยุทธศาสตรไว ๒ ดาน ไดแก
13
๑. นําวัคซีนตนแบบที่มีศักยภาพสูงจากตางประเทศมาทดสอบในประเทศไทยและขอรับการถายทอด
เทคโนโลยีเพื่อการผลิต
ยุทธศาสตรนี้มุงหวังการสรางความรวมมือกับประเทศที่มีวัคซีนตนแบบที่มีศักยภาพสูงที่มี
แนวโนมที่จะพัฒนาไดสําเร็จทันการณและขอรับถายทอดเทคโนโลยี หรือซื้อเทคโนโลยีเพื่อมาผลิตใหได โดยถือ
วายุทธศาสตรนี้จะเปนยุทธศาสตรหลักที่จะเรงรัดเพื่อนําพาคนไทยใหสามารถเขาถึงวัคซีนได
 ประสานโดยตรงกับรัฐบาลของประเทศที่มีขีดความสามารถสูง (เชน สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน ญี่ปุน ไตหวัน) โดยใชชองทางการทูตหรือผานเครือขายงานตางประเทศ
 ประสานความรวมมือผานองคกรระหวางประเทศ (องคการอนามัยโลก) หรือผาน CEPI
 นําวัคซีนตนแบบมาทําการวิจัยในมนุษยในประเทศไทย และขอถายทอดเทคโนโลยีหรือซื้อ
เทคโนโลยีการผลิต (ในระดับตนน้ํา กลางน้ํา หรือปลายน้ํา) และเตรียมแผนการเขาถึงวัคซีนไวตั้งแตตน
 เตรียมคัดเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม วางแผนการลงทุนโครงสราง/ปจจัยพื้นฐาน และเตรียม
แผนการผลิตวัคซีนไวตั้งแตตน และเมื่อมีวัคซีนที่ประสบความสําเร็จ สามารถรับถายทอดเทคโนโลยีไดทัน
การณ
๒. การพัฒนาความรวมมือในประเทศเพื่อพัฒนาวัคซีนตนแบบในประเทศไทย
ยุทธศาสตรนี้เปนการสรางขีดความสามารถของประเทศในระยะกลางและยาว
 ประเทศไทยมีกลุมนักวิจัยที่มีขีดความสามารถในการพัฒนาวัคซีนในหลายรูปแบบเทคโนโลยี
ซึ่งอาจมีโอกาสสําเร็จได เชน mRNA, DNA, VLP, inactivated, subunit platforms แตอาจไมทันตอ
การใช แตจะเปนประโยชนอยางมากตอการพัฒนาขีดความสามารถดานวัคซีนของประเทศในระยะกลาง
และระยะยาว
รูปที่ ๒ แผนภาพการดําเนินงานตามเปาหมายเชิงยุทธศาสตรและกรอบเวลา
14
๖.๒ เปาหมายในเชิงกระบวนการ
เพื่อใหบรรลุยุทธศาสตรทั้งสองดานในกรอบเวลาที่กําหนด มีความจําเปนตองตองเรงรัดกระบวนการ
สําคัญตลอดวงจรนโยบายและ vaccine value chain โดยแบงเปาหมายในเชิงกระบวนการเปน ๔ ดาน ไดแก
๑. สงเสริมกลไกการประสานนโยบายและสรางสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมกับการวิจัยพัฒนาวัคซีน
๒. เรงรัดกระบวนการวิจัยพัฒนาวัคซีน
๓. เตรียมการผลิตวัคซีนเพื่อรองรับเทคโนโลยีจากวัคซีนที่ประสบความสําเร็จ
๔. พัฒนารูปแบบการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้ ทั้งสองยุทธศาสตรมีความเชื่อมโยงและมี Common pathways ดังแสดงในตารางที่ ๖
ตารางที่ ๖ ความเชื่อมโยงและเปรียบเทียบจุดเนนของยุทธศาสตรที่ ๑ และยุทธศาสตรที่ ๒ กับเปาหมาย
เชิงกระบวนการ
เปาหมายเชิงกระบวนการ ยุทธศาสตรที่ ๑ ยุทธศาสตรที่ ๒
๑. สงเสริมกลไกการประสาน
นโยบายและสรางสิ่งแวดลอมที่
เหมาะสมกับการวิจัยพัฒนา
วัคซีน
 เนนยกระดับใหเปนนโยบายเรงดวน
ของรัฐบาลเพื่อใหคนไทยเขาถึงวัคซีน
และมีงบประมาณสนับสนุนเพื่อ
เตรียมการผลิตวัคซีนใหทันการณ
 ความเชื่อมโยงและความเปน
เอกภาพของกลไกนโยบายและ
กลไกการใหทุนในระยะกลางและ
ยาว
15
 การเชื่อมโยงกับกลไกนโยบายใน
ระดับโลกอยางใกลชิดและเกาะติด
ความกาวหนา
 การวิจัยวัคซีนเปนแผนงานสําคัญ
ภายใตกลไกววน.
๒. เรงรัดกระบวนการวิจัยพัฒนา
วัคซีน
 เรงรัดกระบวนการวิจัยพัฒนาตั้งแต
การทดสอบในมนุษยจนถึง
กระบวนการขึ้นทะเบียน โดย
เชื่อมโยงกับแนวปฏิบัติในระดับ
นานาชาติ
 เรงรัดกระบวนการวิจัยพัฒนา
ตั้งแตการทดสอบในระดับพรีคลินิก
การทดสอบวัคซีนในมนุษยจนถึง
กระบวนการขึ้นทะเบียน โดย
เชื่อมโยงกับแนวปฏิบัติในระดับ
นานาชาติ
๓. เตรียมการผลิตวัคซีนเพื่อ
รองรับเทคโนโลยีจากวัคซีนที่
ประสบความสําเร็จ
 เรงรัดการเตรียมการผลิตวัคซีน ทั้ง
การเตรียมกระบวนการทางเทคนิค
และโครงสรางปจจัยพื้นฐาน ใหพรอม
รับการถายทอดเทคโนโลยีที่ประเทศ
ไดคัดเลือก ภายใน ๑๘ เดือน
 กระบวนการเตรียมการใน
ยุทธศาสตรที่ ๑ จะเปนพื้น
ฐานรองรับยุทธศาสตรที่ ๒ ในระยะ
กลางและระยะยาว
๔. พัฒนารูปแบบการติดตาม
ประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ
 มีกระบวนการติดตามประเมินผลทั้ง ๒ ยุทธศาสตรที่เชื่อมโยง ตอยอด
และสงเสริมซึ่งกันและกัน
เปาหมายในเชิงกระบวนการไดนําไปสูการวางกลยุทธและมาตรการในขอ ๘
๗. กลยุทธ มาตรการ และหนวยงานหลักที่รวมดําเนินการ
กลยุทธ มาตรการสําคัญ และหนวยงานหลักที่รวมดําเนินการ ที่รองรับเปาหมายของแผนผังฯ แสดงใน
ตารางที่ ๗
16
ตารางที่ ๗ มาตรการหลักตาม Blueprint เพื่อการเขาถึงวัคซีนปองกัน COVID 19 ของประชาชนไทย
เปาหมาย กลยุทธ มาตรการหลัก หนวยงานหลัก
๑. สงเสริมกลไก
ประสานนโยบายและ
สรางสิ่งแวดลอมที่
เหมาะสมกับการวิจัย
พัฒนาวัคซีน
๑.๑ ผลักดันใหการพัฒนาวัคซีน
เปนนโยบายสําคัญและเรงดวน
ระดับชาติ
๑.๑.๑ เสนอตอคณะกรรมการวัคซีนแหงชาติใหการพัฒนาผลิตวัคซีน
COVID 19 เปนนโยบายสําคัญระดับชาติและเปนนโยบายเรงดวน ที่
ตองเรงรัดและจัดหาทรัพยากรสนับสนุนใหเพียงพอ
๑.๑.๒ เสนอให Vaccine เปน Flagship program หรือเปนแผนงาน
สําคัญที่มีนโยบายและทรัพยากรสนับสนุนอยางตอเนื่อง ภายใตกลไก
นโยบายวิทยาศาสตร
๑.๒.๓ เสนอ Blueprint ใหรับรองโดยคณะกรรมการวัคซีนแหงชาติ
และรับรองเปนนโยบายเรงดวนและสําคัญภายใตกลไก ววน.
สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง อว.
(สอวช. วช. สกสว. มหาวิทยาลัย สวทช.
หนวยวิจัย) กระทรวงสาธารณสุข
(กรมการแพทย กรมควบคุมโรค
กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา) สถาบันวิจัย
ระบบสาธารณสุข
๑.๒ พัฒนากลไกประสาน
นโยบายในระดับประเทศ
๑.๒.๑ พัฒนากลไกการอภิบาลการวิจัยพัฒนาวัคซีนสําหรับการ
ระบาดที่มีประสิทธิภาพ โดยเชื่อมโยงและบูรณาการกับกลไกของ
กระทรวง อว. และสวรส.
สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง อว.
(สอวช. วช. สกสว. มหาวิทยาลัย สวทช.
หนวยวิจัย) กระทรวงสาธารณสุข
(กรมการแพทย กรมควบคุมโรค
กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา) สถาบันวิจัย
ระบบสาธารณสุข
๑.๓ พัฒนากลไกการใหทุนมี
แนวทางที่สอดคลองไปในทิศทาง
เดียวกัน มีระบบที่เอื้อตอการวิจัย
ที่ยั่งยืน และโปรงใส
๑.๓.๑ พัฒนากลไกสนับสนุนทุนวิจัยวัคซีนที่เปนเอกภาพและไมแยก
สวน (Harmonized funding mechanisms) และมีผูจัดการใน
ระดับประเทศในระยะยาว (National manager)
๑.๓.๒ ศึกษาวิเคราะหรูปแบบการบริหารทุนวิจัยวัคซีนและการ
พัฒนาวัคซีนเพื่อรองรับการระบาดที่เหมาะสม ยืดหยุนและเอื้อตอ
สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง อว.
(สอวช. วช. สกสว. หนวยทุน
มหาวิทยาลัย สวทช. หนวยวิจัย)
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กองการ
ตางประเทศ (กสธ.) สํานักงานองคการ
17
การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศในระยะยาวและเสนอตอ
ฝายนโยบายเพื่อพิจารณา (Innovative financing mechanism for
vaccine researches in normal and pandemic situation)
โดยเชื่อมโยงและสอดคลองกับกลไกวิจัยหลักของประเทศ
๑.๓.๓ ศึกษารูปแบบการลงทุนระหวางรัฐและเอกชนที่เหมาะสม
สําหรับการพัฒนาวัคซีนในระยะยาว
๑.๓.๔ หารือแหลงทุนในประเทศเพื่อใหมี harmonized funding
mechanism สําหรับวัคซีน โดยมีผูจัดการในระดับชาติที่ชัดเจน
๑.๓.๕ จัดทํากรอบงบประมาณที่จําเปนในแตละดานรวมทั้งแผนการ
ลงทุนขนาดใหญ รวมถึงวางแผนงบประมาณที่ยั่งยืน เสนอขอ
งบประมาณผานกลไกตางๆ ที่เหมาะสม
๑.๓.๖ จัดทําแผนดําเนินการและลงทุนเรงดวนเพื่อการผลิตวัคซีน
COVID19 เพื่อขอรัฐบาลอนุมัติและดําเนินการภายใน ๖ เดือน
๑.๓.๗ ประสานองคการอนามัยโลกและองคกรระหวางประเทศและ
องคกรพันธมิตรในประเทศตางๆเพื่อหางบประมาณสนับสนุนจาก
ตางประเทศ
อนามัยโลกประจําประเทศไทย/สํานักงาน
องคการอนามัยโลกประจําภูมิภาคและ
สํานักงานใหญองคการอนามัยโลก
USAID, US CDC, CEPI, JICA, WB,
China CDC, Universities, research
institutes ผูผลิตวัคซีน
๑.๓ พัฒนากรอบการประสาน
นโยบายในระดับนานาชาติ
๑.๓.๑ ประสานกับองคการอนามัยโลกเพื่อใหประเทศไทยมีสวนรวม
ในกลไกนโยบายในสวนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาวัคซีน โดยประเทศ
ไทยเขาไปเปนผูเลนสําคัญตั้งแตในระยะตนและติดตามอยูในกระแส
โลกอยางใกลชิด
๑.๓.๒ ติดตามความกาวหนาการวิจัยพัฒนาวัคซีนในระดับโลกและ
มองหาหนวยงานที่มีขีดความสามารถสูงเพื่อรวมมือในการพัฒนา
วัคซีนและเจรจาเพื่อรับการถายทอดเทคโนโลยี
สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง อว.
(สอวช. วช. สกสว. มหาวิทยาลัย สวทช.
หนวยวิจัย) กองการตางประเทศ (กสธ.)
สํานักงานองคการอนามัยโลกประจํา
ประเทศไทย/สํานักงานองคการอนามัย
โลกประจําภูมิภาค USAID, US CDC,
CEPI, JICA
18
๑.๓.๓ ประสานความรวมมือกับหนวยงานที่มีขีดความสามารถสูงใน
ประเทศตางๆ และเชื่อมโยงผานกลไกรัฐบาล ในรูปแบบความรวมมือ
ทวิภาคี เพื่อพัฒนาวัคซีนและการเขาถึงวัคซีนสําหรับคนไทย
๒. เรงรัด
กระบวนการวิจัย
พัฒนาวัคซีน
๒.๑ พัฒนาแผนที่เดินทางในการ
พัฒนาวัคซีนปองกัน COVID 19
๒.๑.๑ พัฒนาแผนที่เดินทางในการพัฒนาวัคซีนปองกัน COVID 19
และประเมิน/กําหนดรูปแบบเทคโนโลยีเอนกประสงคที่เหมาะสม
 วางแผนปดชองวางที่สําคัญในกรอบเวลาและมีผลลัพธที่ชัดเจน
o ขั้นตอนการพัฒนาในระดับพรีคลินิกและคลินิก
o โครงสรางพื้นฐาน รูปแบบเทคโนโลยี การสงตอสูระดับ
อุตสาหกรรม
o Intellectual property management
๒.๑.๒ วางเกณฑประเมินในชวงเวลาที่เหมาะสม (Go No Go) และ
วางกลไกรวมในการประเมินวัคซีนตนแบบแบบสหสถาบัน
สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง อว.
(สอวช. วช. สกสว. มหาวิทยาลัย สวทช.
หนวยวิจัย) กระทรวงสาธารณสุข
(กรมการแพทย กรมควบคุมโรค
กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา) สถาบันวิจัย
ระบบสาธารณสุข
ผูผลิตวัคซีน/ชีววัตถุ (สภากาชาดไทย
องคการเภสัชกรรม บริษัท GPO-MBP,
Bionet Asia, Kingen, Siam
BioScience)
๒.๒ วางแนวทางการประกันและ
ควบคุมคุณภาพวัคซีนและ
แนวทางจริยธรรมการวิจัย
๒.๒.๑ วางแนวทางการประกันและควบคุมคุณภาพวัคซีนและ
แนวทางจริยธรรมการวิจัย (เชน animal model, clinical trial
protocol)
 วางแนวทางการประกันและควบคุมคุณภาพสําหรับวัคซีน
ตนแบบจากตางประเทศที่จะนํามาทดสอบในประเทศไทยและแนว
ทางการขึ้นทะเบียนที่เหมาะสมกับบริบทของการระบาด
 วางแนวทางการประกันและควบคุมคุณภาพวัคซีนที่พัฒนา
ในประเทศและเตรียมขึ้นทะเบียนในฐานะ Country of origin
สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง
สาธารณสุข (กรมการแพทย กรมควบคุม
โรค กรมวิทยาศาสตรการแพทย
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา)
กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว.
มหาวิทยาลัย สวทช. หนวยวิจัย)
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
19
 วางแนวทางจริยธรรมการวิจัยสําหรับวัคซีนจากตางประเทศ
และวัคซีนที่พัฒนาในประเทศ
๒.๓ พัฒนาระบบขอมูลการวิจัย
วัคซีนและทรัพยากรที่สําคัญ
รวมทั้งสราง platform การ
แลกเปลี่ยนขอมูล
๒.๓.๑ พัฒนาระบบฐานขอมูลวัคซีนและทรัพยากรที่สําคัญ
 ขอมูลพื้นฐานที่ทันสมัยของวัคซีนในระดับโลกและใน
ประเทศ
 องคความรูที่เกี่ยวของ
 Information sharing platform
สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง
สาธารณสุข (กรมการแพทย กรมควบคุม
โรค กรมวิทยาศาสตรการแพทย
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา)
กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว. หนวย
ทุน มหาวิทยาลัย สวทช. หนวยวิจัย)
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
๒.๔ พัฒนาแนวทางและ
มาตรฐานที่เกี่ยวของกับการวิจัย
พัฒนาวัคซีนใหเหมาะสมกับ
บริบทของการระบาด
๒.๔.๑ แนวทางและแผนปฏิบัติการการแยกเชื้อไวรัสจากผูปวย/
genetic sequencing และการพัฒนา assay ที่จําเปน โดยมี
แนวทางความรวมมือที่ตกลงระหวางสถาบันตางๆ รวมถึง Material
Transfer Agreement
๒.๔.๒ สนับสนุนการขยายขีดความสามารถในการทําการวิจัยใน
มนุษย โดยเชื่อมโยงกับแนวปฏิบัติในระดับนานาชาติ
 กําหนดขั้นตอนที่ชัดเจนในการออกแบบการวิจัยในมนุษย
และลดระยะเวลาการดําเนินงาน
 ประเมินทางเลือกการวิจัยในมนุษยในรูปแบบตางๆ
สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง
สาธารณสุข (กรมการแพทย กรมควบคุม
โรค กรมวิทยาศาสตรการแพทย
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา)
กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว.
มหาวิทยาลัย สวทช.) สถาบันวิจัยระบบ
สาธารณสุข
๓. เตรียมการผลิต
วัคซีนเพื่อรองรับ
เทคโนโลยีจาก
วัคซีนที่ประสบ
ความสําเร็จ
๓.๑ จัดทําแผนเตรียมการผลิต
วัคซีนที่มีศักยภาพสูง โดย
ดําเนินงานคูขนานกับการวิจัย
พัฒนาวัคซีน
ระยะเวลา ๖ เดือนแรก
๓.๑.๑ วิเคราะหและคัดเลือกเทคโนโลยีที่มีความเปนไปไดสูงที่จะ
ประสบความสําเร็จ เชน DNA vaccine, Adenovirus vector และมี
การติดตามความกาวหนาของวัคซีนในระดับโลกอยางตอเนื่อง
สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง
สาธารณสุข (กรมการแพทย กรมควบคุม
โรค กรมวิทยาศาสตรการแพทย
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา)
กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว.
20
๓.๑.๒ ประเมินความพรอมสําหรับการรองรับการผลิตวัคซีนในดาน
ตางๆ อยางรอบดานและมีขอเสนอการลงทุนและการดําเนินการเพื่อ
ปดชองวาง (การปรับโครงสรางพื้นฐานที่มีอยู การเตรียมบุคลากร
วัตถุดิบและทรัพยากร พัฒนากระบวนการเพื่อรองรับการถายทอด
เทคโนโลยีที่ไดประเมินไวในขอ ๓.๑.๑) โดยระดมสรรพกําลังทุกภาค
สวน
๓.๑.๓ จัดทําแผนการเตรียมความพรอมและแผนการลงทุนเสนอ
รัฐบาลรับรองและเห็นชอบ
๓.๑.๔ ประสานและเจรจาขอทําความรวมมือและการขอรับถายทอด
เทคโนโลยี
๓.๑.๕ ราง proposal เตรียมการเพื่อเสนอขอทุนกับแหลงทุน
ตางประเทศ เชน CEPI
ระยะเวลา ๖ – ๑๘ เดือน
๓.๑.๖ ดําเนินการตามแผนเตรียมความพรอม โดยเริ่มทดลอง
กระบวนการผลิตวัคซีนในเทคโนโลยีที่ไดคัดเลือกไว
๓.๑.๗ ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานการผลิต ตามรูปแบบเทคโนโลยีที่
คัดเลือกไว (Cell-based platform, เทคโนโลยีถังหมัก หรือ mRNA
platform)
๓.๑.๘ เตรียมปจจัยพื้นฐานอื่นๆ (เครื่องจักร วัตถุดิบและวัสดุ
อุปกรณตางๆ)
๓.๑.๙ พัฒนาบุคลากรทั้ง on the job training และการอบรม
เฉพาะกับเครือขายที่มีขีดความสามารถ
มหาวิทยาลัย สวทช.) สถาบันวิจัยระบบ
สาธารณสุข
ผูผลิตวัคซีน/ชีววัตถุ (สภากาชาดไทย
องคการเภสัชกรรม บริษัท GPO-MBP,
Bionet Asia, NBF, Siam BioScience)
Potential investor (ปตท.)
21
๔. พัฒนารูปแบบการ
ติดตามประเมินผล
ที่มีประสิทธิภาพ
๔.๑ พัฒนากลไกระดับนโยบาย
เพื่อติดตามประเมินผลใน
ระดับประเทศ
๔.๑.๑ ใชกลไกในขอ ๑.๑.๑ และ ๑.๑.๒ ในการติดตามกํากับระดับ
นโยบาย
๔.๑.๒ พัฒนากลไกที่คลองตัวและมีการหารืออยางสม่ําเสมอ
ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญในประเด็นยุทธศาสตร เพื่อสงเสริมการ
แกปญหาระดับยุทธศาสตร รับทราบความกาวหนา ระดมสมอง
วางแผนขับเคลื่อนประเด็นสําคัญและวางแนวทางการแกไขปญหาที่
ทาทายในระดับนโยบาย เปนขอมูลเพื่อนําเขากลไกตางๆ ที่เกี่ยวของ
สนับสนุน Policy advocacy ชวยคงความสําคัญในระดับนโยบาย
ใหมีความเขมแข็งอยางตอเนื่องไมใหลดนอยลงหลังภาวะวิกฤติ และ
ใชทุนสังคมและปญญาของผูเชี่ยวชาญเชื่อมโยงกับนโยบายในระดับ
โลก เชน การมีเวที think tank การทํางานในรูปแบบ taskforce
สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง อว.
(สอวช. วช. สกสว. หนวยทุน
มหาวิทยาลัย สวทช. หนวยวิจัย)
กระทรวงสาธารณสุข (กรมการแพทย
กรมควบคุมโรค
กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา) สถาบันวิจัย
ระบบสาธารณสุข
ผูผลิตวัคซีน/ชีววัตถุ (สภากาชาดไทย
องคการเภสัชกรรม บริษัท GPO-MBP,
Bionet Asia, NBF, Siam BioScience)
Potential investor (ปตท.)๔.๑.๓ ใหมีคณะทํางานในแตละดานที่สําคัญเพื่อติดตาม
ความกาวหนาการดําเนินงานอยางใกลชิดและวางแนวทางแกไข
ปญหาในระดับปฏิบัติ ใน ๕ ดาน
 คัดเลือกและติดตามความกาวหนาในการพัฒนาวัคซีน
ตนแบบในประเทศและตางประเทศที่จะนํามาทดสอบ
 เตรียมความพรอมการขึ้นทะเบียนแบบเรงรัดและ
แนวทาง/มาตรฐานที่ตองการสําหรับวัคซีนที่ใชรูปแบบเทคโนโลยี
ใหม
 เตรียมพรอมโครงสรางพื้นฐาน บุคลากร สําหรับการผลิต
ที่ครอบคลุมแนวทางเลือกตั้งแตตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา
 เตรียมการทดสอบในคนและเตรียมพรอมเรื่องจริยธรรม
การวิจัย
22
 วางแผนการเขาถึงวัคซีน (Access plan) และการ
จัดลําดับความสําคัญและแผนการใชการกระจาย รวมถึงระบบเฝา
ระวังความปลอดภัยภายหลังการใช โดยดําเนินการตั้งแตตน และ
มองทางเลือกที่เปนไปไดอยางรอบดานเพื่อลดความเสี่ยง รวมถึง
แผนการสื่อสารความเสี่ยง/immunization literacyแกประชากร
กลุมเปาหมายตางๆ
Blueprint
Blueprint

More Related Content

More from Pattie Pattie

Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdfPattie Pattie
 
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdfPattie Pattie
 
LifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptxLifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptxPattie Pattie
 
High-education-vicharn.pptx
High-education-vicharn.pptxHigh-education-vicharn.pptx
High-education-vicharn.pptxPattie Pattie
 
สอนนาวาฝ่าวิกฤติให้เป็นสะเต็มและ SEEEM.pdf
สอนนาวาฝ่าวิกฤติให้เป็นสะเต็มและ SEEEM.pdfสอนนาวาฝ่าวิกฤติให้เป็นสะเต็มและ SEEEM.pdf
สอนนาวาฝ่าวิกฤติให้เป็นสะเต็มและ SEEEM.pdfPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
 
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf
 
LifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptxLifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptx
 
Ravivan.pdf
Ravivan.pdfRavivan.pdf
Ravivan.pdf
 
Siriraj71.pdf
Siriraj71.pdfSiriraj71.pdf
Siriraj71.pdf
 
37Years_Sampran.pdf
37Years_Sampran.pdf37Years_Sampran.pdf
37Years_Sampran.pdf
 
High-education-vicharn.pptx
High-education-vicharn.pptxHigh-education-vicharn.pptx
High-education-vicharn.pptx
 
สอนนาวาฝ่าวิกฤติให้เป็นสะเต็มและ SEEEM.pdf
สอนนาวาฝ่าวิกฤติให้เป็นสะเต็มและ SEEEM.pdfสอนนาวาฝ่าวิกฤติให้เป็นสะเต็มและ SEEEM.pdf
สอนนาวาฝ่าวิกฤติให้เป็นสะเต็มและ SEEEM.pdf
 

Blueprint

  • 1. 1 (ราง ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓) Blueprint เพื่อการเขาถึงวัคซีนปองกัน COVID 19 ของประชาชนไทย (Blueprint: Access to COVID 19 vaccines for Thais ) ๑. สถานการณการระบาดในระดับโลก [๑] โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีการระบาดในสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งแตเดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เปนตนมา การระบาดของโรคขยายเปนวงกวาง พบผูปวยยืนยันและเสียชีวิตเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง กระทั่งวันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ องคการอนามัยโลกไดประกาศใหโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เปน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหวางประเทศ (PHEIC: Public Health Emergency of International Concern) และลาสุดเมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ องคการอนามัยโลกออกแถลงการณระบุวาไวรัสโคโรนา 2019 ไดเขาสู ภาวะแพรระบาดไปทั่วโลก (Pandemic) หลายประเทศทั่วโลกไดออกมาตรการตางๆ เพื่อหยุดยั้งการระบาดของไวรัส เพื่อลดความสูญเสียชีวิตและบรรเทาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม การประเมินความเสี่ยง และคาดหมายสถานการณการระบาดในประเทศไทย โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เริ่มแพรเขาสูประเทศไทยตั้งแตตนเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ประเทศ ไทยมีความพยายามอยางเต็มที่ เพื่อเฝาระวังปองกันการนําเชื้อเขาจากตางประเทศ และควบคุมการระบาดในประเทศ โดยมีการออกมาตรการอยางตอเนื่องเพื่อหยุดยั้งการระบาดของเชื้อไวรัสและบรรเทาผลกระทบทางเศรษฐกิจและ สังคม อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน ภายหลังจากที่ประเทศไทยไดประกาศใชพระราชกําหนดฉุกเฉินเพื่อควบคุม สถานการณ สถานการณการระบาดยังคงไมสามารถวางใจได โดยมีการระบาดในกรุงเทพและกระจายไปในจังหวัด ตางๆ ทั่วประเทศไทยอยางตอเนื่อง [๒] ทั้งนี้ แมวารัฐบาล ภาคสวนตางๆ และประชาชนจะตระหนักถึงความสําคัญและรวมกันแกไขปญหา อยางเต็มที่ แตสิ่งที่เกิดขึ้นแลวและยังคงมีผลกระทบอยางตอเนื่องคือการสูญเสียชีวิตและความสูญเสียทางเศรษฐกิจ และสังคม ธนาคารแหงประเทศไทยไดสรุปประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจพ.ศ. ๒๕๖๓ ที่รอยละ - ๕.๓ [๓] และสูญเสียทางเศรษฐกิจเปนมูลคามหาศาล อาจสูงถึง ๕.๖ พันลานเหรียญสหรัฐ หรือคิดเปนรอยละ ๑.๑๑ของ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ [๔] ภาคธุรกิจประสบปญหาจนตองปดกิจการและลดจํานวนพนักงาน สงผลใหมี ประชาชนชั้นกลางและประชากรกลุมเปราะบางจํานวนมากที่ไดรับผลกระทบตอความมั่นคงในการดํารงชีวิตพื้นฐาน ซึ่งรัฐบาลไมไดนิ่งนอนใจและไดออกมาตรการความชวยเหลือเพื่อลดผลกระทบตางๆ คิดเปนเปนมูลคาหลายแสน ลานบาท และหากการระบาดยังดําเนินตอเนื่องไปอีกนานกวา ๑ ป รัฐบาลจะตองใชงบประมาณอีกจํานวนมากเพื่อ สนับสนุนภาคสวนตางๆ ในการแกไขปญหา ประเทศไทยจําเปนตองมีมาตรการในระยะตอไป เพื่อสามารถประคองกิจการของประเทศใหดําเนินไปได และลดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม นอกเหนือจากมาตรการทางดานเศรษฐกิจและสังคมแลว “วัคซีน” จัดเปน เครื่องมือสําคัญและเปนนวัตกรรมทางสุขภาพที่มีประสิทธิภาพสูงที่จะเปนคําตอบในการปองกันควบคุมโรคและทํา ใหประเทศไทยผานพนวิกฤติครั้งนี้ไปได ความสําคัญในการวิจัยพัฒนาวัคซีน COVID19 จากสถานการณการระบาดทั่วโลกและในประเทศ ที่ยังไมมีแนวโนมวาจะหยุดการระบาดไดในระยะเวลา อันใกล “วัคซีน” จัดเปนเครื่องมือสําคัญที่จะเปนคําตอบในการปองกันควบคุมโรคและลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคมได
  • 2. 2 หากจะเรียนรูจากการระบาดของไขหวัดใหญ ๒๐๐๙ ณ เวลานั้น ประเทศไทยไมมีขีดความสามารถใน การผลิตวัคซีนไดเอง ทําใหตองซื้อวัคซีนจากตางประเทศเพื่อนํามาปองกันควบคุมการระบาด ตองสั่งจองวัคซีน ลวงหนาและตองเขาคิวกับประเทศอื่นๆ ที่มีความตองการใชวัคซีนเชนเดียวกัน และประเทศไทยไมมีทางเลือกอื่น ซึ่ง ในที่สุด ประเทศไทยไดวัคซีนมาใชจํานวน ๒ ลานโดส ซึ่งไมเพียงพอที่จะใชกับประชากรทุกคนในประเทศ และไม เพียงพอแมแตกับประชากรกลุมเสี่ยงที่อาจมีการติดเชื้อและมีอาการรุนแรง แตประสบการณครั้งนั้น ถือวาประเทศ ไทยโชคดี ที่การระบาดของโรคไมรุนแรงและมีความสูญเสียนอย และหลังจากนั้น ประเทศไทยมีความกาวหนาใน หลายดานในการพัฒนาวัคซีน มีปจจัยพื้นฐานสําคัญ เกือบครบวงจร ที่เพียงพอที่ประเทศไทยจะลงทุนและทุมเท สรรพกําลังอยางจริงจังในการพัฒนาวัคซีนเองเพื่อหยุดยั้งการระบาดในครั้งนี้ จากบทเรียนที่ผานมาและสถานการณการระบาดในปจจุบัน ประเทศไทยจําเปนตองตัดสินใจและตอง ลงทุน โดยมีเปาหมายสําคัญเรงดวน เพื่อใหประเทศไทยมีวัคซีนมาใชเพื่อควบคุมการระบาด ลดการสูญเสียชีวิตและ ลดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งมีแนวโนมที่จะสูญเสียตอเนื่องยาวนานและอาจจะฟนคืนกลับมาไดยากใน ระยะเวลาอันใกล การลงทุนเพื่อใหประชาชนไทยไดเขาถึงวัคซีนในงบประมาณหลักพันลาน ถือวามีความคุมคาหาก จะเทียบกับความสูญเสียในกรณีไมมีวัคซีนใช ความลาชาในการจัดการใหมีวัคซีนใช แมเพียงเดือนเดียว ก็ทําใหเกิด ความสูญเสียนับแสนลานได ในการนี้ จึงมีความจําเปนที่ตองมี Blueprint เพื่อการเขาถึงวัคซีนปองกัน COVID 19 ของประชาชน ไทยเพื่อเปนกรอบนโยบายในการพึ่งพาตนเองดานวัคซีนที่เปนรูปธรรมสําหรับพัฒนาวัคซีน COIVID 19 ควบคูกับ การเตรียมแผนการผลิตวัคซีนซึ่งเปนประเด็นเรงดวนของประเทศและมีงบประมาณสนับสนุนอยางทันทวงที ๒. ความเคลื่อนไหวในระดับโลก ๒.๑ R&D Blueprint for action to prevent epidemics [๕] ในการประชุมสมัชชาอนามัยโลกสมัยที่ ๖๘ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ประเทศสมาชิกพองรับ R&D Blueprint for action to prevent epidemics [๖] เพื่อใชเปนกรอบในการขับเคลื่อนการวิจัยพัฒนาที่ สําคัญสําหรับภาวะฉุกเฉิน และเมื่อมีการระบาดของ COVID 19 องคการอนามัยโลกก็ไดเรงรัดนํา R&D blueprint มาเปนกรอบการดําเนินงานสําคัญสําหรับการวางทิศทางของการวิจัยในระดับโลกเพื่อตอบสนองตอการระบาดของ CoVID 19 ในครั้งนี้ R&D blueprint เปนแผนผังที่จัดทําเพื่อวัตถุประสงคในการวาง roadmap สําหรับการวิจัยพัฒนาเพื่อ เตรียมความพรอมและตอบสนองตอการระบาดใหญ โดยรวบรวมองคความรูและแนวปฏิบัติที่ดี มาวิเคราะหและ จัดทําโดยใชกระบวนการอยางเปนระบบ การดําเนินการนี้เปนความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกและผูมีสวนได สวนเสียสําคัญในระดับโลกและในระดับประเทศ ทั้งนี้แบงการทํางานเปน ๕ ดานหลักไดแก  การจัดลําดับความสําคัญของเชื้อกอโรค  การจัดลําดับความสําคัญของงานวิจัยพัฒนา  การพัฒนากลไกการอภิบาลในภาพรวม
  • 3. 3  ศึกษา คนหา กลไกสนับสนุนการเงินแนวทางใหมสําหรับการเตรียมความพรอมและการ ตอบสนองของการระบาดใหญ  การพัฒนาระบบติดตามประเมินผล การดําเนินการครั้งนี้ มีผูเลนสําคัญ ไดแก WHO CEPI (Coalition for Epidemic Preparedness Innovations) BMGF (Bill and Melinda Gates Foundation) US CDC (US Center for Disease Control) US NIH (US National Institute of Health) The Wellcome trust และประเทศสมาชิกที่มีขีดความสามารถและ เทคโนโลยีในการวิจัยพัฒนา [๗] ๒.๒ ทุนสนับสนุนการวิจัยพัฒนาและการผลิตวัคซีน COVID 19 ในระดับโลก [๘] ในปจจุบันแหลงทุนสําคัญที่สนับสนุนการพัฒนาวัคซีนในระดับโลกไดใหทุนสนับสนุนผาน The Coalition for Epidemic Preparedness (CEPI) ซึ่งจัดตั้ง ณ เมืองดาวอส ในการประชุม World Economic Forum Conference ในปพ.ศ. ๒๕๖๐ โดย CEPI เปนองคกรหุนสวนระหวาง ภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรการกุศล และ ภาคประชาสังคม มีพันธกิจสําคัญคือ เพื่อเรงรัดการพัฒนาวัคซีนสําหรับโรคอุบัติใหมและสรางความมั่นใจในการ เขาถึงวัคซีนอยางเทาเทียมในชวงที่มีการระบาด ในการระบาดของ COVID 19 ในครั้งนี้ CEPI มีบทบาทสําคัญเปนอยางยิ่ง โดยไดประมาณการวาใน การพัฒนาวัคซีนจะตองใชงบประมาณ ๒ พันลานเหรียญสหรัฐ โดยมีแผนที่จะสงเสริมวัคซีนตนแบบที่มีศักยภาพ ๓ ชนิด และสามารถนําไปสูการขึ้นทะเบียน รวมถึงกระจายการผลิตเพื่อใชในการควบคุมการระบาดทั่วโลก โดยมี แผนในการพัฒนาใน ๓ ระยะ สําหรับป พ.ศ. ๒๕๖๓ ระยะแรก งบประมาณ ๑๐๐ ลานเหรียญสหรัฐ สนับสนุนวัคซีนตนแบบ ๙ ชนิดสําหรับการทดสอบ วัคซีนในคนระยะที่ ๑ ระยะที่ ๒ งบประมาณ ๓๗๕ ลานเหรียญสหรัฐ ภายในเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ สําหรับการเตรียมการ ทดสอบในคนระยะที่ ๒ และ ๓ รวมถึงการผลิตวัคซีนตนแบบใน pilot scale และการลงทุนเบื้องตนสําหรับการ ขยายกําลังการผลิตในระดับโลก ระยะที่ ๓ สนับสนุนงบประมาณ ๔๐๐ ลานเหรียญสหรัฐ ภายในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๓ เพื่อทําการ ทดสอบในคนระยะที่ ๒ และ ๓ สําหรับวัคซีนตนแบบ ๒ ชนิดที่นาจะไดผลดีที่สุด ในประเทศตางๆ จํานวนหนึ่ง รวมถึงการขยาย/ถายทอดเทคโนโลยีการผลิต ในปพ.ศ. ๒๕๖๔ จะสนับสนุนงบประมาณ ๕๐๐ - ๗๐๐ ลานเหรียญสหรัฐ เพื่อสงเสริมการผลิตใน ระดับโลกโดยกระจายกําลังการผลิตไปทั่วทุกภูมิภาค
  • 4. 4 นอกจากงบประมาณผานการขับเคลื่อนโดย CEPI แลว รัฐบาลของประเทศตางๆ รวมถึงภาคเอกชน ตางสนับสนุนงบประมาณเพื่อการวิจัยพัฒนาวัคซีนในประเทศของตน และมีการทําความรวมมือทวิภาคีกับ องคกรตางๆ ที่มีศักยภาพ ทั้งระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรการกุศลตางๆ ๒.๓ State of the art at global level: COVID 19 vaccines [๙] ในปจจุบันประชาคมวิทยาศาสตรและวัคซีนทั่วโลกตางมีความตื่นตัวอยางมากและมีการพัฒนา วัคซีนในหลายรูปแบบ ขอมูลจากองคการอนามัยโลกรวบรวมวัคซีนตนแบบจากทั่วโลกได ๗๐ ตัว โดยวัคซีน ตนแบบจาก CanSino Biological Inc. and Beijing Institute of Biotechnology มีความกาวหนามากที่สุด มี การทดสอบในมนุษยระยะที่ ๒ แลว ลําดับตอมา มีวัคซีนตนแบบจาก Moderna, InovioPharmaceuticals และ Oxford University ที่มีการทดสอบในมนุษยระยะที่ ๑ นอกจากวัคซีนที่กลาวมาขางตน ยังมีวัคซีนตนแบบไมไดอยู ในขอมูลที่รวบรวมโดยองคการอนามัยโลกที่มีการทดสอบในมนุษยระยะที่ ๑ ไดแก วัคซีนตนแบบจาก Shenzhen Geno-immune medical institute จํานวน ๒ ตัว สําหรับวัคซีนสวนใหญยังอยูในระยะการพัฒนาระดับพรีคลินิก ทุกตัว โดยมีแนวโนมของรูปแบบเทคโนโลยีเปนเทคโนโลยีใหม เชน DNA, RNA, Viral vector platform ซึ่งเปน เทคโนโลยีที่เหมาะสมในบริบทของการระบาดเนื่องจากรูปแบบเทคโนโลยีเหลานี้มีขีดความสามารถในการขยาย กําลังการผลิตไดในปริมาณมากและสามารถเปลี่ยนแปลงแอนติเจนไดงายสําหรับเชื้อกอโรคตัวใหมๆ หรือคนพบ Epitope ใหมที่จะสามารถกระตุนภูมิคุมกันที่ดี นอกจากขอมูลจากองคการอนามัยโลกแลว ยังมีวัคซีนตนแบบที่พัฒนาในประเทศอื่นๆ อีกจํานวน หนึ่ง ที่ไมไดอยูในขอมูลที่รวบรวมโดยองคการอนามัยโลก ไดแก ญี่ปุน ไตหวัน คิวบา (ขอมูลไมเปนทางการ) ตารางที่ ๑ Global State of the art: COVID19 vaccine candidates รูปแบบ ผูวิจัยพัฒนา ความกาวหนาในการพัฒนา 1. DNA vaccine สหรัฐอเมริกา Clinical trial phase I สหรัฐอเมริกา /สหรัฐอเมริกา-อิตาลี/ อินเดีย/สวีเดน/ญี่ปุน Pre-clinical 2. RNA vaccine สหรัฐอเมริกา Clinical trial phase I จีน (๓)/ สหรัฐอเมริกา-สิงคโปร/ เยอรมนี-จีน-สหรัฐอเมริกา/อังกฤษ/เยอรมัน/ สเปน/ญี่ปุน/รัสเซีย Pre-clinical 3. VLP vaccine สวิสเซอรแลนด/แคนาดา/อังกฤษ-เยอรมัน Pre-clinical 4. Replicating Viral Vector vaccine อินเดีย/ฮองกง/สหรัฐอเมริกา/ ฝรั่งเศส-ออสเตรีย-สหรัฐอเมริกา/ สหรัฐอเมริกา-รัสเซีย/สหรัฐอเมริกา-เนเธอรแลนด Pre-clinical จีน Clinical trial phase II
  • 5. 5 รูปแบบ ผูวิจัยพัฒนา ความกาวหนาในการพัฒนา 5. Non Replicating Viral Vector vaccine อังกฤษ Clinical trial phase I/II สหรัฐอเมริกา-จีน/เบลเยี่ยม/เยอรมัน/สเปน/ สหรัฐอเมริกา (๓) Pre-clinical 6. Protein subunit vaccine เดนมารก (๓)/แคนาดา (๓)/สหรัฐอเมริกา(๘)/ ญี่ปุน (๒)/จีน-อังกฤษ(๒)/ฝรั่งเศส/อินเดีย/ ออสเตรเลีย-อังกฤษ-สหรัฐอเมริกา/ สหรัฐอเมริกา-จีน/รัสเซีย/โรมาเนีย Pre-clinical 7. Inactivated vaccine จีน (๒)/ญี่ปุน Pre-clinical 8. Live Attenuated Virus vaccine สหรัฐอเมริกา-อินเดีย/เยอรมัน Pre-clinical 9. Unknown อิตาลี/ไทย/แคนาดา/ อิสราเอล/ออสเตรเลีย/สหรัฐอเมริกา Pre-clinical *ขอมูล ณ วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒.๔ ประเด็นทาทายในระดับโลก ในการพัฒนาวัคซีนปองกัน COVID 19 ๑. วัคซีนที่กําลังพัฒนาสวนใหญใชรูปแบบเทคโนโลยีใหม ซึ่งยังไมเคยมีวัคซีนที่ใชเทคโนโลยีเหลานี้ประสบ ความสําเร็จจนสามารถขึ้นทะเบียนและนํามาใชมากอน จึงถือเปนความทาทาย อยางไรก็ตามในระดับโลก ก็ยังมี วัคซีนที่หลากหลายในรูปแบบเทคโนโลยีมารองรับ ซึ่งหากเทคโนโลยีใหมยังไมประสบผลสําเร็จก็ยังมีวัคซีนที่ใช เทคโนโลยีเดิมมาเปนความหวังหรือนํามาพัฒนาตอได ๒. องคความรูที่จะสนับสนุนการพัฒนาวัคซีนใหมยังมีจํากัด ไดแก Animal model ที่เหมาะสม ความรู ดานไวรัสวิทยา ความรูทางภูมิคุมกันวารางกายตอบสนองเพื่อปองกันโรคอยางไร และการพัฒนา assay ในการ ตรวจ การออกแบบการวิจัยในมนุษยที่เหมาะสม กระบวนการผลิตใหไดวัคซีนจํานวนมากเพื่อเพียงพอตอการใช ๓. ระบบการประกันคุณภาพและการควบคุมกํากับ ซึ่งตองมีการศึกษาพัฒนาแนวทางการขึ้นทะเบียนใน อีกหลายดาน ตองการมาตรฐานกลาง และตองการ global information sharing platform ที่จะเปนที่ แลกเปลี่ยนความรูรวมกันเพื่อสรางความรวมมือในการทํางาน ลดความทับซอน ๔. แนวทางการเขาถึงวัคซีนที่เหมาะสมและเปนธรรมและเพียงพอตอการใชทั่วโลก ซึ่งตองมีกระบวนการ ถายทอดเทคโนโลยีเพื่อกระจายกําลังการผลิตใหแกประเทศตางๆ ที่มีศักยภาพ รวมถึงการจัดการระบบ Intellectual property ที่เหมาะสมและเปนธรรม ๕. กลไกทางการเงินและการบริหารจัดการสําหรับการวิจัยพัฒนาใหทันการณและยั่งยืนสําหรับการเตรียม ความพรอม ๓. ความเคลื่อนไหวในประเทศไทย ๓.๑ บทบาทของหนวยงานตางๆ ในการวิจัยพัฒนาวัคซีนเพื่อตอบสนองตอการระบาด
  • 6. 6 การขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาวัคซีน COVID 19 เปนไปตามพระราชบัญญัติความมั่นคงดานวัคซีนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ มีความมุงหมายสําคัญคือ การเขาถึงวัคซีนอยางทั่วถึงและเปนธรรม การดําเนินการใหมีปริมาณวัคซีน เพียงพอตอความตองการ มีคุณภาพ มีความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการสรางเสริมภูมิคมกันโรค เพื่อการมี สุขภาพที่ดีของประชาชน ทั้งในสถานการณปกติและในสถานการณฉุกเฉิน ตารางที่ ๒ หนวยงานและบทบาทที่เกี่ยวของในการวิจัย พัฒนา ผลิตวัคซีน หนวยงาน/องคกร บทบาท/ภารกิจ สถาบันวัคซีนแหงชาติ (พ.ร.บ.ความมั่นคงดานวัคซีนพ.ศ. ๒๕๖๑)  ผูจัดการของประเทศในการขับเคลื่อนความมั่นคงดานวัคซีน  เปนหนวยงานในกํากับของกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (พ.ร.บ.การสงเสริมวิทยาศาสตร การ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒)  ผูจัดการระบบการวิจัยของประเทศ  ดูแลกองทุนวิจัยและกําหนดนโยบายการใหทุนการวิจัยเพื่อตอบโจทยสังคมและ พัฒนาโครงสรางทางนิเวศนที่เหมาะสมเพื่อการพัฒนาสูเปาหมายของประเทศ  หนวยงานที่เกี่ยวของ (สอวช. ดูแลนโยบาย/สกสว. policy deployment/ วช. และหนวยทุนตางๆ (Program Management Unit (PMU)/ มหาวิทยาลัย หนวย วิจัย) กระทรวงสาธารณสุข (National Health Authority) (พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๕๔)  ผูดูแลนโยบายสุขภาพของประเทศ ตั้งแต การสรางเสริมสุขภาพอนามัย การ ปองกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟนฟูสมรรถภาพของประชาชน  หนวยงานที่เกี่ยวของ o กรมควบคุมโรค (นโยบายปองกันควบคุมโรค (พ.ร.บ. โรคติดตอ พ.ศ. ๒๕๕๘) รวมถึงแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของประเทศ) o กรมวิทยาศาสตรการแพทย (กําหนดวิธีมาตรฐาน วิเคราะหผลิตภัณฑทาง การแพทย และเปนหองปฏิบัติการอางอิง พัฒนาระบบประกันคุณภาพ ดําเนินงานตามกม. วาดวยเชื้อโรคฯ) o สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เปน National Regulatory Authority o กรมการแพทยดูแลนโยบายดานการแพทยและการประเมินเทคโนโลยีที่ เกี่ยวของกับการรักษา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (พ.ร.บ.สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕)  ดูแลนโยบายและสรางองคความรูเพื่อพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศ  เปนหนวยสนับสนุนทุนและเปน Program Management Unit (PMU)  เปนหนวยงานในกํากับของกระทรวงสาธารณสุข ผูผลิตวัคซีนและชีววัตถุในประเทศ  ผลิตวัคซีนเพื่อใชในประเทศและเพื่อสงออก  สภากาชาดไทย องคการเภสัชกรรม 42บริษัท องคการเภสัชกรรม-เมอรริเออรชีว วัตถุ จํากัด บริษัทไบโอเนท-เอเชีย จํากัด บริษัทสยามไบโอไซเอนซจํากัด รูปที่ ๑ ความเชื่อมโยงบทบาทการวิจัย พัฒนา ผลิตวัคซีนของหนวยงานที่เกี่ยวของ
  • 7. 7 ๓.๒ ขีดความสามารถของประเทศไทยในการวิจัยผลิตวัคซีน ๓.๒.๑ ภาพรวมขีดความสามารถตาม vaccine value chain (แสดงในตารางที่ ๓) ตารางที่ ๓ ขีดความสามารถของประเทศไทยตาม vaccine value chain การวิจัยพัฒนา การผลิต การประกันและควบคุม คุณภาพ การใช  มีความพรอมในการ พัฒนาในหลากหลาย เทคโนโลยี (รายละเอียด ในหัวขอ ๕.๒.๒)  มี pilot plant อยางนอย ๔ แหง (ยังขาด pilot plant BSL3 ที่พรอมใช)  เคยมีประสบการณการ ขึ้นทะเบียนวัคซีนในฐานะ Country of Origin  มีระบบสุขภาพที่พรอม และกระจายอยางทั่วถึง พรอมที่จะใหบริการวัคซีน ใหม  มีโครงสรางพื้นฐานที่ ไดมาตรฐานรองรับ  มีขีดความสามารถใน การทดสอบวัคซีนในมนุษย ตั้งแตระยะที่ ๑ จนถึง ระยะที่ ๔  มีโรงงานผลิตวัคซีนและชีว วัตถุที่ใชเทคโนโลยีถังหมักและ ไขไกฟก (ขาด technology cell-based, mRNA) มีความ เปนไปไดที่จะดัดแปลงตอยอด  ตองการการพัฒนา ระบบการขึ้นทะเบียน สําหรับกรณีเรงดวนฉุกเฉิน (fast track)  มีระบบการคลัง สาธารณะที่ยั่งยืนรองรับ คาใชจายสําหรับการนํา วัคซีนใหมมาใช
  • 8. 8 การพัฒนาเพื่อผลิตวัคซีน Covid19)  มีนักวิจัยที่มีความ เชี่ยวชาญหลากหลาย  มีโรงงานที่มีศักยภาพใน การ formulation/filling and packaging  ตองพัฒนาแนวทางการ ประกันและควบคุมคุณภาพ สําหรับเทคโนโลยีใหม (เชน mRNA, DNA vaccine)  มีกลไกตัดสินใจนโยบาย การใชวัคซีนที่เขมแข็งและมี ระบบเฝาระวังอาการที่ไม พึงประสงคภายหลังการรับ วัคซีน ๓.๒.๒ State of the art: COVID 19 vaccines ในประเทศไทย ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการวิจัยพัฒนาวัคซีนในระดับที่ดี สําหรับการวิจัยพัฒนาวัคซีน COVID 19 นั้น มีนักวิจัยจากหลายสถาบันที่มีขีดความสามารถในการพัฒนาวัคซีนในหลายเทคโนโลยี ไดแก mRNA, DNA, VLP, Protein subunit, inactivated platforms ตารางที่ ๔ State of the art การพัฒนา COVID 19 vaccines ในประเทศไทย รูปแบบ ผูวิจัยพัฒนา หนวยสนับสนุนทุน ความกาวหนา mRNA ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางการวิจัยและ พัฒนาวัคซีน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สถาบันวัคซีนแหงชาติ และ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ R&D, proof of concept in 6 months DNA บริษัท ไบโอเนท-เอเชีย จํากัด - R&D, proof of concept in 6 months DNA ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางการวิจัยและ พัฒนาวัคซีน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สถาบันวัคซีนแหงชาติ และ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ R&D, proof of concept in 6 months Protein subunit คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวัคซีนแหงชาติ และ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ R&D, proof of concept in 6 months Protein subunit คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย องคการเภสัชกรรม R&D, proof of concept in 6 months Inactivated ศูนยวิจัยและพัฒนาวัคซีน มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวัคซีนแหงชาติ และ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ R&D, proof of concept in 6 months VLP คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล องคการเภสัชกรรม R&D, proof of concept in 6 months *ขอมูล ณ วันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓.๓ ระบบวิจัยและกลไกงบประมาณสนับสนุนการวิจัยพัฒนาวัคซีนของประเทศ ประเทศไทยมีการปฏิรูประบบวิจัยของประเทศเพื่อใหสอดคลองกับความเคลื่อนไหวและภูมิทัศนที่ เปลี่ยนแปลงในระดับโลกดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยมีการเปลี่ยนแปลงสําคัญ ไดแก  การจัดตั้งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อรับผิดชอบภารกิจนี้ เปนการเฉพาะ และใชขีดความสามารถของสถาบันอุดมศึกษาในการบริหารจัดการใหเกิดการวิจัยและ
  • 9. 9 นวัตกรรมที่สอดคลองกับความตองการของประเทศใหเกิดขึ้นในทุกภาคสวนของสังคมและพัฒนาโครงสราง ทางนิเวศนที่เหมาะสมเพื่อการพัฒนาสูเปาหมายของประเทศ  การตราพระราชบัญญัติการสงเสริมวิทยาศาสตร การวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ เพื่อเปน เครื่องมือขับเคลื่อนนโยบายยุทธศาสตร และแผนดานวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม นําไปสูการปฏิบัติได เปนรูปธรรม รวมทั้งใหการกํากับติดตามประเมินผลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ  มีกองทุนวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ที่จะสนับสนุนทุนวิจัยแกหนวยงานตางๆ ในประเทศ โดยงบประมาณวิจัยทั้งหมดจากหนวยงานตางๆในประเทศที่เคยตั้งงบประมาณจะมารวมในกองทุนนี้ และในป พ.ศ. ๒๕๖๓ เปนปเปลี่ยนผานงบประมาณ สําหรับในป พ.ศ. ๒๕๖๔ งบประมาณวิจัยของประเทศจะจัดสรร ผานหนวยบริหารและจัดการทุน (PMU) ทั้ง ๗ หนวยงาน คือ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) , สํานักงาน นวัตกรรมแหงชาติ (NIA) , สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร องคการมหาชน (สวก.) , สถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข (สวรส) , หนวยบริหารและจัดการทุนดานการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) , หนวยบริหารและจัดการ ทุนดานการพัฒนากําลังคน และทุนดานการพัฒนา สถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสรางนวัตกรรม (บพค.) และหนวยบริหารจัดการทุนดานการเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ (บพข.)  งบประมาณสําหรับการวิจัยพัฒนาวัคซีน COVID19 ในป พ.ศ. ๒๕๖๓ สถาบันวัคซีนแหงชาติได ประสานความรวมมือกับหนวยงานใหทุนที่เกี่ยวของ (วช. สวรส. และองคการเภสัชกรรม) เพื่อบูรณาการ นโยบายใหสอดคลองเปนไปในทิศทางเดียวกัน  ในระยะตอไปจําเปนตองมีการหารือเพื่อพัฒนากลไกนโยบายและกลไกงบประมาณ เพื่อใหเปน เอกภาพและใหมีความมั่นคงยั่งยืนสําหรับการวิจัยพัฒนาวัคซีนในระยะยาว ๓.๔ ประเด็นทาทายสําหรับการวิจัยพัฒนาวัคซีนของประเทศไทยและขอเสนอเพื่อพัฒนา ตารางที่ ๕ ประเด็นทาทายสําหรับการวิจัยพัฒนาวัคซีนของประเทศไทยและขอเสนอเพื่อพัฒนา ประเด็นทาทาย ขอเสนอเพื่อพัฒนา ๑. ดานนโยบายและกลไกทุน ๑.๑ ตองการการสนับสนุนระดับนโยบายอยาง เขมแข็งและตอเนื่องและถือเปนประเด็นสําคัญและ เรงดวนระดับนโยบาย  ปจจุบันมีกลไกนโยบายดานวิทยาศาสตร ภายใตการปฏิรูประบบวิจัยใหมของประเทศ ซึ่งดูแล โดยกระทรวง อว. และมีกลไกคณะกรรมการวัคซีน แหงชาติซึ่งมีความจําเปนที่จะตองสอดคลองไปใน ทิศทางเดียวกันและบูรณาการ  เสนอใหการเขาถึงวัคซีน COVID 19 เปนนโยบายสําคัญ ระดับชาติและเปนนโยบายเรงดวน ที่ตองเรงรัดและจัดหา ทรัพยากรสนับสนุนใหเพียงพอ  กําหนดให Vaccine เปน Flagship program ภายใต กลไกนโยบายวิทยาศาสตร  เสนอ Blueprint ใหรับรองโดยคณะกรรมการวัคซีน แหงชาติและรับรองเปนนโยบายเรงดวนและสําคัญภายใต กลไก ววน.  มีกรอบการประสานในระดับนโยบายและเชื่อมโยงกับ กลไกตางๆ ที่เกี่ยวของ
  • 10. 10 ๑.๒ ตองการกลไกและระบบสนับสนุนทุนที่เหมาะสม กับบริบทการระบาดและมีความยั่งยืน  กลไกการใหทุนดานวิจัยเปลี่ยนผานจาก ระบบเดิมที่ทุกหนวยงานสามารถของบประมาณได เองไปสูการรวมงบประมาณไวภายใตระบบวิจัยใหม ที่ ดูแลโดยกระทรวง อว.  งบประมาณดานวัคซีนควรมีหนวยงานที่ดูแล อยางครบวงจร เนื่องจากการวิจัยวัคซีนตองใช เวลานาน ใชประสบการณ และตองดําเนินการ ตอเนื่อง  การบริหารงบวิจัยวัคซีนและงบวิจัยในบริบท การระบาดตองมีความรวดเร็ว มีความยืดหยุน ไม สามารถดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพได ภายใต ระบบปกติ  พัฒนากลไกสนับสนุนทุนวิจัยวัคซีนที่เปนเอกภาพและมี ผูจัดการในระดับประเทศในระยะยาว (Harmonized funding mechanisms)  ศึกษาวิเคราะหรูปแบบการบริหารทุนวิจัยวัคซีน สําหรับ การระบาด ที่เหมาะสม และเสนอตอฝายนโยบาย (Innovative financing mechanism for pandemic vaccine researches) ๒. การวิจัย  กระบวนการวิจัยอาจลาชาเนื่องจากการขาด องคความรู (เปนโรคใหม ยังมีความรูจํากัด ทั้งเรื่อง animal model, assay, กระบวนการควบคุมกํากับ โดยเฉพาะวัคซีนรูปแบบเทคโนโลยีใหมที่ไมเคยขึ้น ทะเบียนมากอน ตองการประสบการณเพิ่มเติมสําหรับ การขึ้นทะเบียนในฐานะ Country of origin การ ออกแบบการวิจัยในคน จริยธรรมการวิจัยสําหรับ ความเรงดวนในสถานการณการระบาด)  ตองทําความรวมมือกับหุนสวนที่มีขีดความสามารถสูง ทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยนความรูและ ประสบการณนํามาตอยอด  มี Roadmap ในการพัฒนาวัคซีนที่ชัดเจนมีกรอบเวลา และงบประมาณ  วางแผนเรงรัดขั้นตอนสําคัญ โดยเตรียมการลวงหนา และวางผลลัพธที่ตองการใหเปนรูปธรรม (การทดสอบในคน จริยธรรมการวิจัย กระบวนการประกันและควบคุมคุณภาพ) ๓. การผลิต  ยังมีขีดความสามารถไมเพียงพอสําหรับ กระบวนการผลิตที่จะตอยอดในระดับอุตสาหกรรม และขาดปจจัยพื้นฐานที่สําคัญบางสวน (กําลังคน/ ผูเชี่ยวชาญ/pilot plant/โรงงานระดับอุตสาหกรรม/ know how สําหรับ new technology)  จัดทําแผนเตรียมการผลิตของประเทศเปนนโยบาย เรงดวน ใหสําเร็จภายใน ๖ เดือน และของบประมาณ สนับสนุน โดยวางแผนการขยายกําลังการผลิตสําหรับวัคซีนที่ มีรูปแบบเทคโนโลยีที่สามารถผลิตไดจํานวนมากในระดับ อุตสาหกรรมรองรับวัคซีนที่พัฒนาสําเร็จ โดยระดมทรัพยากร ทั้งหมดที่มีของประเทศ และใชทรัพยากรจากเครือขายใน ตางประเทศ ทั้งนี้การวางแผนการผลิตตองดําเนินงานคูขนาน กับการวิจัย  เปาหมายเพื่อเขาถึงวัคซีนจึงไมควรพึ่งพาหรือรอวัคซีนที่ พัฒนาในประเทศเทานั้น ดังนั้นเพื่อจัดการความเสี่ยงควร
  • 11. 11 แสวงหาความรวมมือกับหุนสวนที่มี potential vaccine candidates ดวย  วางแผนการเขาถึงวัคซีนตั้งแตระยะตน รวมถึงเรื่อง IP management ๔. การติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ  ขาดกลไกการติดตามประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ โดยมีกลไกเชิงนโยบายภาครัฐเปนหลัก ซึ่งจําเปนที่จะตองมีกลไกที่มาชวยคิดระดับ ยุทธศาสตรและกลไกที่รูจริงในระดับปฏิบัติมาเสริม กลไกระดับนโยบาย  พัฒนากลไกที่คลองตัวและมีการหารืออยางสม่ําเสมอที่ ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญในประเด็นยุทธศาสตร เพื่อสงเสริม การแกปญหาระดับยุทธศาสตร สนับสนุน Policy advocacy ชวยคงความสําคัญในระดับนโยบายใหมีความเขมแข็งอยาง ตอเนื่องไมใหลดนอยลงหลังภาวะวิกฤติ และเชื่อมโยงกับ นโยบายในระดับโลก เชน การมีเวที think tank การทํางานใน รูปแบบ taskforce  พัฒนากลไกระดับการดําเนินงานที่มีผูเชี่ยวชาญและมี การวางแผนและแกปญหาอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง ในการ ขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ จากประเด็นทาทายและขอเสนอแนะในตารางนี้ ไดนําไปวางวางยุทธศาสตรและกลยุทธในลําดับตอไป ๔. วิสัยทัศน ประชาชนไทยเขาถึงวัคซีน CoVID19 ที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ อยางทั่วถึงและ เปนธรรม เพื่อหลีกเลี่ยงการปวย การเสียชีวิตและลดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ หลักการสําคัญ ๕ ประการ ๑. Shared national vision: future oriented and sustainability ๒. Inclusive process with clear mandate and milestones ๓. Building on capacities and efforts of partners at national and international levels ๔. Information and knowledge sharing: national public goods ๕. Driving by scientific knowledge ลําดับความสําคัญ (Priorities)  เนนการสนับสนุน Innovative platforms ที่สามารถตอยอดสูการขยายกําลังการผลิตได  ลด cycle time ในการพัฒนาวัคซีน
  • 12. 12  วางแผนการเตรียมการผลิตวัคซีนใหพรอมภายใน ๖ เดือน เพื่อรองรับการผลิตวัคซีนที่มีศักยภาพ โดยดําเนินงานคูขนานกับการวิจัย  ลดระยะเวลาและคาใชจายในการทํา clinical trials รวมทั้งการใช modeling and simulation เขามาสนับสนุน  พัฒนาแนวทางและกระบวนการประกันและควบคุมคุณภาพที่เหมาะสมกับบริบทของการระบาด ที่นํามาใชไดอยางเปนรูปธรรม  วางแผนการเขาถึงวัคซีนและการนําไปใชในทุกระยะของการพัฒนาวัคซีน ๕. วัตถุประสงค Blueprint เพื่อการเขาถึงวัคซีนปองกัน COVID 19 ของประชาชนไทยจัดทําขึ้นเพื่อเปนกรอบ นโยบายในการบูรณาการประสานงานสรางความรวมมือ ระหวางหนวยงานทุกภาคสวน ในการบรรลุเปาหมาย การเขาถึงวัคซีนของประชาชน ใหมีความปลอดภัยและลดผลกระทบตอเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของ ประเทศ โดยแผนนี้มุงหวังในการเรงรัดการพัฒนาผลิตวัคซีนหรือสรางองคความรูสําคัญที่เกี่ยวของและสรางขีด ความสามารถของประเทศในการพัฒนาผลิตวัคซีนระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวเพื่อสรางความมั่นคงยั่งยืน เพิ่มความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ๖. เปาหมายและยุทธศาสตร Blueprint เพื่อการเขาถึงวัคซีนปองกัน COVID 19 ของประชาชนไทยมียุทธศาสตรและเปาหมายดังนี้ ๖.๑ ยุทธศาสตร มี ๒ ดาน ๑. นําวัคซีนตนแบบที่มีศักยภาพสูงจากตางประเทศมาทดสอบในประเทศไทยและขอรับการถายทอด เทคโนโลยีเพื่อการผลิต (เปาหมายระยะสั้นและระยะกลาง) ๒. พัฒนาวัคซีนตนแบบในประเทศไทยตั้งแตตนน้ํา (เปาหมายระยะกลางและยาว) เพื่อใหไดผลลัพธที่คาดหวังทั้งในระยะสั้นและระยะยาว กลาวคือ ๑) ไดวัคซีนมาใชทันการณพรอมกับ ประเทศที่พัฒนาวัคซีนสําเร็จเปนรายแรกๆ ๒) สรางขีดความสามารถของประเทศในระยะยาว ใน Blueprint จึง วางยุทธศาสตรไว ๒ ดาน ไดแก
  • 13. 13 ๑. นําวัคซีนตนแบบที่มีศักยภาพสูงจากตางประเทศมาทดสอบในประเทศไทยและขอรับการถายทอด เทคโนโลยีเพื่อการผลิต ยุทธศาสตรนี้มุงหวังการสรางความรวมมือกับประเทศที่มีวัคซีนตนแบบที่มีศักยภาพสูงที่มี แนวโนมที่จะพัฒนาไดสําเร็จทันการณและขอรับถายทอดเทคโนโลยี หรือซื้อเทคโนโลยีเพื่อมาผลิตใหได โดยถือ วายุทธศาสตรนี้จะเปนยุทธศาสตรหลักที่จะเรงรัดเพื่อนําพาคนไทยใหสามารถเขาถึงวัคซีนได  ประสานโดยตรงกับรัฐบาลของประเทศที่มีขีดความสามารถสูง (เชน สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ญี่ปุน ไตหวัน) โดยใชชองทางการทูตหรือผานเครือขายงานตางประเทศ  ประสานความรวมมือผานองคกรระหวางประเทศ (องคการอนามัยโลก) หรือผาน CEPI  นําวัคซีนตนแบบมาทําการวิจัยในมนุษยในประเทศไทย และขอถายทอดเทคโนโลยีหรือซื้อ เทคโนโลยีการผลิต (ในระดับตนน้ํา กลางน้ํา หรือปลายน้ํา) และเตรียมแผนการเขาถึงวัคซีนไวตั้งแตตน  เตรียมคัดเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม วางแผนการลงทุนโครงสราง/ปจจัยพื้นฐาน และเตรียม แผนการผลิตวัคซีนไวตั้งแตตน และเมื่อมีวัคซีนที่ประสบความสําเร็จ สามารถรับถายทอดเทคโนโลยีไดทัน การณ ๒. การพัฒนาความรวมมือในประเทศเพื่อพัฒนาวัคซีนตนแบบในประเทศไทย ยุทธศาสตรนี้เปนการสรางขีดความสามารถของประเทศในระยะกลางและยาว  ประเทศไทยมีกลุมนักวิจัยที่มีขีดความสามารถในการพัฒนาวัคซีนในหลายรูปแบบเทคโนโลยี ซึ่งอาจมีโอกาสสําเร็จได เชน mRNA, DNA, VLP, inactivated, subunit platforms แตอาจไมทันตอ การใช แตจะเปนประโยชนอยางมากตอการพัฒนาขีดความสามารถดานวัคซีนของประเทศในระยะกลาง และระยะยาว รูปที่ ๒ แผนภาพการดําเนินงานตามเปาหมายเชิงยุทธศาสตรและกรอบเวลา
  • 14. 14 ๖.๒ เปาหมายในเชิงกระบวนการ เพื่อใหบรรลุยุทธศาสตรทั้งสองดานในกรอบเวลาที่กําหนด มีความจําเปนตองตองเรงรัดกระบวนการ สําคัญตลอดวงจรนโยบายและ vaccine value chain โดยแบงเปาหมายในเชิงกระบวนการเปน ๔ ดาน ไดแก ๑. สงเสริมกลไกการประสานนโยบายและสรางสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมกับการวิจัยพัฒนาวัคซีน ๒. เรงรัดกระบวนการวิจัยพัฒนาวัคซีน ๓. เตรียมการผลิตวัคซีนเพื่อรองรับเทคโนโลยีจากวัคซีนที่ประสบความสําเร็จ ๔. พัฒนารูปแบบการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ทั้งสองยุทธศาสตรมีความเชื่อมโยงและมี Common pathways ดังแสดงในตารางที่ ๖ ตารางที่ ๖ ความเชื่อมโยงและเปรียบเทียบจุดเนนของยุทธศาสตรที่ ๑ และยุทธศาสตรที่ ๒ กับเปาหมาย เชิงกระบวนการ เปาหมายเชิงกระบวนการ ยุทธศาสตรที่ ๑ ยุทธศาสตรที่ ๒ ๑. สงเสริมกลไกการประสาน นโยบายและสรางสิ่งแวดลอมที่ เหมาะสมกับการวิจัยพัฒนา วัคซีน  เนนยกระดับใหเปนนโยบายเรงดวน ของรัฐบาลเพื่อใหคนไทยเขาถึงวัคซีน และมีงบประมาณสนับสนุนเพื่อ เตรียมการผลิตวัคซีนใหทันการณ  ความเชื่อมโยงและความเปน เอกภาพของกลไกนโยบายและ กลไกการใหทุนในระยะกลางและ ยาว
  • 15. 15  การเชื่อมโยงกับกลไกนโยบายใน ระดับโลกอยางใกลชิดและเกาะติด ความกาวหนา  การวิจัยวัคซีนเปนแผนงานสําคัญ ภายใตกลไกววน. ๒. เรงรัดกระบวนการวิจัยพัฒนา วัคซีน  เรงรัดกระบวนการวิจัยพัฒนาตั้งแต การทดสอบในมนุษยจนถึง กระบวนการขึ้นทะเบียน โดย เชื่อมโยงกับแนวปฏิบัติในระดับ นานาชาติ  เรงรัดกระบวนการวิจัยพัฒนา ตั้งแตการทดสอบในระดับพรีคลินิก การทดสอบวัคซีนในมนุษยจนถึง กระบวนการขึ้นทะเบียน โดย เชื่อมโยงกับแนวปฏิบัติในระดับ นานาชาติ ๓. เตรียมการผลิตวัคซีนเพื่อ รองรับเทคโนโลยีจากวัคซีนที่ ประสบความสําเร็จ  เรงรัดการเตรียมการผลิตวัคซีน ทั้ง การเตรียมกระบวนการทางเทคนิค และโครงสรางปจจัยพื้นฐาน ใหพรอม รับการถายทอดเทคโนโลยีที่ประเทศ ไดคัดเลือก ภายใน ๑๘ เดือน  กระบวนการเตรียมการใน ยุทธศาสตรที่ ๑ จะเปนพื้น ฐานรองรับยุทธศาสตรที่ ๒ ในระยะ กลางและระยะยาว ๔. พัฒนารูปแบบการติดตาม ประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ  มีกระบวนการติดตามประเมินผลทั้ง ๒ ยุทธศาสตรที่เชื่อมโยง ตอยอด และสงเสริมซึ่งกันและกัน เปาหมายในเชิงกระบวนการไดนําไปสูการวางกลยุทธและมาตรการในขอ ๘ ๗. กลยุทธ มาตรการ และหนวยงานหลักที่รวมดําเนินการ กลยุทธ มาตรการสําคัญ และหนวยงานหลักที่รวมดําเนินการ ที่รองรับเปาหมายของแผนผังฯ แสดงใน ตารางที่ ๗
  • 16. 16 ตารางที่ ๗ มาตรการหลักตาม Blueprint เพื่อการเขาถึงวัคซีนปองกัน COVID 19 ของประชาชนไทย เปาหมาย กลยุทธ มาตรการหลัก หนวยงานหลัก ๑. สงเสริมกลไก ประสานนโยบายและ สรางสิ่งแวดลอมที่ เหมาะสมกับการวิจัย พัฒนาวัคซีน ๑.๑ ผลักดันใหการพัฒนาวัคซีน เปนนโยบายสําคัญและเรงดวน ระดับชาติ ๑.๑.๑ เสนอตอคณะกรรมการวัคซีนแหงชาติใหการพัฒนาผลิตวัคซีน COVID 19 เปนนโยบายสําคัญระดับชาติและเปนนโยบายเรงดวน ที่ ตองเรงรัดและจัดหาทรัพยากรสนับสนุนใหเพียงพอ ๑.๑.๒ เสนอให Vaccine เปน Flagship program หรือเปนแผนงาน สําคัญที่มีนโยบายและทรัพยากรสนับสนุนอยางตอเนื่อง ภายใตกลไก นโยบายวิทยาศาสตร ๑.๒.๓ เสนอ Blueprint ใหรับรองโดยคณะกรรมการวัคซีนแหงชาติ และรับรองเปนนโยบายเรงดวนและสําคัญภายใตกลไก ววน. สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว. มหาวิทยาลัย สวทช. หนวยวิจัย) กระทรวงสาธารณสุข (กรมการแพทย กรมควบคุมโรค กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา) สถาบันวิจัย ระบบสาธารณสุข ๑.๒ พัฒนากลไกประสาน นโยบายในระดับประเทศ ๑.๒.๑ พัฒนากลไกการอภิบาลการวิจัยพัฒนาวัคซีนสําหรับการ ระบาดที่มีประสิทธิภาพ โดยเชื่อมโยงและบูรณาการกับกลไกของ กระทรวง อว. และสวรส. สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว. มหาวิทยาลัย สวทช. หนวยวิจัย) กระทรวงสาธารณสุข (กรมการแพทย กรมควบคุมโรค กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา) สถาบันวิจัย ระบบสาธารณสุข ๑.๓ พัฒนากลไกการใหทุนมี แนวทางที่สอดคลองไปในทิศทาง เดียวกัน มีระบบที่เอื้อตอการวิจัย ที่ยั่งยืน และโปรงใส ๑.๓.๑ พัฒนากลไกสนับสนุนทุนวิจัยวัคซีนที่เปนเอกภาพและไมแยก สวน (Harmonized funding mechanisms) และมีผูจัดการใน ระดับประเทศในระยะยาว (National manager) ๑.๓.๒ ศึกษาวิเคราะหรูปแบบการบริหารทุนวิจัยวัคซีนและการ พัฒนาวัคซีนเพื่อรองรับการระบาดที่เหมาะสม ยืดหยุนและเอื้อตอ สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว. หนวยทุน มหาวิทยาลัย สวทช. หนวยวิจัย) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กองการ ตางประเทศ (กสธ.) สํานักงานองคการ
  • 17. 17 การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศในระยะยาวและเสนอตอ ฝายนโยบายเพื่อพิจารณา (Innovative financing mechanism for vaccine researches in normal and pandemic situation) โดยเชื่อมโยงและสอดคลองกับกลไกวิจัยหลักของประเทศ ๑.๓.๓ ศึกษารูปแบบการลงทุนระหวางรัฐและเอกชนที่เหมาะสม สําหรับการพัฒนาวัคซีนในระยะยาว ๑.๓.๔ หารือแหลงทุนในประเทศเพื่อใหมี harmonized funding mechanism สําหรับวัคซีน โดยมีผูจัดการในระดับชาติที่ชัดเจน ๑.๓.๕ จัดทํากรอบงบประมาณที่จําเปนในแตละดานรวมทั้งแผนการ ลงทุนขนาดใหญ รวมถึงวางแผนงบประมาณที่ยั่งยืน เสนอขอ งบประมาณผานกลไกตางๆ ที่เหมาะสม ๑.๓.๖ จัดทําแผนดําเนินการและลงทุนเรงดวนเพื่อการผลิตวัคซีน COVID19 เพื่อขอรัฐบาลอนุมัติและดําเนินการภายใน ๖ เดือน ๑.๓.๗ ประสานองคการอนามัยโลกและองคกรระหวางประเทศและ องคกรพันธมิตรในประเทศตางๆเพื่อหางบประมาณสนับสนุนจาก ตางประเทศ อนามัยโลกประจําประเทศไทย/สํานักงาน องคการอนามัยโลกประจําภูมิภาคและ สํานักงานใหญองคการอนามัยโลก USAID, US CDC, CEPI, JICA, WB, China CDC, Universities, research institutes ผูผลิตวัคซีน ๑.๓ พัฒนากรอบการประสาน นโยบายในระดับนานาชาติ ๑.๓.๑ ประสานกับองคการอนามัยโลกเพื่อใหประเทศไทยมีสวนรวม ในกลไกนโยบายในสวนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาวัคซีน โดยประเทศ ไทยเขาไปเปนผูเลนสําคัญตั้งแตในระยะตนและติดตามอยูในกระแส โลกอยางใกลชิด ๑.๓.๒ ติดตามความกาวหนาการวิจัยพัฒนาวัคซีนในระดับโลกและ มองหาหนวยงานที่มีขีดความสามารถสูงเพื่อรวมมือในการพัฒนา วัคซีนและเจรจาเพื่อรับการถายทอดเทคโนโลยี สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว. มหาวิทยาลัย สวทช. หนวยวิจัย) กองการตางประเทศ (กสธ.) สํานักงานองคการอนามัยโลกประจํา ประเทศไทย/สํานักงานองคการอนามัย โลกประจําภูมิภาค USAID, US CDC, CEPI, JICA
  • 18. 18 ๑.๓.๓ ประสานความรวมมือกับหนวยงานที่มีขีดความสามารถสูงใน ประเทศตางๆ และเชื่อมโยงผานกลไกรัฐบาล ในรูปแบบความรวมมือ ทวิภาคี เพื่อพัฒนาวัคซีนและการเขาถึงวัคซีนสําหรับคนไทย ๒. เรงรัด กระบวนการวิจัย พัฒนาวัคซีน ๒.๑ พัฒนาแผนที่เดินทางในการ พัฒนาวัคซีนปองกัน COVID 19 ๒.๑.๑ พัฒนาแผนที่เดินทางในการพัฒนาวัคซีนปองกัน COVID 19 และประเมิน/กําหนดรูปแบบเทคโนโลยีเอนกประสงคที่เหมาะสม  วางแผนปดชองวางที่สําคัญในกรอบเวลาและมีผลลัพธที่ชัดเจน o ขั้นตอนการพัฒนาในระดับพรีคลินิกและคลินิก o โครงสรางพื้นฐาน รูปแบบเทคโนโลยี การสงตอสูระดับ อุตสาหกรรม o Intellectual property management ๒.๑.๒ วางเกณฑประเมินในชวงเวลาที่เหมาะสม (Go No Go) และ วางกลไกรวมในการประเมินวัคซีนตนแบบแบบสหสถาบัน สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว. มหาวิทยาลัย สวทช. หนวยวิจัย) กระทรวงสาธารณสุข (กรมการแพทย กรมควบคุมโรค กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา) สถาบันวิจัย ระบบสาธารณสุข ผูผลิตวัคซีน/ชีววัตถุ (สภากาชาดไทย องคการเภสัชกรรม บริษัท GPO-MBP, Bionet Asia, Kingen, Siam BioScience) ๒.๒ วางแนวทางการประกันและ ควบคุมคุณภาพวัคซีนและ แนวทางจริยธรรมการวิจัย ๒.๒.๑ วางแนวทางการประกันและควบคุมคุณภาพวัคซีนและ แนวทางจริยธรรมการวิจัย (เชน animal model, clinical trial protocol)  วางแนวทางการประกันและควบคุมคุณภาพสําหรับวัคซีน ตนแบบจากตางประเทศที่จะนํามาทดสอบในประเทศไทยและแนว ทางการขึ้นทะเบียนที่เหมาะสมกับบริบทของการระบาด  วางแนวทางการประกันและควบคุมคุณภาพวัคซีนที่พัฒนา ในประเทศและเตรียมขึ้นทะเบียนในฐานะ Country of origin สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง สาธารณสุข (กรมการแพทย กรมควบคุม โรค กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว. มหาวิทยาลัย สวทช. หนวยวิจัย) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
  • 19. 19  วางแนวทางจริยธรรมการวิจัยสําหรับวัคซีนจากตางประเทศ และวัคซีนที่พัฒนาในประเทศ ๒.๓ พัฒนาระบบขอมูลการวิจัย วัคซีนและทรัพยากรที่สําคัญ รวมทั้งสราง platform การ แลกเปลี่ยนขอมูล ๒.๓.๑ พัฒนาระบบฐานขอมูลวัคซีนและทรัพยากรที่สําคัญ  ขอมูลพื้นฐานที่ทันสมัยของวัคซีนในระดับโลกและใน ประเทศ  องคความรูที่เกี่ยวของ  Information sharing platform สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง สาธารณสุข (กรมการแพทย กรมควบคุม โรค กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว. หนวย ทุน มหาวิทยาลัย สวทช. หนวยวิจัย) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ๒.๔ พัฒนาแนวทางและ มาตรฐานที่เกี่ยวของกับการวิจัย พัฒนาวัคซีนใหเหมาะสมกับ บริบทของการระบาด ๒.๔.๑ แนวทางและแผนปฏิบัติการการแยกเชื้อไวรัสจากผูปวย/ genetic sequencing และการพัฒนา assay ที่จําเปน โดยมี แนวทางความรวมมือที่ตกลงระหวางสถาบันตางๆ รวมถึง Material Transfer Agreement ๒.๔.๒ สนับสนุนการขยายขีดความสามารถในการทําการวิจัยใน มนุษย โดยเชื่อมโยงกับแนวปฏิบัติในระดับนานาชาติ  กําหนดขั้นตอนที่ชัดเจนในการออกแบบการวิจัยในมนุษย และลดระยะเวลาการดําเนินงาน  ประเมินทางเลือกการวิจัยในมนุษยในรูปแบบตางๆ สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง สาธารณสุข (กรมการแพทย กรมควบคุม โรค กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว. มหาวิทยาลัย สวทช.) สถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข ๓. เตรียมการผลิต วัคซีนเพื่อรองรับ เทคโนโลยีจาก วัคซีนที่ประสบ ความสําเร็จ ๓.๑ จัดทําแผนเตรียมการผลิต วัคซีนที่มีศักยภาพสูง โดย ดําเนินงานคูขนานกับการวิจัย พัฒนาวัคซีน ระยะเวลา ๖ เดือนแรก ๓.๑.๑ วิเคราะหและคัดเลือกเทคโนโลยีที่มีความเปนไปไดสูงที่จะ ประสบความสําเร็จ เชน DNA vaccine, Adenovirus vector และมี การติดตามความกาวหนาของวัคซีนในระดับโลกอยางตอเนื่อง สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง สาธารณสุข (กรมการแพทย กรมควบคุม โรค กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว.
  • 20. 20 ๓.๑.๒ ประเมินความพรอมสําหรับการรองรับการผลิตวัคซีนในดาน ตางๆ อยางรอบดานและมีขอเสนอการลงทุนและการดําเนินการเพื่อ ปดชองวาง (การปรับโครงสรางพื้นฐานที่มีอยู การเตรียมบุคลากร วัตถุดิบและทรัพยากร พัฒนากระบวนการเพื่อรองรับการถายทอด เทคโนโลยีที่ไดประเมินไวในขอ ๓.๑.๑) โดยระดมสรรพกําลังทุกภาค สวน ๓.๑.๓ จัดทําแผนการเตรียมความพรอมและแผนการลงทุนเสนอ รัฐบาลรับรองและเห็นชอบ ๓.๑.๔ ประสานและเจรจาขอทําความรวมมือและการขอรับถายทอด เทคโนโลยี ๓.๑.๕ ราง proposal เตรียมการเพื่อเสนอขอทุนกับแหลงทุน ตางประเทศ เชน CEPI ระยะเวลา ๖ – ๑๘ เดือน ๓.๑.๖ ดําเนินการตามแผนเตรียมความพรอม โดยเริ่มทดลอง กระบวนการผลิตวัคซีนในเทคโนโลยีที่ไดคัดเลือกไว ๓.๑.๗ ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานการผลิต ตามรูปแบบเทคโนโลยีที่ คัดเลือกไว (Cell-based platform, เทคโนโลยีถังหมัก หรือ mRNA platform) ๓.๑.๘ เตรียมปจจัยพื้นฐานอื่นๆ (เครื่องจักร วัตถุดิบและวัสดุ อุปกรณตางๆ) ๓.๑.๙ พัฒนาบุคลากรทั้ง on the job training และการอบรม เฉพาะกับเครือขายที่มีขีดความสามารถ มหาวิทยาลัย สวทช.) สถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข ผูผลิตวัคซีน/ชีววัตถุ (สภากาชาดไทย องคการเภสัชกรรม บริษัท GPO-MBP, Bionet Asia, NBF, Siam BioScience) Potential investor (ปตท.)
  • 21. 21 ๔. พัฒนารูปแบบการ ติดตามประเมินผล ที่มีประสิทธิภาพ ๔.๑ พัฒนากลไกระดับนโยบาย เพื่อติดตามประเมินผลใน ระดับประเทศ ๔.๑.๑ ใชกลไกในขอ ๑.๑.๑ และ ๑.๑.๒ ในการติดตามกํากับระดับ นโยบาย ๔.๑.๒ พัฒนากลไกที่คลองตัวและมีการหารืออยางสม่ําเสมอ ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญในประเด็นยุทธศาสตร เพื่อสงเสริมการ แกปญหาระดับยุทธศาสตร รับทราบความกาวหนา ระดมสมอง วางแผนขับเคลื่อนประเด็นสําคัญและวางแนวทางการแกไขปญหาที่ ทาทายในระดับนโยบาย เปนขอมูลเพื่อนําเขากลไกตางๆ ที่เกี่ยวของ สนับสนุน Policy advocacy ชวยคงความสําคัญในระดับนโยบาย ใหมีความเขมแข็งอยางตอเนื่องไมใหลดนอยลงหลังภาวะวิกฤติ และ ใชทุนสังคมและปญญาของผูเชี่ยวชาญเชื่อมโยงกับนโยบายในระดับ โลก เชน การมีเวที think tank การทํางานในรูปแบบ taskforce สถาบันวัคซีนแหงชาติ กระทรวง อว. (สอวช. วช. สกสว. หนวยทุน มหาวิทยาลัย สวทช. หนวยวิจัย) กระทรวงสาธารณสุข (กรมการแพทย กรมควบคุมโรค กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา) สถาบันวิจัย ระบบสาธารณสุข ผูผลิตวัคซีน/ชีววัตถุ (สภากาชาดไทย องคการเภสัชกรรม บริษัท GPO-MBP, Bionet Asia, NBF, Siam BioScience) Potential investor (ปตท.)๔.๑.๓ ใหมีคณะทํางานในแตละดานที่สําคัญเพื่อติดตาม ความกาวหนาการดําเนินงานอยางใกลชิดและวางแนวทางแกไข ปญหาในระดับปฏิบัติ ใน ๕ ดาน  คัดเลือกและติดตามความกาวหนาในการพัฒนาวัคซีน ตนแบบในประเทศและตางประเทศที่จะนํามาทดสอบ  เตรียมความพรอมการขึ้นทะเบียนแบบเรงรัดและ แนวทาง/มาตรฐานที่ตองการสําหรับวัคซีนที่ใชรูปแบบเทคโนโลยี ใหม  เตรียมพรอมโครงสรางพื้นฐาน บุคลากร สําหรับการผลิต ที่ครอบคลุมแนวทางเลือกตั้งแตตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา  เตรียมการทดสอบในคนและเตรียมพรอมเรื่องจริยธรรม การวิจัย
  • 22. 22  วางแผนการเขาถึงวัคซีน (Access plan) และการ จัดลําดับความสําคัญและแผนการใชการกระจาย รวมถึงระบบเฝา ระวังความปลอดภัยภายหลังการใช โดยดําเนินการตั้งแตตน และ มองทางเลือกที่เปนไปไดอยางรอบดานเพื่อลดความเสี่ยง รวมถึง แผนการสื่อสารความเสี่ยง/immunization literacyแกประชากร กลุมเปาหมายตางๆ