SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
ปิ โตรเลียม (Petroleum)
เคมี 5 ว 30230 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
นางสาวณิชานันท์ อาจหาญ
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
ความหมายของปิโตรเลียม (Petroleum)
Petroleum
Petra
หิน
Oleum
น้ำมัน
น้้ามันที่ได้จากหิน
สถานะของปิโตรเลียม
น้้ามันดิบ (Crude Oil) แอลเคน ไซโคแอลเคน
ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas)
ของเหลว
แก๊ส
การทับถมของซากพืชและซากสัตว์
ก๊าซธรรมชาติที่ควรรู้จัก
โพรเพน อีเทน มีเทน บิวเทน
การก้าเนิดปิโตรเลียม
Inorganic theory
น้้ามันเกิดจาก calcium carbide ภายใต้ผิว
โลก ท้าปฏิกิริยากับน้้าเกิดเป็น acetylene ก๊าซนี้
ถูกกัมมันตภาพรังสีอนุภาคแอลฟาท้าให้ก๊าซรวมตัว
ด้วยกระบวนการ polymerization ท้าให้เกิด
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลใหญ่ขึ้น
เรื่อยๆ จนเป็นน้้ามันดิบใต้ผิวโลก
การก้าเนิดปิโตรเลียม
Organic theory
ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและแปรสภาพของ
ซากสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในชั้น
หินใต้ผิวโลก โดยซากสิ่งมีชีวิตและกรวด ดิน ทราย ทับ
ถมกันเกิดเป็นชั้นตะกอน ต่อมาเกิดน้้าหนักกดทับจน
กลายเป็นชั้นหินทราย ชั้นหินปูน ชั้นหินดินดาน ความ
กดดันจากชั้นหิน ผนวกกับความร้อนใต้ผิวโลก และการ
สลายตัวของสารอินทรีย์โดยแบคทีเรีย ท้าให้กลายสภาพ
เป็นหยดน้้ามันและก๊าซธรรมชาติ
โครงสร้างของแหล่งก้าเนิดปิโตรเลียม
ชนิดของ
ปิโตรเลียม
ปริมาณเป็นร้อยละโดยมวล
คาร์บอน ไฮโดรเจน ก้ามะถัน ไนโตรเจน
น้้ามันดิบ 82-87 12-15 0.1-5.5 0.1-1
แก๊สธรรมชาติ 65-80 1-25 0.2 10-15
แหล่งกักเก็บปิโตรเลียม (รูปโค้งประทุนคว่้า)
แหล่งกักเก็บปิโตรเลียม (รูปโดม)
แหล่งกักเก็บปิโตรเลียม (รูปรอยเลื่อนของชั้นหิน)
แหล่งกักเก็บปิโตรเลียม (รูประดับชั้น)
การส้ารวจปิโตรเลียม
การส้ารวจทางธรณีวิทยา (Geology)
การส้ารวจทางธรณีวิทยา เป็นวิธีการส้ารวจโดย
ใช้ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศ แผนที่ และ
รายงานทางธรณีวิทยาเป็นข้อมูลพื้นฐาน แล้วจึงส้ารวจ
ธรณีวิทยาพื้นผิวโลกโดยการเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่าง
หินจากผิวดิน ช่วยในการคาดคะเนว่าจะพบโครสร้างและ
ชนิดของหินที่เอื้อต่อการกักเก็บปิโตรเลียมในบริเวณนั้นๆ
มากน้อยเพียงใด หรือช่วยในการคาดคะเนหาบริเวณที่มี
โอกาสพบน้้ามันนั่นเอง
การส้ารวจปิโตรเลียม
การส้ารวจทางธรณีฟิสิกส์ (Geophysics)
การวัดความเข้มสนามแม่เหล็กโลก
จะบอกให้ทราบถึงขอบเขต ความหนา ความกว้างใหญ่ของแอ่ง
และความลึกของชั้นหิน
การวัดค่าความโน้มถ่วงของโลก
ทาให้ทราบถึงชนิดของชั้นหินใต้ผิวโลกในระดับต่างๆ ซึ่งจะช่วยใน
การกาหนดขอบเขตและรูปร่างของแอ่งใต้ผิวดิน
การวัดค่าความไหวสะเทือน (Seismic wave)
จะช่วยบอกให้ทราบตาแหน่ง รูปร่างลักษณะ และโครงสร้างของ
หินใต้ดิน
การส้ารวจปิโตรเลียม
การส้ารวจทางธรณีฟิสิกส์ (Geophysics)
การส้ารวจปิโตรเลียม
การเจาะส้ารวจ
การเจาะส้ารวจเป็นขั้นตอนสุดท้าย เพื่อให้ได้ข้อมูลว่า
บริเวณที่ท้าการส้ารวจไว้มีปิโตรเลียมจริงหรือไม่ ซึ่งมีการเจาะ
ส้ารวจทั้งบนบกและในทะเล การเจาะบนบกจะลงทุนน้อยกว่า
การเจาะในทะเล เนื่องจากไม่ต้องเผชิญกับภาวะคลื่นลม
เครื่องมือเจาะเป็นแบบหัวหมุน
นอกจากนี้ยังมีการใช้โคลนเป็นตัวช่วยในการเจาะแหล่ง
น้้ามัน เพื่อให้หัวหมุนของเครื่องเจาะท้างานโดยปราศจากความ
ฝืดด้วย
การส้ารวจปิโตรเลียม
การเจาะส้ารวจ
การส้ารวจปิโตรเลียม
การส้ารวจปิโตรเลียม
การเจาะหลุมผลิต
เป็นการเจาะเพื่อน้าปิโตรเลียมจากแหล่งกักเก็บขึ้นมา
บนพื้นดิน เพื่อน้าไปใช้ประโยชน์ หากหลุมใดมีความดันภายใน
สูง ปิโตรเลียมจะถูกดันไหลขึ้นมาเอง แต่ถ้าหลุมใดมีความดัน
ภายในต่้า จะต้องเพิ่มแรงดันภายนอกเช้าไปด้วย นิยมใช้แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ หรือไอน้้าอัดลม ปิโตรเลียมที่ได้จะถูกส่งไป
ยังโรงกลั่นหรือโรงแยก เพื่อแยกให้ได้สารที่มีสมบัติเหมาะสมกับ
การใช้งาน
การกลั่นน้้ามันดิบโดยใช้กระบวนการกลั่นล้าดับส่วน
การกลั่นน้้ามันดิบโดยใช้กระบวนการกลั่นล้าดับส่วน
การแปรรูปพลังงาน : ปิโตรเลียม
น้้ามันดิบ
โรงกลั่นน้้ามัน
น้้ามันส้าเร็จรูป
ก๊าซหุงต้ม
การแปรรูปพลังงาน : ปิโตรเลียม
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว หรือแอลพีจี
(Liquefied Petroleum Gas)
น้้ามันเบนซิน
น้้ามันดีเซล
น้้ามันเตา
น้้ามันเครื่องบิน
ยางมะตอย
การส้ารวจน้้ามันดิบในประเทศไทย
มีการส้ารวจน้้ามันดิบครั้งแรกใน พ.ศ. 2464 พบที่
อ้าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และพบแก๊สธรรมชาติที่มีปริมาณ
มากพอเชิงพาณิชย์ในอ่าวไทยเมื่อ พ.ศ. 2516 ต่อมาพบที่
อ้าเภอน้้าพอง จังหวัดขอนแก่น
แหล่งน้้ามันดิบใหญ่ที่สุดของประเทศ ได้แก่ น้้ามันดิบ
เพชร จากแหล่งสิริกิติ์ กิ่งอ้าเภอลานกระบือ จังหวัด
ก้าแพงเพชร แหล่งผลิตแก๊สธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดอยู่ในอ่าวไทย
ชื่อว่า แหล่งบงกช เจาะส้ารวจพบเมื่อ พ.ศ. 2523
การส้ารวจน้้ามันดิบในประเทศไทย
บ่อน้้าน้้ามัน "แหล่งสิริกิติ์" อ้าเภอลานกระบือ จังหวัดก้าแพงเพชร
การส้ารวจน้้ามันดิบในประเทศไทย
ท่อส่งน้้ามันจากหลุมขุดเจาะไปสู่สถานีรวบรวมน้้ามันดิบ
การส้ารวจน้้ามันดิบในประเทศไทย
ปริมาณส้ารองปิโตรเลียมในประเทศไทย มีปริมาณที่
ประเมินได้ดังนี้
 น้ามันดิบ 806 ล้านบาร์เรล
 แก๊สธรรมชาติ 32 ล้านลูกบาศก์ฟุต
 แก๊สธรรมชาติเหลว 688 ล้านบาร์เรล
การส้ารวจน้้ามันดิบในประเทศไทย
แหล่งสะสมปิโตรเลียมขนาดใหญ่ที่สุดของโลก
อยู่ที่อ่าวเปอร์เซีย รองลงมาคือบริเวณอเมริกากลาง
อเมริกาเหนือ และรัสเซีย ปิโตรเลียมที่พบบริเวณ
ประเทศไนจีเรียเป็นแหล่งปิโตรเลียมที่มีคุณภาพดี
ที่สุด เพราะมีปริมาณสารประกอบกามะถันปนอยู่น้อย
ที่สุด
หน่วยวัดปริมาณปิโตรเลียม
หน่วยที่ใช้วัดปริมาณน้้ามันดิบ คือ บาร์เรล (barrel)
1 บาร์เรล มี 42 แกลลอน หรือ 158.987 ลิตร
หน่วยที่ใช้วัดปริมาตรของแก๊สธรรมชาติ
นิยมใช้หน่วยวัด เป็นลูกบาศก์ฟุต ที่อุณหภูมิ 60
องศาฟาเรนไฮต์ (15.56 องศาเซลเซียส) และความดัน 30
นิ้วของปรอท
การปรับปรุงโครงสร้างโมเลกุลเพื่อให้มีคุณภาพดีขึ้น
เป็นการน้าสารประกอบไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่ มา
เผาที่อุณหภูมิ 450 – 550 องศาเซลเซียส ภายใต้ความดันต่้า
และมีซิลิกา – อะลูมินา เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา วิธีนี้เป็นการเพิ่ม
ปริมาณเชื้อเพลิงโดยเฉพาะน้้ามันเบนซินและน้้ามันดีเซลให้
เพียงพอต่อความต้องการ หรือเป็นการเพิ่มคุณภาพน้้ามัน
เชื้อเพลิง
กระบวนการแตกสลาย (cracking process)
การปรับปรุงโครงสร้างโมเลกุลเพื่อให้มีคุณภาพดีขึ้น
เป็นการเปลี่ยนไฮโดรคาร์บอนที่เป็นแบบโซ่ตรงให้เป็น
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เป็นแบบโซ่กิ่ง หรือเป็นการเปลี่ยน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงให้เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
ประเภท อะโรมาติก โดยใช้ความร้อนและตัวเร่งปฏิกิริยา
กระบวนการรีฟอร์มมิง (reforming)
การปรับปรุงโครงสร้างโมเลกุลเพื่อให้มีคุณภาพดีขึ้น
เป็นการรวมตัวโมเลกุลของแอลเคนกับแอลคีน โดยมี
กรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เกิดเป็นโมเลกุลที่เป็นแอลเคน
ที่มีโครงสร้างแบบมีกิ่ง
วิธีแอลคิเลชัน (alkylation)
การปรับปรุงโครงสร้างโมเลกุลเพื่อให้มีคุณภาพดีขึ้น
เป็นวิธีการรวมไฮโดรคาร์บอนที่ไม่อิ่มตัว (แอลคีน)
โมเลกุลเล็กๆ เข้าด้วยกัน โดยใช้ความร้อนและตัวเร่งปฏิกิริยา
จะได้สารประกอบที่คาร์บอนอะตอมเพิ่มขึ้น 1, 2, 3, หรือ 4
เท่า ซึ่งจะมีโครงสร้างที่เหมาะสมที่จะเป็นเชื้อเพลิง
วิธีโอลิโกเมอไรเซชัน (oligomerization)
การบอกคุณภาพน้้ามัน
การก้าหนดคุณภาพของน้้ามันเบนซิน
การบอกคุณภาพของน้้ามันเบนซินจะก้าหนดโดยใช้เลข
ออกเทน (octane number) โดยใช้สมบัติในการเผาไหม้ของ
ไอโซออกเทนและเฮปเทน
การบอกคุณภาพน้้ามัน
การก้าหนดคุณภาพของน้้ามันเบนซิน
ก้าหนดว่า
น้้ามันเบนซินที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับไอโซออกเทน
มีเลขออกเทน เท่ากับ 100
น้้ามันเบนซินที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับเฮปเทน
มีเลขออกเทน เท่ากับ 0
การบอกคุณภาพน้้ามัน
การก้าหนดคุณภาพของน้้ามันเบนซิน
น้้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 95 หมายความว่า
มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับเชื้อเพลิงที่ได้จากการผสม
ไอโซออกเทนร้อยละ 95 กับเฮปเทนร้อยละ 5 โดยมวล
Isooctane เชื้อเพลิงเหมาะสมกับเครื่องยนต์เบนซิน การระเบิดและ
จังหวะในกระบอกสูบเหมาะสมเครื่องยนต์เดินเรียบ
น้้ามันเบนซินที่กลั่นได้และปรับปรุงคุณภาพแล้ว ส่วนใหญ่มี
เลขออกเทนต่้ากว่า 75 ดังนั้นมีการเพิ่มเลขออกเทนโดยเติมสารเคมีบาง
ชนิด
การบอกคุณภาพน้้ามัน
การก้าหนดคุณภาพของน้้ามันเบนซิน
ในอดีต เติมเตตระเมทิลเลด หรือ เตตระเอทิลเลดลง ในน้้ามัน
เบนซินที่กลั่นได้ แต่เมื่อน้าไปใช้งานในเครื่องยนต์ จะท้าให้มีสารตะกั่ว
ปล่อยออกมาพร้อมกับไอเสียเครื่องยนต์ซึ่งเป็นพิษร้ายแรงต่อมนุษย์และ
สิ่งแวดล้อม ดังนั้นประเทศไทยได้ประกาศยกเลิกใช้เตตระเมทิลเลด และ
เตตระเอทิลเลด ในปี พ.ศ. 2539 เป็นต้นไป
การบอกคุณภาพน้้ามัน
การก้าหนดคุณภาพของน้้ามันเบนซิน
(MTBE อาจปนเปื้อนในแหล่งน้้าใต้ดิน)
น้้ามันไร้สารตะกั่ว (unlead gasoline -UGL)
(ETBE)
การบอกคุณภาพน้้ามัน
การก้าหนดคุณภาพของน้้ามันดีเซล
การบอกคุณภาพน้้ามันดีเซล จะบอกโดยใช้เลขซีเทน
(cetane number) ซึ่งก้าหนดคุณภาพโดยใช้สมบัติในการเผา
ไหม้ของซีเทนและแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน
a-methylnapthalene
การบอกคุณภาพน้้ามัน
การก้าหนดคุณภาพของน้้ามันดีเซล
ก้าหนดว่า
น้ามันดีเซลที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับซีเทน
มีเลขซีเทน เท่ากับ 100
น้ามันดีเซลที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับแอลฟาเมทิล
แนฟทาลีน มีเลขซีเทน เท่ากับ 0
น้ามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 80 มีสมบัติการเผาไหม้เช่น
เดียวกับเชื้อเพลิงที่ได้จากการผสมซีเทนร้อยละ 80 กับแอลฟา
เมทิลแนฟทาลีน ร้อยละ 20 โดยมวล
การบอกคุณภาพน้้ามัน
การก้าหนดคุณภาพของน้้ามันดีเซล
น้ามันดีเซลเป็นผลิตภัณฑ์น้ามันที่ได้จากการกลั่นลาดับ
ส่วนน้ามันดิบ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
ดีเซลหมุนเร็ว หรือโซล่าเหมาะสาหรับเครื่องยนต์รอบสูง
กว่า 1000 รอบ/นาที
ดีเซลหมุนช้า หรือขี้โล้ เหมาะสาหรับเครื่องยนต์ที่ใช้ขับ
เคลื่อนเรือเดินทะเล และการผลิตกระแสไฟฟ้า เป็นต้น
การแยกแก๊สธรรมชาติ
ก่อนน้าแก๊สธรรมชาติไปใช้ประโยชน์จะต้องผ่านกระบวนการ
แยกเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับงานที่จะใช้ก่อน กระบวนการ
แยกแก๊สธรรมชาติมีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนการแยกแก๊สธรรมชาติ
เมื่อขุดเจาะได้จากพื้นดินจะมีทั้งสถานะของเหลว เรียกว่า แก๊ส
เหลว และแก๊ส เรียกว่า แก๊สธรรมชาติ ผสมกันอยู่ การแยกทั้งสองส่วน
นี้ออกจากกันท้าได้ดังแผนภาพ
แหล่งก้าเนิดก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย มี 2 แหล่งด้วยกัน
บนบก (มีปริมาณน้อย) ได้แก่
อ.น้้าพอง จ.ขอนแก่น
ในทะเล (มีปริมาณมาก) ได้แก่
บริเวณอ่าวไทย
โรงแยกและแปรสภาพก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย
โรงแยกก๊าซธรรมชาติของการปิโตรเลียม แห่งประเทศไทย ต.มาบตาพุด
อ.เมือง จ.ระยอง
โรงแยกก๊าซธรรมชาติของการปิโตรเลียม แห่งประเทศไทย ต.ท้องเนียน
อ.ขนอม จ.นครศรีธรรมราช
ปริมาณส้ารองก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย
ธนาคารโลกประเมินไว้ประมาณ 19.25 ล้าน
ล้านลูกบาศก์ฟุต แหล่งก๊าซธรรมชาติที่สาคัญ
ได้แก่ แหล่งก๊าซธรรมชาติในบริเวณอ่าวไทย 12
แห่ง และบนบกอีก 1 แห่ง โดยคาดว่ามีปริมาณ
สารองไว้ทั้งหมด 12.9 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต ซึ่งใน
จานวนนี้ 3.7 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุตค้นพบแล้ว และ
อยู่ระหว่างพัฒนาและนาขึ้นมาใช้
กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ
กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ
ขั้นตอนการแยกก๊าซธรรมชาติ
แก๊สธรรมชาติ หน่วยก้าจัดปรอท
หน่วยก้าจัด H2S และ
CO2 โดยใช้ K2CO3
หน่วยก้าจัดความชื้น
โดยใช้ซิลิกาเจล
หน่วยเปลี่ยนสถานะแก๊ส
ให้เป็นของเหลว
เพิ่ม P ลด T
หอกลั่นล้าดับส่วน
เพิ่ม P ลด T
HC
มีเทน อีเทน โพรเพน
แก๊สปิโตรเลียม
เหลว LPG
แก๊สโซลีน
ธรรมชาติ NGL
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ได้จากการแยกก๊าซธรรมชาติ
ใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับผลิตกระแสไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม
และนาไปอัดใส่ถังด้วยความดันสูง เรียกว่าก๊าซธรรมชาติอัด สามารถใช้
เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์ รู้จักกันในชื่อว่า “ก๊าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์”
(Natural Gas for Vehicles: NGV)
ก๊าซมีเทน (C1)
ก๊าซอีเทน (C2)
ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้น สามารถนาไปใช้
ผลิตเม็ดพลาสติก เส้นใยพลาสติกชนิดต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้แปรรูปต่อไป
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ได้จากการแยกก๊าซธรรมชาติ
ก๊าซโพรเพนใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ขั้นต้นได้
เช่นเดียวกัน และหากนาเอาก๊าซโพรเพนกับก๊าซบิวเทนมาผสมกัน อัดใส่
ถังเป็นก๊าซปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas : LPG) หรือที่
เรียกว่า ก๊าซหุงต้ม สามารถนาไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน เป็นเชื้อ
เพลิงสาหรับยานยนต์ และใช้ในการเชื่อมโลหะได้รวมทั้งยังนาไปใช้ใน
โรงงานอุตสาหกรรมบางประเภทได้อีกด้วย
ก๊าซโพรเพน (C3) และก๊าซบิวเทน (C4)
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ได้จากการแยกก๊าซธรรมชาติ
อยู่ในสถานะที่เป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความ
ดันบรรยากาศ เมื่อผลิตขึ้นมาถึงปากบ่อบนแท่นผลิต
สามารถแยกจากไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นก๊าซบน
แท่นผลิต เรียกว่า คอนเดนเสท (Condensate)
สามารถล้าเลียงขนส่งโดยทางเรือหรือทางท่อ น้าไปกลั่น
เป็นน้้ามันส้าเร็จรูปต่อไป
ไฮโดรคาร์บอนเหลว (Heavier Hydrocarbon)
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ได้จากการแยกก๊าซธรรมชาติ
แม้ว่าจะมีการแยกคอนเดนเสทออกเมื่อทาการผลิตขึ้นมาถึง
ปากบ่อบนแท่นผลิตแล้ว แต่ก็ยังมีไฮโดรคาร์บอนเหลวบางส่วนหลุดไป
กับไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นก๊าซ เมื่อผ่านกระบวนการแยกจากโรง
แยกก๊าซธรรมชาติแล้ว ไฮโดรคาร์บอนเหลวนี้ก็จะถูกแยกออก เรียกว่า
ก๊าซโซลีนธรรมชาติ หรือ NGL (natural gasoline) และส่งเข้าไปยัง
โรงกลั่นน้้ามัน เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์น้้ามันส้าเร็จรูปได้เช่นเดียว
กับคอนเดนเสท และยังเป็นตัวทาละลาย ซึ่งน้าไปใช้ในอุตสาหกรรม
บางประเภทได้เช่นกัน
ก๊าซโซลีนธรรมชาติ
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ได้จากการแยกก๊าซธรรมชาติ
เมื่อผ่านกระบวนการแยกแล้ว จะถูกนาไปทาให้อยู่ในสภาพ
ของแข็ง เรียกว่า น้าแข็งแห้ง นาไปใช้ในอุตสาหกรรมถนอมอาหาร
อุตสาหกรรมน้าอัดลมและเบียร์ ใช้ในการถนอมอาหารระหว่างการ
ขนส่ง นาไปเป็นวัตถุดิบสาคัญในการทาฝนเทียม และนาไปใช้สร้าง
ควันในอุตสาหกรรมบันเทิง อาทิ การแสดงคอนเสิร์ต หรือการถ่าย
ทาภาพยนต์
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ก๊าซธรรมชาติ อยู่ในสภาพสถานะต่างๆ ดังนี้
1. Pipe Natural Gas
เป็นการขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อ ซึ่งเป็นก๊าซ
มีเทนเป็นส่วนใหญ่ การขนส่งด้วยระบบท่อ จะนาไป
เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าและในโรงงาน
อุตสาหกรรม
ก๊าซธรรมชาติ อยู่ในสภาพสถานะต่างๆ ดังนี้
2. NGV หรือ Natural Gas for Vehicles)
เป็นการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงสาหรับ
รถยนต์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นก๊าซมีเทน การขนส่งก๊าซ
ธรรมชาติมาทางท่อและขนส่งทางรถยนต์ เข้าสู่สถานี
บริการ และเข้าสู่ระบบขบวนการในการบรรจุลงในถัง
เก็บก๊าซของรถยนต์ต่อไป
ก๊าซธรรมชาติ อยู่ในสภาพสถานะต่างๆ ดังนี้
3. LNG หรือ Liquefied Natural Gas
เป็นการขนส่งด้วยเรือที่ออกแบบไว้เฉพาะ โดย
การทาก๊าซธรรมชาติให้กลายเป็นของเหลว เพื่อให้
ปริมาตรลดลงประมาณ 600 เท่า โดยทั่วไปจะมี
อุณหภูมิ -160 องศาเซลเซียส
การประโยชน์จากก๊าซธรรมชาติ
ปิโตรเคมีภัณฑ์
 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีเบื้องต้น
– น้าสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่
ได้จากแก๊สหรือน้้ามันดิบมาผลิต
สารโมเลกุลขนาดเล็ก
“MONOMER”
 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต่อเนื่อง
– น้า Monomer มาผลิต
“POLYMER”
LNG หรือก๊าซธรรมชาติเหลว
คือ ก๊าซธรรมชาติที่ผ่านกระบวนการคัดแยกเอาส่วน
ประกอบอื่นๆ เช่น ฮีเลียม น้า ไฮโดรคาร์บอนหนัก เป็นต้น จาก
นั้นจึงนาไปผ่านกระบวนการทาให้เป็นของเหลวโดยทาให้อุณหภูมิ
ลดลงเหลือประมาณ -160 องศาเซลเซียส ซึ่งเหมาะสมที่จะขนส่ง
ไปใช้ในสถานที่ๆท่อส่งก๊าซธรรมชาติยังไปไม่ถึง ดังนั้นในการ
เก็บรักษาหรือการขนส่งจ้าเป็นที่จะต้องใช้ถังชนิดพิเศษที่ถูก
ออกแบบมาเพื่อรักษาอุณหภูมิให้คงสถานะในรูปของเหลวได้
คุณสมบัติ
ไร้กลิ่น ไร้สารพิษ และปราศจากสารกัดกร่อน นอก
จากนี้หากเกิดการรั่วไหล ก็ไม่จาเป็นที่จะต้องหาทางขจัด
เนื่องจาก LNG จะระเหยไปในอากาศอย่างรวดเร็วและไม่
เหลือสารตกค้างใดๆไว้เนื่องจาก LNG ไม่ได้ถูกบรรจุในถัง
โดยการใช้ความดันสูง ดังนั้นจึงไม่เกิดการระเบิดใดๆหาก
เกิดรอยแตกขึ้นที่ถัง
LNG
NG
ความแตกต่างระหว่าง LNG กับ NG

More Related Content

What's hot

สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationBELL N JOYE
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and application
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ปิโตรเลียม (Petroleum)