SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
3133725802640บ้านจ๊างนัก<br />ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิริยะซึ่งได้รวบรวมเพื่อนฝูง ตลอดจนลูกศิษย์ลูกหา ช่างแกะสลักฝีมือดีและมีความรักในศิลปะการแกะสลัก ไม้แบบล้านนามารวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มแกะสลักขึ้นมา<br />เมื่อปีพ.ศ.2531 คุณลุงประยูร จรรยาวงศ์ (2458) คอลัมน์นิสต์ชื่อดังแห่งหนังสือพิมพ์ ไทยรัฐในขณะ นั้น ได้ให้เกียรติ มา เยี่ยม เยือน พร้อมกับตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านจ๊างนัก” อันหมายถึงบ้านที่มีช้าง เยอะแยะมากมาย<br />บ้านจ๊างนัก ได้มีการพัฒนารูปแบบการแกะสลักช้าง จากเดิมที่ช่างแกะจะมีการแกะสลักแบบ ตายตัว รูปแบบจะซ้ำกัน มาเป็นการแกะสลักช้างที่ดูมีชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงทำนองที่เหมือน ช้างจริง ๆ ซึ่งนับเป็นแห่งแรกที่มีการแกะสลักช้าง รูปแบบนี้<br />    <br />บ้านจ๊างนักยังเป็นแห่งแรกที่มีการทดลองนำวัสดุใหม่ๆ ที่หาได้ในท้องถิ่นมาทดแทนวัสดุเดิม ที่นับวันมีแต่จะหายากมากขึ้น เช่น มีการนำเอาไม้ขี้เหล็กมาทดแทนไม้สัก ซึ่งประโยชน์เพียงอย่างเดียวของไม้ขี้เหล็ก ในสมัยก่อน คือนำมาทำเป็นเชื้อเพลิงเท่านั้น และผลที่ได้จากการนำมาแกะสลักพบว่า ไม้ขี้เหล็กเป็นไม้เนื้อแข็งมากการแกะค่อน ข้างยากกว่าไม้สัก แต่ผลงานที่ออกมาจะสวยงาม และสีเป็นธรรมชาติ<br />นอกจากการทดลองเรื่องของไม้แล้ว ยังมีการนำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอด กันมามาประยุกต์ใช้ กับงานแกะสลัก นั่นก็คือ นำเอาลูกมะเกลือที่ใช้ในการย้อมผ้า มาย้อมสีไม้ซึ่งก็ให้สีที่เป็นธรรมชาติและ ไม่มีสารพิษตกค้างเป็นอันตราย ต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม<br />เมื่อปี พ.ศ. 2546 บ้านจ๊างนัก ได้รับการบรรจุให้เป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น สังกัด เอกชน ยังผลให้เป็นที่รู้จัก กันอย่างแพร่หลายในหมู่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ ที่มีความสนใจในศิลปะแขนงนี้<br />นอกจากนี้ หนึ่งในความภาคภูมิใจของสล่าบ้านจ๊างนักทุกคนคือ การที่เป็นส่วนหนึ่งของการทำให้ผู้คน ได้เกิดความรัก หวงแหน และ ตระหนักถึงความสำคัญ และปัญหาของ ช้างไทยในปัจจุบัน และร่วมกันอนุรักษ์ช้างไทยให้อยู่คู่กับคนไทยอีกนานเท่านาน<br />   <br /> <br />3086100-6985ประวัติและผลงานของ สล่า เพชร วิริยะ<br />ศิลปินดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี 2543 สาขาทัศนศิลป์ ด้านประติมากรรม<br />สล่า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2498 สถานที่เกิด บ้านบวกค้าง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรของ นายสิงห์ วิริยะ และ นางบัวจีน วิริยะ มีพี่น้อง 5 คน<br />ครอบครัวนายเพชร วิริยะ สมรสกับนางนงเยาว์ วิริยะ (นันไชยศิลป์) มีบุตรธิดาทั้งหมด 2 คน คือ1. นางสาววารียา วิริยะ2. นางสาวเวรุยา วิริยะ<br />การศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนผู้ใหญ่ 1 หอพระ จังหวัดเชียงใหม่การศึกษาผู้ใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรียนผู้ใหญ่สันกำแพง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่<br />ผลงานที่ผ่านมาพ.ศ. 2515-2519 เรียนแกะสลักไม้กับครูอ้าย เดชดวงตา จากนั้นได้รับจ้างแกะสลักตามร้านพ.ศ. 2526 ได้รับราชการเป็นวิทยากรฝึกอบรมอาชีพแกะสลักไม้ประจำกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กรุงเทพฯ 2 ปี จึงลาออกมาทำงานที่บ้านพ.ศ. 2530 ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องช้าง สามารถถ่ายทอดเป็นผลงานแกสะลักช้างได้หลายรูปแบบ กลายเป็นช่างฝีมือและประกอบอาชีพแกะสลักไม้จนถึงปัจจุบัน และได้ฝึกสอนเยาวชนในหมู่บ้าน แนวความคิด ภาคภูมิใจอ่างยิ่งที่ได้ทำงานที่รักและชอบ ถือเป็นหน้าที่ช่วงหนึ่งที่ได้รับการถ่ายทอดจากบรมครูคำอ้าย เดชดวงตา แล้วพัฒนาฝีมือและรูปแบงานและได้ถ่ายทอดสั่งสอนศิลปะวิชาช่างแจนงนี้ให้อยู่ยืนยาวต่อไป และช้าง คือความยิ่งใหญ่ในตำนาน เรื่องราว รูปแบบและตัวตนการแสดงงาน ร่วมแสดงงานศิลปะกับศิลปินกลุ่มลานนามาตลอดปี 2535 นำทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๑ ที่จังหวัดภูเก็ตปี 2536 ร่วมแสดงงานมหกรรมประติมากรรม 93 ร้อยปีศาสตราจารย์ ศิลป์พีระศรี ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้าฯ กรุงเทพฯปี 2537 นำทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๒ณ ศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลเทพธารินทร์ กรุงเทพฯปี 2541 นำทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๓ณ ศูนย์การค้าโอเรียนเตลเพลส กรุงเทพฯปี 2542 นำทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๔ณ โรงแรมรอยัลการ์เด้นรีสอร์ทพัทยา จังหวัดชลบุรีปี 2542 ร่วมนิทรรศการศิลปกรรมศิลปินภาคเหนือ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ ณ หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ปี 2543 ร่วมแสดงนิทรรศการ ศิลปกรรมของศิลปินล้านนา “จิตวิญญาณล้านนา ๗ คนเมือง”ปี 2543 คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ โดยสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ มองโล่เชิดชูเกียรติ เป็นศิลปินดีเด่น จังหวัดเชียงใหม่ สาขาทัศนศิลป์ ประจำปี 2543ปี 2545 ร่วมแสดงนิทรรศการ “ต๋ามฮีตโตยฮอยสล่าเมือง ๑” ณ หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ปี 2545 นำทีมงานสล่า “บ้านจ๊างนัก” จัดนิทรรศการงานแกะสลักไม้ชุดคชธาตุ 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ ณ Motion Hall ชั้น G ดิเอ็มโพเรียม ช็อปปิ้ง คอมเพล็กซ์ กรุงเทพฯปี 2546 ร่วมแสดงงานนิทรรศการ “ต๊ามฮีตโตยฮอยสล่าเมือง ๒” ณหอนิรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />ติดต่อ : 56/1 หมู่ 2  ต. บวกค้าง  อ. สันกำแพง จ. เชียงใหม่ 50130  โทรศัพท์ / โทรสาร : 053-446-891, 083-203-9991<br />2876550202565บ้านถวาย <br />หมู่บ้านถวาย ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากตัวเมืองเชียงใหม่ บ้านถวาย อยู่ถัดจากเหมืองกุงไปตามเส้นทางสายเชียงใหม่-ฮอด ประมาณหลักกิโลเมตรที่ ๑๕ ถึงห้องสมุดประชาชน อำเภอหางดง มีทางแยกซ้ายเข้าหมู่บ้านถวาย <br />51054002736215<br />23336253098165หัวช้างไม้แกะสลักแขวนผนัง<br />ราคา : 1,500 บาท  ขนาด : 1 ม.X50 ซม.<br />51720753869690การใช้ประโยชน์ในงานภูมิทัศน์<br />ใช้ประดับตกแต่งผนังเพื่อความสวยงาม<br />การติดตั้ง<br />นำไปแขวนในจุดที่ต้องการ<br />ขั้นตอนการแกะสลักไม้<br />1.เตรียมเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆให้พร้อม 2. ออกแบบลวดลายลงบนกระดาษแข็งเพื่อใช้เป็นแบบทาบ 3. ใช้แบบทาบแล้วลอกลายลงบนแผ่นไม้ 4. ใช้เลื่อยเลื่อยไม้ส่วนที่ไม่ต้องการออกเสียก่อนเพื่อเป็นการ ขึ้นรูปหรือโครงลาย<br />5. ใช้สิ่วขนาดใหญ่สกัดลวดลาย เป็นการคัดลายให้ทราบว่า ส่วนใดเป็นลาย ส่วนใดเป็นพื้น 6. ทำการขุดพื้น โดยขุดเพียงตื้นๆก่อนแล้วตรวดดูความถูกต้องแล้วจึงลงมือขุดพื้นให้ลึกตามความต้องการ 7. แกะตัวลายหรือโกลนลายด้วยการใช้สิ่วฉากปาดตัวลายโดยให้ตั้งฉากด้านหนึ่ง เอียงด้านหนึ่ง เป็นการคัดลายให้เห็นเด่นชัดยิ่งขึ้น 8. เก็บรายละเอียดของลวดลายให้เรียบร้อย สมบูรณ์ ด้วยสิ่วแบบต่างๆ เช่น สิ่วเล็บมือ สิ่วขมวด 9. ขัดกระดาษทรายและทาดินสอพองเพื่ออุดร่องเนื้อไม้ 10.ทาน้ำมันเคลือบเนื้อไม้ หรือทาน้ำมันชักเงา หรือย้อมสีไม้หรือทาสีทับหรือลงรักปิดทอง ตามชนิดของงาน<br />3352165526415บ้านเหมืองกุง<br />บ้านเหมืองกุงเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ อยู่ไม่ไกลจากตัวเมืองเชียงใหม่มากนัก เดินทางสะดวกตามถนนสายเชียงใหม่-หางดงเพียง 6 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 10นาที <br />บ้านเหมืองกุงได้รับเลือกจากพัฒนาชุมชน อ.หางดง และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้เป็นหมู่บ้านโอท็อปเพื่อการท่องเที่ยวเมื่อหลายปีก่อน เพราะเป็นหมู่บ้านผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่มีเรื่องราวประวัติศาสตร์ วิถีวัฒนธรรมที่สามารถร้อยเรียงเชื่อมโยงได้อย่างกลมกลืนกับการท่องเที่ยว<br />34093153345180ตุ๊กตาเครื่องปั้นดินเผารูปสุนัข<br />ราคา: 50 บาท  ขนาด: 20X30 ซม.<br />ประโยชน์ที่ใช้ในงานภูมิทัศน์<br />ตกแต่งสวนให้มีความสนุกสนานมากยิ่งขึ้น แต่ถ้า<br />หากมีอายุการใช้งานนานแล้ว สีจะหมองลง<br />การติดตั้ง<br />นำไปวางในจุดที่ต้องการภายในสวน  หรือข้าง<br />สระน้ำ<br />การทำเครื่องปั้นดินเผา<br />400939070034151.ดินที่ใช้ในการปั้นเป็นดินเหนียวจากท้องนาที่ผ่านการโม่อย่างละเอียดแล้ว เราจะนำมาผสมน้ำ และทำการหมักในถุงพลาสติก ทิ้งไว้ประมาณ 1 คืน<br />2.นำดินที่ได้หมักไว้ทำการนวด เพื่อให้ดินเหนียวมากที่สุดในภาพ<br />การนวดต่อก้อนจะใช้เวลาประมาณ 20 นาที<br />3.นำดินที่ได้รับการนวด มาปั้นตามรูปแบบต่างๆ ช้างในภาพใช้ดิน<br />ปั้นประมาณ 2 ปีบ ใช้เวลาปั้น 2 วัน<br />4.ตุ๊กตาที่ปั้นเสร็จเรียบร้อย จะต้องรอให้แห้งโดยการตากในที่ร่ม ไม่สามารถตากแดดได้เนื่องจากจะทำให้ตุ๊กตาแตกร้าวได้ง่าย ในภาพจะต้องทิ้งไว้ในร่มประมาณ 5 วันจึงจะเผาได้(หากเป็นหน้าฝน จะต้องใช้เวลาถึง 10-14 วันทีเดียว) และนำไปเผา<br />ประมาณ 2 วัน 1 คืน<br />
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก

More Related Content

What's hot

พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวา
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวาพิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวา
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวาmoowhanza
 
จางหนัก
จางหนักจางหนัก
จางหนักleam2531
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจPN17
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..pawidchaya
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักnonmorning
 
ทับแก้วยามเย็น
ทับแก้วยามเย็นทับแก้วยามเย็น
ทับแก้วยามเย็นsinghasiri
 

What's hot (6)

พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวา
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวาพิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวา
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวา
 
จางหนัก
จางหนักจางหนัก
จางหนัก
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจ
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
ทับแก้วยามเย็น
ทับแก้วยามเย็นทับแก้วยามเย็น
ทับแก้วยามเย็น
 

Similar to บ้านจ๊างนัก

ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..pawidchaya
 
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชรบ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชรPN17
 
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักพิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักArtit Songsee
 
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329Siwa Muanfu
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนN'Mom Sirintip
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงหอย ลี่
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยาPRINTT
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59Looknum
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59Looknum
 
หนังสือหายาก และเอกสารตัวเขียน: การจัดเก็บ การสงวนรักษาและการให้บริการของสำนั...
หนังสือหายาก และเอกสารตัวเขียน: การจัดเก็บ การสงวนรักษาและการให้บริการของสำนั...หนังสือหายาก และเอกสารตัวเขียน: การจัดเก็บ การสงวนรักษาและการให้บริการของสำนั...
หนังสือหายาก และเอกสารตัวเขียน: การจัดเก็บ การสงวนรักษาและการให้บริการของสำนั...Humanities Information Center
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1rever39
 
โครงร่างของงานวิจัยเล่มนี้
โครงร่างของงานวิจัยเล่มนี้โครงร่างของงานวิจัยเล่มนี้
โครงร่างของงานวิจัยเล่มนี้ฮิปปี้ ฮิปปี้
 

Similar to บ้านจ๊างนัก (20)

ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชรบ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
 
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักพิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
 
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
 
Aksorn 2
Aksorn 2Aksorn 2
Aksorn 2
 
ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
 
หนังสือหายาก และเอกสารตัวเขียน: การจัดเก็บ การสงวนรักษาและการให้บริการของสำนั...
หนังสือหายาก และเอกสารตัวเขียน: การจัดเก็บ การสงวนรักษาและการให้บริการของสำนั...หนังสือหายาก และเอกสารตัวเขียน: การจัดเก็บ การสงวนรักษาและการให้บริการของสำนั...
หนังสือหายาก และเอกสารตัวเขียน: การจัดเก็บ การสงวนรักษาและการให้บริการของสำนั...
 
ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011
ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011
ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
หนึ่ง
หนึ่งหนึ่ง
หนึ่ง
 
โครงร่างของงานวิจัยเล่มนี้
โครงร่างของงานวิจัยเล่มนี้โครงร่างของงานวิจัยเล่มนี้
โครงร่างของงานวิจัยเล่มนี้
 
Project
 Project Project
Project
 

More from PN17

คำถาม กลุ่ม 3
คำถาม กลุ่ม 3คำถาม กลุ่ม 3
คำถาม กลุ่ม 3PN17
 
การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่
การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท  จังหวัดเชียงใหม่การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท  จังหวัดเชียงใหม่
การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่PN17
 
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1PN17
 
สวนสามัคคี
สวนสามัคคีสวนสามัคคี
สวนสามัคคีPN17
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1PN17
 
งานอาจารย..
งานอาจารย..งานอาจารย..
งานอาจารย..PN17
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3PN17
 
Ddd
DddDdd
DddPN17
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมPN17
 
แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์PN17
 
Stone
StoneStone
StonePN17
 
Stone
StoneStone
StonePN17
 
Stone
StoneStone
StonePN17
 
Stone หิน
Stone หินStone หิน
Stone หินPN17
 

More from PN17 (14)

คำถาม กลุ่ม 3
คำถาม กลุ่ม 3คำถาม กลุ่ม 3
คำถาม กลุ่ม 3
 
การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่
การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท  จังหวัดเชียงใหม่การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท  จังหวัดเชียงใหม่
การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่
 
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
 
สวนสามัคคี
สวนสามัคคีสวนสามัคคี
สวนสามัคคี
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
งานอาจารย..
งานอาจารย..งานอาจารย..
งานอาจารย..
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3
 
Ddd
DddDdd
Ddd
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์
 
Stone
StoneStone
Stone
 
Stone
StoneStone
Stone
 
Stone
StoneStone
Stone
 
Stone หิน
Stone หินStone หิน
Stone หิน
 

บ้านจ๊างนัก

  • 1. 3133725802640บ้านจ๊างนัก<br />ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิริยะซึ่งได้รวบรวมเพื่อนฝูง ตลอดจนลูกศิษย์ลูกหา ช่างแกะสลักฝีมือดีและมีความรักในศิลปะการแกะสลัก ไม้แบบล้านนามารวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มแกะสลักขึ้นมา<br />เมื่อปีพ.ศ.2531 คุณลุงประยูร จรรยาวงศ์ (2458) คอลัมน์นิสต์ชื่อดังแห่งหนังสือพิมพ์ ไทยรัฐในขณะ นั้น ได้ให้เกียรติ มา เยี่ยม เยือน พร้อมกับตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านจ๊างนัก” อันหมายถึงบ้านที่มีช้าง เยอะแยะมากมาย<br />บ้านจ๊างนัก ได้มีการพัฒนารูปแบบการแกะสลักช้าง จากเดิมที่ช่างแกะจะมีการแกะสลักแบบ ตายตัว รูปแบบจะซ้ำกัน มาเป็นการแกะสลักช้างที่ดูมีชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงทำนองที่เหมือน ช้างจริง ๆ ซึ่งนับเป็นแห่งแรกที่มีการแกะสลักช้าง รูปแบบนี้<br /> <br />บ้านจ๊างนักยังเป็นแห่งแรกที่มีการทดลองนำวัสดุใหม่ๆ ที่หาได้ในท้องถิ่นมาทดแทนวัสดุเดิม ที่นับวันมีแต่จะหายากมากขึ้น เช่น มีการนำเอาไม้ขี้เหล็กมาทดแทนไม้สัก ซึ่งประโยชน์เพียงอย่างเดียวของไม้ขี้เหล็ก ในสมัยก่อน คือนำมาทำเป็นเชื้อเพลิงเท่านั้น และผลที่ได้จากการนำมาแกะสลักพบว่า ไม้ขี้เหล็กเป็นไม้เนื้อแข็งมากการแกะค่อน ข้างยากกว่าไม้สัก แต่ผลงานที่ออกมาจะสวยงาม และสีเป็นธรรมชาติ<br />นอกจากการทดลองเรื่องของไม้แล้ว ยังมีการนำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอด กันมามาประยุกต์ใช้ กับงานแกะสลัก นั่นก็คือ นำเอาลูกมะเกลือที่ใช้ในการย้อมผ้า มาย้อมสีไม้ซึ่งก็ให้สีที่เป็นธรรมชาติและ ไม่มีสารพิษตกค้างเป็นอันตราย ต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม<br />เมื่อปี พ.ศ. 2546 บ้านจ๊างนัก ได้รับการบรรจุให้เป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น สังกัด เอกชน ยังผลให้เป็นที่รู้จัก กันอย่างแพร่หลายในหมู่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ ที่มีความสนใจในศิลปะแขนงนี้<br />นอกจากนี้ หนึ่งในความภาคภูมิใจของสล่าบ้านจ๊างนักทุกคนคือ การที่เป็นส่วนหนึ่งของการทำให้ผู้คน ได้เกิดความรัก หวงแหน และ ตระหนักถึงความสำคัญ และปัญหาของ ช้างไทยในปัจจุบัน และร่วมกันอนุรักษ์ช้างไทยให้อยู่คู่กับคนไทยอีกนานเท่านาน<br /> <br /> <br />3086100-6985ประวัติและผลงานของ สล่า เพชร วิริยะ<br />ศิลปินดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี 2543 สาขาทัศนศิลป์ ด้านประติมากรรม<br />สล่า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2498 สถานที่เกิด บ้านบวกค้าง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรของ นายสิงห์ วิริยะ และ นางบัวจีน วิริยะ มีพี่น้อง 5 คน<br />ครอบครัวนายเพชร วิริยะ สมรสกับนางนงเยาว์ วิริยะ (นันไชยศิลป์) มีบุตรธิดาทั้งหมด 2 คน คือ1. นางสาววารียา วิริยะ2. นางสาวเวรุยา วิริยะ<br />การศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนผู้ใหญ่ 1 หอพระ จังหวัดเชียงใหม่การศึกษาผู้ใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรียนผู้ใหญ่สันกำแพง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่<br />ผลงานที่ผ่านมาพ.ศ. 2515-2519 เรียนแกะสลักไม้กับครูอ้าย เดชดวงตา จากนั้นได้รับจ้างแกะสลักตามร้านพ.ศ. 2526 ได้รับราชการเป็นวิทยากรฝึกอบรมอาชีพแกะสลักไม้ประจำกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กรุงเทพฯ 2 ปี จึงลาออกมาทำงานที่บ้านพ.ศ. 2530 ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องช้าง สามารถถ่ายทอดเป็นผลงานแกสะลักช้างได้หลายรูปแบบ กลายเป็นช่างฝีมือและประกอบอาชีพแกะสลักไม้จนถึงปัจจุบัน และได้ฝึกสอนเยาวชนในหมู่บ้าน แนวความคิด ภาคภูมิใจอ่างยิ่งที่ได้ทำงานที่รักและชอบ ถือเป็นหน้าที่ช่วงหนึ่งที่ได้รับการถ่ายทอดจากบรมครูคำอ้าย เดชดวงตา แล้วพัฒนาฝีมือและรูปแบงานและได้ถ่ายทอดสั่งสอนศิลปะวิชาช่างแจนงนี้ให้อยู่ยืนยาวต่อไป และช้าง คือความยิ่งใหญ่ในตำนาน เรื่องราว รูปแบบและตัวตนการแสดงงาน ร่วมแสดงงานศิลปะกับศิลปินกลุ่มลานนามาตลอดปี 2535 นำทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๑ ที่จังหวัดภูเก็ตปี 2536 ร่วมแสดงงานมหกรรมประติมากรรม 93 ร้อยปีศาสตราจารย์ ศิลป์พีระศรี ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้าฯ กรุงเทพฯปี 2537 นำทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๒ณ ศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลเทพธารินทร์ กรุงเทพฯปี 2541 นำทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๓ณ ศูนย์การค้าโอเรียนเตลเพลส กรุงเทพฯปี 2542 นำทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๔ณ โรงแรมรอยัลการ์เด้นรีสอร์ทพัทยา จังหวัดชลบุรีปี 2542 ร่วมนิทรรศการศิลปกรรมศิลปินภาคเหนือ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ ณ หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ปี 2543 ร่วมแสดงนิทรรศการ ศิลปกรรมของศิลปินล้านนา “จิตวิญญาณล้านนา ๗ คนเมือง”ปี 2543 คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ โดยสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ มองโล่เชิดชูเกียรติ เป็นศิลปินดีเด่น จังหวัดเชียงใหม่ สาขาทัศนศิลป์ ประจำปี 2543ปี 2545 ร่วมแสดงนิทรรศการ “ต๋ามฮีตโตยฮอยสล่าเมือง ๑” ณ หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ปี 2545 นำทีมงานสล่า “บ้านจ๊างนัก” จัดนิทรรศการงานแกะสลักไม้ชุดคชธาตุ 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ ณ Motion Hall ชั้น G ดิเอ็มโพเรียม ช็อปปิ้ง คอมเพล็กซ์ กรุงเทพฯปี 2546 ร่วมแสดงงานนิทรรศการ “ต๊ามฮีตโตยฮอยสล่าเมือง ๒” ณหอนิรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />ติดต่อ : 56/1 หมู่ 2  ต. บวกค้าง อ. สันกำแพง จ. เชียงใหม่ 50130 โทรศัพท์ / โทรสาร : 053-446-891, 083-203-9991<br />2876550202565บ้านถวาย <br />หมู่บ้านถวาย ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากตัวเมืองเชียงใหม่ บ้านถวาย อยู่ถัดจากเหมืองกุงไปตามเส้นทางสายเชียงใหม่-ฮอด ประมาณหลักกิโลเมตรที่ ๑๕ ถึงห้องสมุดประชาชน อำเภอหางดง มีทางแยกซ้ายเข้าหมู่บ้านถวาย <br />51054002736215<br />23336253098165หัวช้างไม้แกะสลักแขวนผนัง<br />ราคา : 1,500 บาท ขนาด : 1 ม.X50 ซม.<br />51720753869690การใช้ประโยชน์ในงานภูมิทัศน์<br />ใช้ประดับตกแต่งผนังเพื่อความสวยงาม<br />การติดตั้ง<br />นำไปแขวนในจุดที่ต้องการ<br />ขั้นตอนการแกะสลักไม้<br />1.เตรียมเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆให้พร้อม 2. ออกแบบลวดลายลงบนกระดาษแข็งเพื่อใช้เป็นแบบทาบ 3. ใช้แบบทาบแล้วลอกลายลงบนแผ่นไม้ 4. ใช้เลื่อยเลื่อยไม้ส่วนที่ไม่ต้องการออกเสียก่อนเพื่อเป็นการ ขึ้นรูปหรือโครงลาย<br />5. ใช้สิ่วขนาดใหญ่สกัดลวดลาย เป็นการคัดลายให้ทราบว่า ส่วนใดเป็นลาย ส่วนใดเป็นพื้น 6. ทำการขุดพื้น โดยขุดเพียงตื้นๆก่อนแล้วตรวดดูความถูกต้องแล้วจึงลงมือขุดพื้นให้ลึกตามความต้องการ 7. แกะตัวลายหรือโกลนลายด้วยการใช้สิ่วฉากปาดตัวลายโดยให้ตั้งฉากด้านหนึ่ง เอียงด้านหนึ่ง เป็นการคัดลายให้เห็นเด่นชัดยิ่งขึ้น 8. เก็บรายละเอียดของลวดลายให้เรียบร้อย สมบูรณ์ ด้วยสิ่วแบบต่างๆ เช่น สิ่วเล็บมือ สิ่วขมวด 9. ขัดกระดาษทรายและทาดินสอพองเพื่ออุดร่องเนื้อไม้ 10.ทาน้ำมันเคลือบเนื้อไม้ หรือทาน้ำมันชักเงา หรือย้อมสีไม้หรือทาสีทับหรือลงรักปิดทอง ตามชนิดของงาน<br />3352165526415บ้านเหมืองกุง<br />บ้านเหมืองกุงเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ อยู่ไม่ไกลจากตัวเมืองเชียงใหม่มากนัก เดินทางสะดวกตามถนนสายเชียงใหม่-หางดงเพียง 6 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 10นาที <br />บ้านเหมืองกุงได้รับเลือกจากพัฒนาชุมชน อ.หางดง และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้เป็นหมู่บ้านโอท็อปเพื่อการท่องเที่ยวเมื่อหลายปีก่อน เพราะเป็นหมู่บ้านผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่มีเรื่องราวประวัติศาสตร์ วิถีวัฒนธรรมที่สามารถร้อยเรียงเชื่อมโยงได้อย่างกลมกลืนกับการท่องเที่ยว<br />34093153345180ตุ๊กตาเครื่องปั้นดินเผารูปสุนัข<br />ราคา: 50 บาท ขนาด: 20X30 ซม.<br />ประโยชน์ที่ใช้ในงานภูมิทัศน์<br />ตกแต่งสวนให้มีความสนุกสนานมากยิ่งขึ้น แต่ถ้า<br />หากมีอายุการใช้งานนานแล้ว สีจะหมองลง<br />การติดตั้ง<br />นำไปวางในจุดที่ต้องการภายในสวน หรือข้าง<br />สระน้ำ<br />การทำเครื่องปั้นดินเผา<br />400939070034151.ดินที่ใช้ในการปั้นเป็นดินเหนียวจากท้องนาที่ผ่านการโม่อย่างละเอียดแล้ว เราจะนำมาผสมน้ำ และทำการหมักในถุงพลาสติก ทิ้งไว้ประมาณ 1 คืน<br />2.นำดินที่ได้หมักไว้ทำการนวด เพื่อให้ดินเหนียวมากที่สุดในภาพ<br />การนวดต่อก้อนจะใช้เวลาประมาณ 20 นาที<br />3.นำดินที่ได้รับการนวด มาปั้นตามรูปแบบต่างๆ ช้างในภาพใช้ดิน<br />ปั้นประมาณ 2 ปีบ ใช้เวลาปั้น 2 วัน<br />4.ตุ๊กตาที่ปั้นเสร็จเรียบร้อย จะต้องรอให้แห้งโดยการตากในที่ร่ม ไม่สามารถตากแดดได้เนื่องจากจะทำให้ตุ๊กตาแตกร้าวได้ง่าย ในภาพจะต้องทิ้งไว้ในร่มประมาณ 5 วันจึงจะเผาได้(หากเป็นหน้าฝน จะต้องใช้เวลาถึง 10-14 วันทีเดียว) และนำไปเผา<br />ประมาณ 2 วัน 1 คืน<br />