SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
1
‫الفرائض‬
‫القسم‬ً‫الثان‬
‫تألٌف‬
‫صابر‬‫بن‬‫عبدالقادر‬‫الجالوي‬
2
‫الرحٌم‬ ‫الرحمن‬ ‫هللا‬ ‫بسم‬
‫الحمد‬‫هلل‬‫رب‬‫العالمٌن‬‫والصال‬‫ة‬‫والسالم‬‫على‬‫خاتم‬‫األنبٌاء‬‫والمرسلٌن‬‫وعلى‬‫آله‬
‫وصحبه‬‫أجمعٌن‬،‫أمابعد‬:
อัลฮัมดูลิลลาฮ ด้วยความช่วยเหลือจากเอกองค์อัลลอฮซุบฮานาฮูวาตาอาลา เอกสาร
ประกอบการเรียนวิชาอัลฟารออิฎ แบ่งมรดกอิสลาม เล่ม 2 นี้จึงสาเร็จลุล่วงด้วยดี
อัลฟารออิฎเล่ม 2 นี้ประกอบไปด้วยการแบ่งมรดกของกะเทย ทารกในครรภ์ คน
สาบสูญ คนตายหมู่ มรดกซ้อน และเครือญาติ ซึ่งเป็นปัญหาที่สาคัญและจาเป็นที่ผู้เรียนจะต้อง
เข้าใจ และจดจาพื้นฐานการแบ่งมรดกจากเล่มแรก เพื่อให้การแบ่งมรดกนั้นถูกต้องตามหลักการ
อิสลามตามที่อัลลอฮได้ทรงกาหนดไว้ ซึ่งพระองค์ได้ให้สัญญาว่าจะตอบแทนผู้ที่เชื่อฟัง
พระองค์ด้วยสวนสวรรค์ที่มีแม่น้าไหลผ่าน และผู้ที่ฝ่าฝืนด้วยนรกซึ่งเขาจะต้องอยู่ในนั้นตลอด
กาล วัลอิลาซูบิลลาฮ ขออัลลอฮทรงให้เราห่างไกลจากนรกด้วยเถิด
ผู้เขียน ขอต่ออัลลอฮซุบฮานาฮูวาตาอาลาโปรดประทานความดีงามแก่เอกสารเล่มนี้ ยัง
ประโยชน์แก่มวลมุสลิม และขอให้งานเขียนครั้งนี้ทาไปด้วยความบริสุทธิ์ใจต่อเอกองค์อัลลอฮ
ซุบฮานาฮูวาตาอา และเป็นหนึ่งในการงานที่ถูกตอบรับด้วยเถิด
ซ ซอบิร บิน อับดุลกอเดร์ อูมา
ผู้เขียน
10 ญามาดิลอาคีร 1433 / 1 พ.ค. 2012
3
สารบัญ หน้า
บทที่ 1 มรดกกะเทย 4
บทที่ 2 มรดกทารกในครรภ์ 8
บทที่ 3 มรดกคนสาบสูญ 10
บทที่ 4 มรดกคนตายหมู่ 12
บทที่ 5 มรดกซ้อน 15
บทที่ 6 มรดกเครือญาติ 18
4
บทที่ 1
มรดกกะเทย
กะเทย หมายถึง ผู้ที่มีทั้งอวัยวะเพศชายและเพศหญิง หรือไม่มีอวัยวะเพศอันใด
อันหนึ่งเลย 1
ความเป็นไปได้ของการเป็นกะเทยมี 4 ทาง
1. ทางลูก 2. ทางพี่น้อง 3. ทางน้าอา 4. ทางปลดปล่อยทาส
ส่วนทางการเป็นพ่อแม่ หรือสามีภรรยา เป็นไปไม่ได้
หลักกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก
มาตรา 200 ในขณะแบ่งปันมรดก ถ้าทายาทคนใดคนหนึ่งเป็นกะเทย ให้พิจารณาว่า
กะเทยนั้นมีเพศใกล้ทางเพศชายหรือเพศหญิง ถ้าใกล้ทางเพศชายให้แบ่งปันแก่ทายาท
ในฐานะกะเทยนั้นเป็นชาย ถ้าใกล้ทางเพศหญิง หรือไม่อาจอนุมานได้ว่าเป็นเพศใด ให้
แบ่งปันมรดกแก่ทายาทในฐานะกะเทยนั้นเป็นหญิง2
กะเทยมีสองลักษณะ
1. ผู้มีความหวังว่าจะทราบเพศที่แท้จริง
2. ผู้ไม่มีความหวังว่าจะทราบเพศที่แท้จริง เช่น ตายขณะยังเล็ก หรือบรรลุศาสนภาวะ
แล้วแต่ก็ไม่ปรากฏเด่นชัด
สัญลักษณ์ในการทราบเพศกะเทย
1. การปัสสาวะ หากปัสสาวะจากอวัยวะเพศชาย เขาคือชาย หากปัสสาวะจาก
อวัยวะเพศหญิง เขาคือหญิง
หากปัสสาวะจากทั้งสองเพศ ให้สังเกตมาจากอวัยวะเพศไหนก่อน
1
อัตตะห์กีกอต อัลมัรฎียะห์ หน้า 207 อัลคุลาเซาะฟีอิลมิลฟารออิฎ 233
2
กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก หน้า 137
5
หากมาพร้อมกัน ให้สังเกตปริมาณที่มากกว่า
หากมาพร้อมกันและปริมาณเท่ากัน ให้รอจนกระทั่งบรรลุศาสนภาวะ
สัญลักษณ์เพศเมื่อบรรลุศาสนภาวะ
สัญลักษณ์เพศชาย คือ เครา หลั่งน้าอสุจิจากอวัยวะเพศชาย
สัญลักษณ์เพศหญิง คือ เลือดประจาเดือน เต้านมเต่งตึง
ลักษณะการแบ่งมรดกของกะเทย
1. หากเป็นกะเทยที่มีหวังว่าจะทราบเพศที่แท้จริงในอนาคต แต่ญาติๆต้องการ
ให้แบ่ง เช่น ผู้ตายมีลูกชาย ลูกสาว และลูกกะเทย
5/4 4/5 20
หากเป็นชาย หากเป็นหญิง หากเป็นชาย หากเป็นหญิง
ลูกชาย 2 2 8 - +2
ลูกสาว 1 1 4 - +1
ลูกกะเทย 2 1 5 +3 -
เก็บไว้ 3
คาอธิบาย เราจะสมมุติว่าลูกกะเทยนั้นเป็นชายหรือหญิง และให้ส่วนที่น้อยที่สุดให้เขาก่อน
รอจนกระทั่งทราบแน่ชัดว่าเขาเป็นชายหรือหญิง จึงให้ส่วนที่เหลือกับเขา ดังเช่นตัวอย่าง
ข้างต้น ให้ลูกชายจริง 8 ส่วน ให้ลูกสาวจริง 4 ส่วน และให้ลูกกะเทย 5 ส่วน รอจนทราบแน่
ชัด หากลูกกะเทยเป็นชาย ก็ให้อีก 3 ส่วนที่เก็บไว้ให้เขา หรือหากเป็นหญิง ก็ต้องให้ส่วนที่เก็บ
ไว้แก่ลูกชายจริง 2 ส่วน และลูกหญิงจริง 1 ส่วน
6
2. หากเป็นกะเทยที่ไม่หวังว่าจะทราบเพศที่แท้จริง เช่น ตายขณะยังเล็ก หรือ
บรรลุศาสนภาวะแล้วแต่ก็ไม่ปรากฏเด่นชัด
2/6 3/4 12
หากเป็นชาย หากเป็นหญิง
ลูกชาย 1 2 7
ลูกกะเทย 1 1 5
คาอธิบาย เราจะให้มรดกแก่ลูกกะเทยนี้ด้วยการให้จานวนกลางของการสมมุติว่าเป็นชายและ
หญิง ดังเช่นตัวอย่าง
ลูกชายจริงได้ 6 ส่วน และ 8 ส่วน เราจึงให้ลูกชายจริง 7 ส่วน
ลูกกะเทยได้ 6 ส่วน และ 4 ส่วน เราจึงให้ลูกกะเทย 5 ส่วน จากทั้งหมด 12 ส่วน
ตัวอย่างมรดกกะเทยชายเท่านั้น เช่น ลูกสาวสองคน ลูกกะเทยของพี่น้องชาย และลูกของอา
3/2 3/2 6
หากเป็น
ชาย
หากเป็น
หญิง
2/3
ลูกสาว 1 1 2
ลูกสาว 1 1 2
ลูกกะเทยของ
พี่น้องชาย
1 - 1
ลูกของอา - 1 1
คาอธิบาย ในกรณีนี้ มรดกจะได้แก่กะเทยชายเท่านั้น เพราะหากเป็นหญิงก็จะไม่มีสิทธิ์รับ
มรดก เพราะลูกสาวของพี่น้องชายไม่มีสิทธิ์รับมรดกเพราะเป็นซาวิลอัรฮาม
7
ตัวอย่างมรดกกะเทยหญิงเท่านั้น เช่น สามี พี่น้องสาว และลูกกะเทยร่วมบิดา
2/14 7/4 28
หากเป็นชาย หากเป็นหญิง
½ สามี 1 3 13
พี่น้องสาว 1 3 13
ลูกกะเทยร่วมบิดา - 1 2
คาอธิบาย ในกรณีนี้ มรดกจะได้เฉพาะกะเทยที่เป็นหญิง เพราะหากเป็นชาย เขาก็จะไม่ได้รับ
มรดกเพราะเขาคือพี่น้องชายร่วมบิดาของผู้ตาย และมีสิทธิ์รับอาซอบะห์ ซึ่งมรดกได้หมดไป
แล้ว จากการที่สามีได้หนึ่งส่วนสอง และพี่น้องสาวได้หนึ่งส่วนสอง ‫وهللا‬‫أعلم‬
*****************************
บทที่ 2
8
มรดกทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์ หมายถึง ทารกที่อยู่ในครรภ์ของมนุษย์ผู้ซึ่งสามีของนางได้ตายในขณะที่
นางตั้งครรภ์ลูกของเขา ไม่ว่าเด็กคนนั้นจะมีสิทธิรับมรดก หรือกันผู้อื่นทุกกรณี หรือมีสิทธิรับ
มรดกหรือกันผู้อื่นในบางกรณีหากทารกคลอดออกมามีชีวิต 3
ทารกในครรภ์ที่มีสิทธิรับมรดกอย่างแน่นอนโดยมติเอกฉันท์(อิจมาอ) ต้องมี 2 เงื่อนไขดังนี้
1. ต้องอยู่ในมดลูกมารดาตอนที่เจ้ามรดกเสียชีวิต แม้เป็นเพียงน้าอสุจิ
2. ต้องคลอดออกมามีชีวิต 4
ท่านรอซูลอัลลอฮ ได้กล่าว่า ‫ا‬ً‫خ‬ِ‫ر‬‫ا‬َ‫ص‬ َّ‫ل‬ِ‫ه‬َ‫ت‬ْ‫س‬َ‫ي‬ َّ‫ّت‬َ‫ح‬ َّ‫ي‬ِ‫ب‬‫الص‬ َّ‫ث‬ِ‫ر‬َ‫ي‬ ََّ‫ل‬
ความว่า ทารกจะไม่ได้รับมรดก จนกระทั่งเขาร้องส่งเสียง
- อายุครรภ์ที่น้อยที่สุดคือ 6 เดือนโดยมติเอกฉันท์ ( อิจมาอ )
- อายุครรภ์ที่มากที่สุดคือ 4 ปี
การคลอดของทารกมี 3 ลักษณะ
1. ทารกคลอดออกมาเสียชีวิต ไม่มีสิทธิรับมรดก
2. อวัยวะบางส่วนออกมายังมีชีวิต แต่ก็ตายเมื่ออวัยวะอื่นออกมา ไม่มีสิทธิรับมรดก
3. ทารกคลอดออกมามีชีวิต หากคลอดออกมาแล้วร้อง มีสิทธิรับมรดกโดยเอกฉันท์
วิธีที่ดีที่สุดในการแบ่งมรดกทารกในครรภ์
หากผู้มีสิทธิรับมรดกพอใจที่จะประวิงเวลารอจนทารกคลอดเพื่อที่จะได้ทราบจริงๆว่า
ทารกคลอดออกมาเป็นเพศชายหรือหญิง และมีจานวนกี่คน ก็จะเป็นการดีที่สุด เพื่อให้
3
อัตตะห์กีกอต หน้า 219
4
สุนันอิบนุมาญะห์ กีตาบุลฟารออิฎ ฮาดิษที่ 2751َََّ
9
พ้นจากคิลาฟ ( ความเห็นที่แตกต่างของนักวิชาการ ) และจะเป็นการแบ่งเพียงครั้งเดียว
แต่ถ้าหากพวกเขาไม่พอใจและขอให้มีการแบ่งมรดกเราต้องจัดการแบ่งมรดกให้พวกเขา
หลักกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก
มาตรา 198 ทารกในครรภ์ย่อมมีสิทธิได้รับมรดกตามส่วน เมื่อภายหลังเกิดมารอดอยู่
ในการแบ่งปันมรดก ให้กันส่วนของทารกในครรภ์ไว้ตามส่วนที่เป็นคุณที่สุดแก่ทารกนั้น
แต่เมื่อเกิดมาแล้วทารกมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งตามที่บัญญัติไว้ในหลักกฎหมายนี้เท่านั้น ส่วนที่
เหลือหรือในกรณีที่ทารกนั้นมิได้เกิดมารอดอยู่ให้แบ่งปันส่วนมรดกนั้นๆ แก่ทายาทของเจ้า
มรดก 5
วิธีการแบ่งมรดกทารกในครรภ์
3/28 6/14 6/14 12/7 7/12 6/14 84
1/6 แม่ 1 1 1 2 1 1 12 +2
ทารกจากพ่อ - 3 3 6 4 3 - +42
1/3
พี่ชายร่วมแม่ 1 1 1 2 1 1 12 +2
พี่ชายร่วมแม่ 1 1 1 2 1 1 12 +2
ตาย ชาย หญิง
ชาย
สอง
หญิง
สอง
ชาย
หญิง
เก็บไว้
48
อธิบาย ทารกจากพ่อผู้ตาย ก็จะหมายถึง พี่น้องของผู้ตายนั่นเอง
และเลขเต็ม 3 6 12 7 6 สามเข้าไปในหก( ตาดาคุล ) หกเข้าไปในสิบสอง แต่สิบสองคูณด้วยเจ็ด
( ตาบายุน ) จะได้84 ส่วนของแม่มี 28 14 14 14 12 14 ดังนั้นแม่จะได้ส่วนที่น้อยที่สุดก่อนก็
คือ 12 ( ส่วนของทารกเป็นหญิงสองคน )
5
กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก หน้า 136
10
บทที่ 3
มรดกคนสาบสูญ
คนสาบสูญ หมายถึง ผู้ที่เราไม่ทราบข่าวคราวและความเป็นอยู่ของเขา ว่ายังมีชีวิตอยู่
หรือได้ตายไปแล้ว ไม่ว่าจะด้วยสาเหตุจากการเดินทางหรือไม่เดินทาง ถูกฆ่า เรืออัปปาง
ถูกจับเป็นเชลย หรือด้วยเหตุใดๆก็ตาม 6
นักวิชาการได้เห็นพ้องต้องกันว่าจะต้องมีการกาหนดระยะเวลาในกรณีคนสาบสูญ
ซึ่งขึ้นอยู่กับการพิจารณาของฮากิม ( ผู้พิพากษาหรือ ดาโต๊ะยุติธรรม )
หลักกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก
มาตรา 199 ในกรณีที่ปรากฏว่ามีทายาท หรือผู้รับพินัยกรรมผู้ใดสูญไปจากภูมิลาเนา หรือถิ่นที่
อยู่ และมิสามารถทราบได้ว่ายังมีชีวิตอยู่หรือตาย ให้กันส่วนแบ่งของผู้นั้นไว้จนกว่าศาลจะได้
มีคาสั่งแสดงว่าผู้นั้นถึงแก่ความตาย ตามบทบัญญัติแห่งมาตรา 10 หรือจนกว่าผู้นั้นจะได้รับ
ส่วนแบ่งของตนไปภายในกาหนด 1 ปี นับแต่เมื่อเจ้ามรดกตาย หรือนับแต่ผู้นั้นได้รู้หรือควรได้
รู้ถึงความตายของเจ้ามรดกแต่อย่างไรก็ดีมิให้เกิน 10 ปี
(1) ถ้าผู้ที่สูญไปนั้นมิได้มารับส่วนแบ่งของตนไป ภายในกาหนดในวรรคก่อน ให้นา
บัญญัติแห่งมาตรา 194 มาใช้บังคับโดยอนุโลม แล้วแต่กรณี
(2) ถ้าผู้ที่สูญไปนั้นไม่มีทายาท ให้มรดกที่กันไว้นั้นตกได้แก่ทายาทอื่นของเจ้ามรดก 7
6
อัตตะห์กีกอต หน้า 229
7
กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก หน้า 136
11
การแบ่งมรดกคนสาบสูญ
7/2 2/7 14
1/2 สามี 3 1 6
1/2 พี่สาว 3 1 6
พี่สาวร่วมพ่อ 1 - -
น้องชายร่วมพ่อสาบสูญ - -
ตาย มีชีวิต เก็บ 2
18/4 8/9 72
1/2 สามี 9 3 27
1/3 พี่ชายร่วมแม่ 3 1 9
พี่ชายร่วมแม่ 3 1 9
น้องสาว 1 3 4
พี่ชายสาบสูญ 2 - -
มีชีวิต ตาย เก็บ 23
12
7/2 2/7 14
1/2 สามี 3 1 6
½ พี่สาว 3 1 6
พี่สาวร่วมพ่อสาบสูญ 1 - -
มีชีวิต ตาย เก็บ 2
*****************************
13
บทที่ 4
มรดกคนตายหมู่
คนตายหมู่ หมายถึง ทุกๆคนที่ตายหมู่ด้วยเหตุการณ์หนึ่งเหตุการณ์ใดพร้อมกัน และไม่ทราบว่าใคร
ตายเป็นคนแรก เช่น ไฟไหม้ตึกถล่ม จมน้า สงคราม อุบัติเหตุทางรถยนต์หรือเครื่องบินเป็นต้น ( 8 )
ไม่มีการสืบมรดกระหว่างผู้ตาย แต่ให้ทายาทโดยธรรมของแต่ละฝ่ายสืบมรดกของผู้ตายทันที (1)
ตัวอย่าง พี่น้องชายสองคนได้ถึงแก่กรรมในเหตุการณ์เพลิงไหม้โดยไม่ทราบว่าผู้ใดตายก่อน
โดยพี่ชายทิ้งภรรยา ลูกสาว และอาไว้
ส่วนน้องชายทิ้งลูกสาวสองคน และอาไว้
กรณีของพี่ชาย
.........................8
1/8ภรรยา.........1
1/2ลูกสาว.........4
‫ع‬อา..................3
กรณีของน้องชาย
............................3
2/3ลูกสาว...........1
......ลูกสาว...........1
‫ع‬อา......................1
(1) บัญญัติเกี่ยวกับมรดก พินัยกรรม วะกั้ฟ การยกให้ หน้า 56
14
บทที่ 5
มรดกซ้อน
มรดกซ้อน หมายถึง มีผู้หนึ่งเสียชีวิต และก่อนที่จะมีการแบ่งมรดกของเขานั้น ผู้ที่มี
สิทธิ์รับมรดกจากเขาก็ได้เสียชีวิตตามไปไปหนึ่งคนหรือมากกว่านั้น 8
ตัวอย่าง เช่น คนหนึ่งเสียชีวิตและมีลูกชายสี่คน และยังไม่มีการแบ่งมรดกของเขา ลูกชายคน
แรกก็ตายและเขามีลูกชายสองคน และคนที่สองมีลูกชายสามคน และคนที่สามมีลูกชายสี่คน
4/12 2/6 3/4 4/3 48
ลูกชาย 1 ตาย -
ลูกชาย 1 ตาย -
ลูกชาย 1 ตาย -
ลูกชาย 1 12
ลูกชาย 1 6
ลูกชาย 1 6
ลูกชาย 1 4
ลูกชาย 1 4
ลูกชาย 1 4
ลูกชาย 1 3
ลูกชาย 1 3
ลูกชาย 1 3
ลูกชาย 1 3
8
อัตตะห์กีกอต หน้า 181
15
ตัวอย่าง คนหนึ่งเสียชีวิตและทิ้งภรรยา ลูกสาวที่ไม่ใช่ลูกเธอ และพี่ชาย ก่อนที่จะแบ่งมรดก
ลูกสาวได้เสียชีวิตจากสามีและลูกชาย ( ตะมาซุล 4 และ 4 )
8/1 4/1 8
1/8 ภรรยา 1 1
1/2 ลูกสาวที่ไม่ใช่ลูกเธอ 4 ตาย -
‫ع‬ พี่ชาย 3 3
สามี 1 1
ลูกชาย 3 3
ตัวอย่าง คนหนึ่งเสียชีวิตและทิ้งภรรยา ลูกสาวจากเธอ และพี่ชาย และก่อนที่จะแบ่งมรดก
ลูกสาวได้เสียชีวิตจากสามีและลูกสาว ( ตะวาฟุก 4 และ 12 )
8/3 12/1 24
1/8 ภรรยา 1 แม่ 2 5
1/2 ลูกสาวจากเธอ 4 ตาย 1 -
‫ع‬ พี่ชาย 3 น้าชาย 1 10
สามี 3 3
ลูกสาว 6 6
16
ตัวอย่าง คนหนึ่งเสียชีวิตและทิ้งภรรยา ลูกชายและลูกสาวจากเธอ และก่อนแบ่งมรดก ลูก
ชายเสียชีวิตจากบุคคลที่กล่าวมาข้างต้น ( ตะบายุน 14 และ 5 )
24/5 5/14 120
1/8 ภรรยา 3 แม่ 2 43
‫ع‬
ลูกชาย 14 ตาย -
ลูกสาว 7 พี่ชาย 3 77
ตัวอย่าง คนหนึ่งเสียชีวิตและทิ้งภรรยา ลูกชายและลูกสาวจากนาง หลังจากนั้นลูกสาวก็ตาย
จากไป ( ตะบายุน 7 และ 3 )
24/3 3/7 72 9
1/8 ภรรยา 3 แม่ 1 16 2
‫ع‬
ลูกชาย 14 พี่ชาย 2 56 7
ลูกสาว 7 ตาย - - -
*****************************
17
บทที่ 6
มรดกเครือญาติ 9
( ซาวิลอัรฮาม )
เครือญาติ หมายถึง ผู้ที่เป็นญาติใกล้ชิดกับผู้ตายที่ไม่ได้รับสิทธิ์ฟัรฎ หรืออาซอบะห์.
เครือญาติแบ่งเป็น 4 ประเภท
1. ผู้ที่สืบเชื้อสายจากผู้ตาย ( บูนุวะห์ ทางลูก ) ได้แก่
ลูกของลูกสาวผู้ตาย ทั้งชายและหญิง ตลอดจนผู้สืบทอดชั้นต่าลงไป
ลูกของลูกสาวของลูกชายผู้ตาย ทั้งชายและหญิง ตลอดจนผู้สืบทอดชั้นต่าลงไป
2. ผู้ที่ผู้ตายสืบเชื้อสายมาจากเขา ( อูบูวาะห์ ทางพ่อแม่ ) ได้แก่
ตา และผู้สืบทอดสูงชั้นขึ้นไป เช่น พ่อของแม่ หรือพ่อของพ่อของแม่
ทวดหญิง ได้แก่ ยายผู้ซึ่งอยู่ในตาแหน่งถัดจากผู้ที่มิได้รับส่วนใดๆจากมรดก เช่น แม่ของ
พ่อของแม่ แม่ของแม่ของพ่อของแม่
3. ผู้สืบญาติทางพ่อแม่ของผู้ตาย ( อูคูวะห์ ทางพี่น้อง ) ได้แก่
ลูกของพี่น้องหญิงร่วมพ่อแม่ หรือร่วมพ่อ หรือร่วมแม่ ทั้งชายและหญิง
ลูกสาวของพี่น้องชายร่วมพ่อแม่ หรือร่วมพ่อ หรือร่วมแม่
ลูกของพี่น้องชายร่วมแม่ และลูกๆของเขาในชั้นต่าลงไป ทั้งชายและหญิง
9
อัลคุลาเสาะห์ ฟี อิลมิลฟารออิฎ หน้า 240
18
4. ผู้สืบญาติทางปู่ย่า ยายของผู้ตาย ( อูมูมะห์ ทางน้าอา ) ได้แก่
น้าอา(พี่น้องชายหญิงของพ่อ)ร่วมแม่ ลุงป้า( พี่น้องชายหญิงของแม่)
ลูกชายและลูกสาวของผู้ที่ได้กล่าวมา
น้าอาของพ่อร่วมแม่ ลุงป้าของพ่อ น้าอาของแม่ ลุงป้าของแม่
ลูกชายและลูกสาวของผู้ที่ได้กล่าวมา
เครือญาติทั้งหมดนี้จะได้รับมรดกตามลาดับคนที่ใกล้ที่สุดเท่านั้น เหมือนรับอาซอบะห์
บินนัฟซ (ด้วยตัวเอง) คือ ทางลูก ทางพ่อแม่ ทางพี่น้อง หรือทางน้าอา ตามลาดับ
ทรรศนะของผู้รู้เกี่ยวกับการรับมรดกของเครือญาติ
1. เครือญาติรับมรดกได้ โดยมีเงื่อนไขสองข้อ คือ ต้องไม่มีชาวฟัรฎู (ยกเว้นสามีหรือ
ภรรยา) และไม่มีชาวอาซอบะห์
คือ ทรรศนะของท่านอบูฮานีฟะห์ และอะห์มัด อุมัร อาลี อิบนุมัสอูด และอิบนุอับบาซ
หลักฐาน
อัลกุรอ่าน َََََََََََّّّّّّّّّّّ‫قالَّاهللَّتعاىل‬
َِّ‫اب‬َ‫ت‬ِ‫ك‬ َِّ‫ف‬ َّ‫ض‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ِ‫ب‬ َّ‫ى‬َ‫ىل‬ْ‫َو‬‫أ‬ َّْ‫م‬‫ه‬‫ض‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ َِّ‫ام‬َ‫ح‬ْ‫َر‬ْ‫اْل‬ ‫و‬‫ل‬‫و‬‫أ‬َ‫و‬ َّْ‫م‬‫نك‬ِ‫م‬ ََّ‫ك‬ِ‫ئ‬‫ى‬َ‫ل‬‫و‬‫أ‬َ‫ف‬ َّْ‫م‬‫ك‬َ‫ع‬َ‫م‬ ‫ا‬‫و‬‫د‬َ‫اه‬َ‫ج‬َ‫و‬ ‫ا‬‫و‬‫ر‬َ‫اج‬َ‫ه‬َ‫و‬ َّ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ ‫ن‬ِ‫م‬ ‫ا‬‫و‬‫ن‬َ‫آم‬ ََّ‫ين‬ِ‫ذ‬‫ال‬َ‫و‬
َّ‫يم‬ِ‫ل‬َ‫ع‬ َّ‫ء‬ْ‫ي‬َ‫ش‬ َّ‫ل‬‫ك‬ِ‫ب‬ ََّ‫ه‬‫الل‬ َّ‫ن‬ِ‫إ‬ َِّ‫ه‬‫الل‬
َّ‫سورةَّاْلنفال‬َّ:55
“และบรรดาผู้ที่ได้ศรัทธาที่หลัง และได้อพยพ และต่อสู้ร่วมกับพวกเจ้านั้น ชนเหล่านี้แหละเป็น
ส่วนหึ่งของพวกเจ้า และบรรดาญาตินั้น บางส่วนของพวกเขาเป็นผู้สมควรต่ออีกบางส่วน ใน
คัมภีร์ของอัลลอฮฺ แท้จริงอัลลอฮฺนั้นทรงรอบรู้ในทุกสิ่งทุกอย่าง”
19
หะดีษ ท่านนบี (ซอล) ได้กล่าวว่า
‫والخال‬‫وارث‬‫من‬‫ال‬‫وارث‬‫له‬10
และลุง(พี่น้องชายของแม่)นั้น มีสิทธิ์รับมรดก สาหรับผู้ที่ไม่มีญาติอื่นแล้ว
2. เครือญาติรับมรดกไม่ได้ และมรดกนั้นต้องไปสู่คลังอิสลาม (บัยตุลมาล) หากไม่มีผู้รับ
มรดกแบบฟัรฎูหรืออาซอบะห์
คือ ทรรศนะเดิมของชาวมาลีกียะห์และชาฟีอียะห์ และซัยด์ บินซาบิต ซาอีด บินมุซัย
ยับ ซาอีด บิน ญุบัยร์ อัลเอาซาอีย์และอิบนูญารีร
หลักฐาน
มีรายงานจากอบูอาวูดเช่นกันแต่เป็นหะดีษที่ขาดตอน ว่าท่านนบีเคยขอต่ออัลลอฮเกี่ยวกับการ
แบ่งมรดกของน้า(พี่น้องสาวของพ่อ)และป้า และมีวะห์ยูว่า ไม่ได้อะไรเลยสาหรับทั้งสอง
สรุป ทรรศนะที่ถูกต้อง คือ ซาวิลอัรฮาม(เครือญาติ)มีสิทธิ์รับมรดก วัลลอฮุอะลัม
วิธีการแบ่งมรดกเครือญาติ
1. แบ่งตามลาดับชั้น ( อะห์ลุตตันซีล )
โดยพิจารณาแบ่งมรดกให้ผู้มีสิทธิตามลาดับความใกล้ไกลของเครือญาติโดยธรรมใน
ประเภทนั้น ๆ ถ้าหากว่า ผู้มีสิทธิ์เป็นลูกสาวของลูกสาว ก็รับมรดกในแบบลูกสาว
ถ้าผู้รับมรดกเป็นลูกสาวของพี่ชาย ก็รับมรดกในแบบพี่ชาย เป็นต้น
10
รายงานโดย อบูดาวูด หะดีษที่ 2899 และอิบนุมาญะห์ หะดีษที่ 2737 บทซาวิลอัรฮาม
และเชคอัลบานีย์บอกว่า ซอฮีฮ ในหนังสืออัลอิรวาอ
20
ยกเว้น ลุงและป้า( พี่น้องชายหญิงของแม่ ) พวกเขาจะได้รับสิทธิแบบแม่
และ น้าและอา( พี่น้องชายหญิงของพ่อ ) พวกเขาจะได้รับสิทธิแบบพ่อ ซึ่งท่านอุมัร บิน คอตต
อบได้แบ่งมรดกให้อาและป้า โดยแบ่งให้ป้าในสถานะแม่ และอาในสถานะพ่อ และท่านอิบ
นุมัสอูดก็ได้ตัดสินลักษณะนี้เช่นกัน
ตาแหน่งเครือญาติ
1. ลูก(ชายและหญิง)ของลูกสาว อยู่ในสถานะลูกสาว
2. ลูกของลูกสาวของลูกชาย อยู่ในสถานะลูกชาย
3. ลูกของพี่น้องหญิง อยู่ในสถานพี่น้องหญิง
4. ลูกของพี่น้องหญิงร่วมพ่อ อยู่ในสถานะพี่น้องหญิงร่วมพ่อ
5. ลูกของพี่น้องหญิงร่วมแม่ อยู่ในสถานะพี่น้องหญิงร่วมแม่
6. ลูกสาวของพี่น้องชาย อยู่ในสถานะพี่น้องชาย
7. ลูกสาวของพี่น้องชายร่วมพ่อ อยู่ในสถานะพี่น้องชายร่วมพ่อ
8. ลูกสาวของลูกชายของพี่น้องชาย อยู่ในสถานะลูกชายของพี่น้องชาย
9. ลูกสาวของลูกชายของพี่น้องชายร่วมพ่อ อยู่สถานะลูกชายของพี่น้องชายร่วมพ่อ
10. ลูกของพี่น้องชายร่วมแม่ อยู่ในสถานะพี่น้องชายร่วมแม่
11. น้า(พี่น้องชายของพ่อ)ร่วมแม่ หรือน้าของพ่อ หรือน้าของปู่ อยู่ในสถานะพ่อ
12. อา( พี่น้องหญิงของพ่อ) หรืออาของพ่อ หรืออาของปู่ อยู่ในสถานพ่อ
13. ลูกสาวของน้า อยู่ในสถานะน้า
14. ลูกสาวของน้าร่วมพ่อ อยู่ในสถานะน้าร่วมพ่อ
15. ลูกสาวของน้าร่วมแม่ อยู่ในสถานะน้าร่วมแม่
16. ลูกสาวของลูกชายของน้า อยู่ในสถานะลูกชายของน้า
17. ลูกสาวของลูกชายของน้าร่วมพ่อ อยู่ในสถานะลูกชายของน้าร่วมพ่อ
21
18. ลูกสาวของลูกชายของน้าร่วมแม่ อยู่ในสถานะลูกชายของน้าร่วมแม่
19. ลุงป้า(พี่น้องชายหญิงของแม่) อยู่ในสถานะแม่
20. ลุงและป้าของพ่อ อยู่ในสถานะแม่ของพ่อ(ย่า)
21. ลุงและป้าของแม่ อยู่ในสถานะแม่ของแม่(ยาย)
22. ทวดชายที่มาจากทางแม่ อยู่ในสถานะแม่
23. ทวดชายที่มาจากทางพ่อ อยู่ในสถานะพ่อ
24. ทวดหญิงที่มาจากทางแม่ อยู่ในสถานะยาย
25. ทวดหญิงที่มาจากทางพ่อ อยู่ในสถานะย่า
26. บุคคลใดที่อยู่ระดับต่ากว่านี้ ก็จะอยู่ในสถานะบนกว่านี้หนึ่งระดับ
ตัวอย่าง ผู้ตายทิ้ง ลูกสาวของลูกสาว ลูกชายของน้องสาว และลูกสาวของพี่ชายร่วมพ่อ
2
ลูกสาวของลูกสาว คือ ลูกสาว 1/2 1
ลูกชายของน้องสาว คือ น้องสาว ‫ع‬ 1
ลูกสาวของพี่ชายร่วมพอ คือ พี่ชายร่วมพ่อ ‫م‬ - โดนกันโดยน้องสาว
ตัวอย่าง ผู้ตายทิ้งลูกสาวของพี่สาว ลูกสาวของน้องสาวร่วมพ่อ ลูกชายของพี่สาวร่วมแม่
และลูกสาวของน้าชาย
6
ลูกสาวของพี่สาว คือ พี่สาว 1/2 3
ลูกสาวของน้องสาวร่วมพ่อ คือ น้องสาวร่วมพ่อ 1/6 1
ลูกชายของพี่สาวร่วมแม่ คือ พี่สาวร่วมแม่ 1/6 1
ลูกสาวของน้า คือ น้า ‫ع‬ 1
22
ตัวอย่าง ผู้ตายทิ้งอา( พี่น้องสาวของพ่อ ) และป้า ( พี่น้องสาวของแม่ )
3
อา คือ พ่อ ‫ع‬ 2
ป้า คือ แม่ 1/3 1
ข้อควรระวัง
1. ไม่มีความแตกต่างระหว่างชายหญิงของการแบ่งมรดกเครือญาติ แม้จะในระดับ
เดียวกัน
เช่น ผู้ตายทิ้งลูกชายของลูกสาวสามคน และลูกสาวของลูกสาว
4
ลูกชายของลูกสาว 3 คน คือ ลูกสาว 3 คน 3
ลูกสาวของลูกสาว คือ ลูกสาว 1
2. ลุงและป้าไม่มีสิทธิ์รับมรดกพร้อมกับตา เพราะพ่อกันสิทธิ์พี่น้อง
3. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับเครือญาติทั้งสองสถานะ จะได้รับสิทธิ์ทั้งสองสถานะ
เช่น ผู้ตายทิ้งลูกสาวของพี่ชายร่วมแม่ (และเขาคือลูกชายของน้า) ลูกสาวของลูกชายของน้า
6x2 12
ลูกสาวของพี่ชายร่วมแม่ พี่ชายร่วมแม่ 1/6 1 2
7
ลูกชายของน้า
‫ع‬ 5
5
ลูกสาวของลูกชายของน้า ลูกชายของน้า 5
23
2. แบ่งตามความใกล้ชิด ( อะห์ลุลกอรอบะห์ )
การแบ่งด้วยวิธีนี้เป็นการแบ่งแบบมัซฮับฮานาฟียะห์และผู้ที่ทาตามพวกเขา นั่นคือการแบ่ง
มรดกเครือญาติเหมือนการแบ่งมรดกแบบอาซอบะห์ ให้ผู้ที่ใกล้กว่าเท่านั้น
ตัวอย่าง ผู้ตายทิ้งลูกสาวของลูกสาว ลูกสาวของพี่ชาย และลูกสาวของน้า
ลูกสาวของลูกสาว รับมรดกทั้งหมด ทางลูกใกล้ที่สุด
ลูกสาวของพี่ชาย ไม่ได้รับ ทางพี่น้อง
ลูกสาวของน้า ไม่ได้รับ ทางน้าอา
สรุป ทรรศนะที่ถูกต้อง คือ แบ่งตามลาดับชั้น (อะห์ลุตตันซีล) ตามทรรศนะของผู้รู้
ส่วนใหญ่ วัลลอฮูอะลัม
ทบทวนท้ายบท
หลังจากจัดการเรื่องสิทธิ์ต่างๆของผู้ตายแล้ว ไม่ว่าจะเป็นค่าทาศพ ชาระหนี้สิน และวาซียัต
(พินัยกรรม)
เราจะแบ่งมรดกให้กับบุคคลเหล่านี้ตามลับดับดังนี้
1. ชาวฟัรฎู
2. ชาวอาซอบะห์
3. อัรร๊อดให้ชาวฟัรฎู นอกจากสามีหรือภรรยา
4. ซาวิลอัรฮาม (เครือญาติ)
5. อัรร๊อดให้สามีหรือภรรยา11
‫وصلى‬‫هللا‬‫على‬‫نبٌنا‬‫محمد‬‫وعلى‬‫آله‬‫وصحبه‬‫ومن‬‫تبعهم‬‫بإحسان‬‫إلى‬‫ٌوم‬‫الدٌن‬
11
เอกสารจาก ดร.อับดุลกอดิร ญะฟัร

More Related Content

What's hot

กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน5414122138a
 
كتاب المواريث باسهل الطرقpdf
كتاب المواريث باسهل الطرقpdfكتاب المواريث باسهل الطرقpdf
كتاب المواريث باسهل الطرقpdfAlaa Hasan
 
สอบท้องถิ่น คือ อะไร ,สอบท้องถิ่น60,สอบข้าราชการ60,ติวสอบท้องถิ่น
สอบท้องถิ่น คือ อะไร ,สอบท้องถิ่น60,สอบข้าราชการ60,ติวสอบท้องถิ่นสอบท้องถิ่น คือ อะไร ,สอบท้องถิ่น60,สอบข้าราชการ60,ติวสอบท้องถิ่น
สอบท้องถิ่น คือ อะไร ,สอบท้องถิ่น60,สอบข้าราชการ60,ติวสอบท้องถิ่นoratai Tantisook
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับdevilp Nnop
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4  ผลการดำเนินงานบทที่ 4  ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานchaiwat vichianchai
 
ข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนManit Wongmool
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศMaikeed Tawun
 
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.Aphon Pleonphana
 
ประโยคความซ้อน ม.๒
ประโยคความซ้อน ม.๒ประโยคความซ้อน ม.๒
ประโยคความซ้อน ม.๒ssuser456899
 
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิวSineenat Kaewlay
 
แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)
แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)
แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)podjarin
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552waranyuati
 

What's hot (20)

Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2
 
กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน
 
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์381 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
 
كتاب المواريث باسهل الطرقpdf
كتاب المواريث باسهل الطرقpdfكتاب المواريث باسهل الطرقpdf
كتاب المواريث باسهل الطرقpdf
 
สอบท้องถิ่น คือ อะไร ,สอบท้องถิ่น60,สอบข้าราชการ60,ติวสอบท้องถิ่น
สอบท้องถิ่น คือ อะไร ,สอบท้องถิ่น60,สอบข้าราชการ60,ติวสอบท้องถิ่นสอบท้องถิ่น คือ อะไร ,สอบท้องถิ่น60,สอบข้าราชการ60,ติวสอบท้องถิ่น
สอบท้องถิ่น คือ อะไร ,สอบท้องถิ่น60,สอบข้าราชการ60,ติวสอบท้องถิ่น
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4  ผลการดำเนินงานบทที่ 4  ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
 
ข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียน
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
 
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ประโยคความซ้อน ม.๒
ประโยคความซ้อน ม.๒ประโยคความซ้อน ม.๒
ประโยคความซ้อน ม.๒
 
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
 
แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)
แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)
แบบสำรวจฯ สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน (นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554)
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี 2552
 
c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 

More from Muhammadrusdee Almaarify

ความร เก__ยวก_บรอมฎอน
ความร  เก__ยวก_บรอมฎอนความร  เก__ยวก_บรอมฎอน
ความร เก__ยวก_บรอมฎอนMuhammadrusdee Almaarify
 
ความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอน
ความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอนความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอน
ความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอนMuhammadrusdee Almaarify
 
30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด
30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด
30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอดMuhammadrusdee Almaarify
 
1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน
1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน
1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอนMuhammadrusdee Almaarify
 
أخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضان
أخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضانأخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضان
أخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضانMuhammadrusdee Almaarify
 
أخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساء
أخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساءأخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساء
أخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساءMuhammadrusdee Almaarify
 
أخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوت
أخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوتأخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوت
أخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوتMuhammadrusdee Almaarify
 
أخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة ال
أخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة الأخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة ال
أخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة الMuhammadrusdee Almaarify
 
أخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويح
أخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويحأخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويح
أخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويحMuhammadrusdee Almaarify
 

More from Muhammadrusdee Almaarify (20)

دعاء بدوح
دعاء بدوح دعاء بدوح
دعاء بدوح
 
ความร เก__ยวก_บรอมฎอน
ความร  เก__ยวก_บรอมฎอนความร  เก__ยวก_บรอมฎอน
ความร เก__ยวก_บรอมฎอน
 
ความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอน
ความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอนความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอน
ความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอน
 
30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด
30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด
30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด
 
1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน
1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน
1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน
 
รอมฎอน แผ่นพับ
รอมฎอน   แผ่นพับรอมฎอน   แผ่นพับ
รอมฎอน แผ่นพับ
 
تذكرة الصيام
تذكرة الصيامتذكرة الصيام
تذكرة الصيام
 
أخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضان
أخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضانأخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضان
أخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضان
 
أخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساء
أخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساءأخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساء
أخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساء
 
أخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوت
أخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوتأخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوت
أخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوت
 
أخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة ال
أخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة الأخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة ال
أخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة ال
 
أخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويح
أخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويحأخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويح
أخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويح
 
24 ساعة
24 ساعة24 ساعة
24 ساعة
 
في ظلال رمضان
في ظلال رمضانفي ظلال رمضان
في ظلال رمضان
 
في رمضان
في رمضانفي رمضان
في رمضان
 
فتح
فتحفتح
فتح
 
صفقات وفرص رمضانية
صفقات وفرص رمضانيةصفقات وفرص رمضانية
صفقات وفرص رمضانية
 
جدول الصيام
جدول الصيامجدول الصيام
جدول الصيام
 
هدية
هديةهدية
هدية
 
หนังสือตัจวีด 1
หนังสือตัจวีด 1หนังสือตัจวีด 1
หนังสือตัจวีด 1
 

อัลฟารออิฎ 2

  • 2. 2 ‫الرحٌم‬ ‫الرحمن‬ ‫هللا‬ ‫بسم‬ ‫الحمد‬‫هلل‬‫رب‬‫العالمٌن‬‫والصال‬‫ة‬‫والسالم‬‫على‬‫خاتم‬‫األنبٌاء‬‫والمرسلٌن‬‫وعلى‬‫آله‬ ‫وصحبه‬‫أجمعٌن‬،‫أمابعد‬: อัลฮัมดูลิลลาฮ ด้วยความช่วยเหลือจากเอกองค์อัลลอฮซุบฮานาฮูวาตาอาลา เอกสาร ประกอบการเรียนวิชาอัลฟารออิฎ แบ่งมรดกอิสลาม เล่ม 2 นี้จึงสาเร็จลุล่วงด้วยดี อัลฟารออิฎเล่ม 2 นี้ประกอบไปด้วยการแบ่งมรดกของกะเทย ทารกในครรภ์ คน สาบสูญ คนตายหมู่ มรดกซ้อน และเครือญาติ ซึ่งเป็นปัญหาที่สาคัญและจาเป็นที่ผู้เรียนจะต้อง เข้าใจ และจดจาพื้นฐานการแบ่งมรดกจากเล่มแรก เพื่อให้การแบ่งมรดกนั้นถูกต้องตามหลักการ อิสลามตามที่อัลลอฮได้ทรงกาหนดไว้ ซึ่งพระองค์ได้ให้สัญญาว่าจะตอบแทนผู้ที่เชื่อฟัง พระองค์ด้วยสวนสวรรค์ที่มีแม่น้าไหลผ่าน และผู้ที่ฝ่าฝืนด้วยนรกซึ่งเขาจะต้องอยู่ในนั้นตลอด กาล วัลอิลาซูบิลลาฮ ขออัลลอฮทรงให้เราห่างไกลจากนรกด้วยเถิด ผู้เขียน ขอต่ออัลลอฮซุบฮานาฮูวาตาอาลาโปรดประทานความดีงามแก่เอกสารเล่มนี้ ยัง ประโยชน์แก่มวลมุสลิม และขอให้งานเขียนครั้งนี้ทาไปด้วยความบริสุทธิ์ใจต่อเอกองค์อัลลอฮ ซุบฮานาฮูวาตาอา และเป็นหนึ่งในการงานที่ถูกตอบรับด้วยเถิด ซ ซอบิร บิน อับดุลกอเดร์ อูมา ผู้เขียน 10 ญามาดิลอาคีร 1433 / 1 พ.ค. 2012
  • 3. 3 สารบัญ หน้า บทที่ 1 มรดกกะเทย 4 บทที่ 2 มรดกทารกในครรภ์ 8 บทที่ 3 มรดกคนสาบสูญ 10 บทที่ 4 มรดกคนตายหมู่ 12 บทที่ 5 มรดกซ้อน 15 บทที่ 6 มรดกเครือญาติ 18
  • 4. 4 บทที่ 1 มรดกกะเทย กะเทย หมายถึง ผู้ที่มีทั้งอวัยวะเพศชายและเพศหญิง หรือไม่มีอวัยวะเพศอันใด อันหนึ่งเลย 1 ความเป็นไปได้ของการเป็นกะเทยมี 4 ทาง 1. ทางลูก 2. ทางพี่น้อง 3. ทางน้าอา 4. ทางปลดปล่อยทาส ส่วนทางการเป็นพ่อแม่ หรือสามีภรรยา เป็นไปไม่ได้ หลักกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก มาตรา 200 ในขณะแบ่งปันมรดก ถ้าทายาทคนใดคนหนึ่งเป็นกะเทย ให้พิจารณาว่า กะเทยนั้นมีเพศใกล้ทางเพศชายหรือเพศหญิง ถ้าใกล้ทางเพศชายให้แบ่งปันแก่ทายาท ในฐานะกะเทยนั้นเป็นชาย ถ้าใกล้ทางเพศหญิง หรือไม่อาจอนุมานได้ว่าเป็นเพศใด ให้ แบ่งปันมรดกแก่ทายาทในฐานะกะเทยนั้นเป็นหญิง2 กะเทยมีสองลักษณะ 1. ผู้มีความหวังว่าจะทราบเพศที่แท้จริง 2. ผู้ไม่มีความหวังว่าจะทราบเพศที่แท้จริง เช่น ตายขณะยังเล็ก หรือบรรลุศาสนภาวะ แล้วแต่ก็ไม่ปรากฏเด่นชัด สัญลักษณ์ในการทราบเพศกะเทย 1. การปัสสาวะ หากปัสสาวะจากอวัยวะเพศชาย เขาคือชาย หากปัสสาวะจาก อวัยวะเพศหญิง เขาคือหญิง หากปัสสาวะจากทั้งสองเพศ ให้สังเกตมาจากอวัยวะเพศไหนก่อน 1 อัตตะห์กีกอต อัลมัรฎียะห์ หน้า 207 อัลคุลาเซาะฟีอิลมิลฟารออิฎ 233 2 กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก หน้า 137
  • 5. 5 หากมาพร้อมกัน ให้สังเกตปริมาณที่มากกว่า หากมาพร้อมกันและปริมาณเท่ากัน ให้รอจนกระทั่งบรรลุศาสนภาวะ สัญลักษณ์เพศเมื่อบรรลุศาสนภาวะ สัญลักษณ์เพศชาย คือ เครา หลั่งน้าอสุจิจากอวัยวะเพศชาย สัญลักษณ์เพศหญิง คือ เลือดประจาเดือน เต้านมเต่งตึง ลักษณะการแบ่งมรดกของกะเทย 1. หากเป็นกะเทยที่มีหวังว่าจะทราบเพศที่แท้จริงในอนาคต แต่ญาติๆต้องการ ให้แบ่ง เช่น ผู้ตายมีลูกชาย ลูกสาว และลูกกะเทย 5/4 4/5 20 หากเป็นชาย หากเป็นหญิง หากเป็นชาย หากเป็นหญิง ลูกชาย 2 2 8 - +2 ลูกสาว 1 1 4 - +1 ลูกกะเทย 2 1 5 +3 - เก็บไว้ 3 คาอธิบาย เราจะสมมุติว่าลูกกะเทยนั้นเป็นชายหรือหญิง และให้ส่วนที่น้อยที่สุดให้เขาก่อน รอจนกระทั่งทราบแน่ชัดว่าเขาเป็นชายหรือหญิง จึงให้ส่วนที่เหลือกับเขา ดังเช่นตัวอย่าง ข้างต้น ให้ลูกชายจริง 8 ส่วน ให้ลูกสาวจริง 4 ส่วน และให้ลูกกะเทย 5 ส่วน รอจนทราบแน่ ชัด หากลูกกะเทยเป็นชาย ก็ให้อีก 3 ส่วนที่เก็บไว้ให้เขา หรือหากเป็นหญิง ก็ต้องให้ส่วนที่เก็บ ไว้แก่ลูกชายจริง 2 ส่วน และลูกหญิงจริง 1 ส่วน
  • 6. 6 2. หากเป็นกะเทยที่ไม่หวังว่าจะทราบเพศที่แท้จริง เช่น ตายขณะยังเล็ก หรือ บรรลุศาสนภาวะแล้วแต่ก็ไม่ปรากฏเด่นชัด 2/6 3/4 12 หากเป็นชาย หากเป็นหญิง ลูกชาย 1 2 7 ลูกกะเทย 1 1 5 คาอธิบาย เราจะให้มรดกแก่ลูกกะเทยนี้ด้วยการให้จานวนกลางของการสมมุติว่าเป็นชายและ หญิง ดังเช่นตัวอย่าง ลูกชายจริงได้ 6 ส่วน และ 8 ส่วน เราจึงให้ลูกชายจริง 7 ส่วน ลูกกะเทยได้ 6 ส่วน และ 4 ส่วน เราจึงให้ลูกกะเทย 5 ส่วน จากทั้งหมด 12 ส่วน ตัวอย่างมรดกกะเทยชายเท่านั้น เช่น ลูกสาวสองคน ลูกกะเทยของพี่น้องชาย และลูกของอา 3/2 3/2 6 หากเป็น ชาย หากเป็น หญิง 2/3 ลูกสาว 1 1 2 ลูกสาว 1 1 2 ลูกกะเทยของ พี่น้องชาย 1 - 1 ลูกของอา - 1 1 คาอธิบาย ในกรณีนี้ มรดกจะได้แก่กะเทยชายเท่านั้น เพราะหากเป็นหญิงก็จะไม่มีสิทธิ์รับ มรดก เพราะลูกสาวของพี่น้องชายไม่มีสิทธิ์รับมรดกเพราะเป็นซาวิลอัรฮาม
  • 7. 7 ตัวอย่างมรดกกะเทยหญิงเท่านั้น เช่น สามี พี่น้องสาว และลูกกะเทยร่วมบิดา 2/14 7/4 28 หากเป็นชาย หากเป็นหญิง ½ สามี 1 3 13 พี่น้องสาว 1 3 13 ลูกกะเทยร่วมบิดา - 1 2 คาอธิบาย ในกรณีนี้ มรดกจะได้เฉพาะกะเทยที่เป็นหญิง เพราะหากเป็นชาย เขาก็จะไม่ได้รับ มรดกเพราะเขาคือพี่น้องชายร่วมบิดาของผู้ตาย และมีสิทธิ์รับอาซอบะห์ ซึ่งมรดกได้หมดไป แล้ว จากการที่สามีได้หนึ่งส่วนสอง และพี่น้องสาวได้หนึ่งส่วนสอง ‫وهللا‬‫أعلم‬ ***************************** บทที่ 2
  • 8. 8 มรดกทารกในครรภ์ ทารกในครรภ์ หมายถึง ทารกที่อยู่ในครรภ์ของมนุษย์ผู้ซึ่งสามีของนางได้ตายในขณะที่ นางตั้งครรภ์ลูกของเขา ไม่ว่าเด็กคนนั้นจะมีสิทธิรับมรดก หรือกันผู้อื่นทุกกรณี หรือมีสิทธิรับ มรดกหรือกันผู้อื่นในบางกรณีหากทารกคลอดออกมามีชีวิต 3 ทารกในครรภ์ที่มีสิทธิรับมรดกอย่างแน่นอนโดยมติเอกฉันท์(อิจมาอ) ต้องมี 2 เงื่อนไขดังนี้ 1. ต้องอยู่ในมดลูกมารดาตอนที่เจ้ามรดกเสียชีวิต แม้เป็นเพียงน้าอสุจิ 2. ต้องคลอดออกมามีชีวิต 4 ท่านรอซูลอัลลอฮ ได้กล่าว่า ‫ا‬ً‫خ‬ِ‫ر‬‫ا‬َ‫ص‬ َّ‫ل‬ِ‫ه‬َ‫ت‬ْ‫س‬َ‫ي‬ َّ‫ّت‬َ‫ح‬ َّ‫ي‬ِ‫ب‬‫الص‬ َّ‫ث‬ِ‫ر‬َ‫ي‬ ََّ‫ل‬ ความว่า ทารกจะไม่ได้รับมรดก จนกระทั่งเขาร้องส่งเสียง - อายุครรภ์ที่น้อยที่สุดคือ 6 เดือนโดยมติเอกฉันท์ ( อิจมาอ ) - อายุครรภ์ที่มากที่สุดคือ 4 ปี การคลอดของทารกมี 3 ลักษณะ 1. ทารกคลอดออกมาเสียชีวิต ไม่มีสิทธิรับมรดก 2. อวัยวะบางส่วนออกมายังมีชีวิต แต่ก็ตายเมื่ออวัยวะอื่นออกมา ไม่มีสิทธิรับมรดก 3. ทารกคลอดออกมามีชีวิต หากคลอดออกมาแล้วร้อง มีสิทธิรับมรดกโดยเอกฉันท์ วิธีที่ดีที่สุดในการแบ่งมรดกทารกในครรภ์ หากผู้มีสิทธิรับมรดกพอใจที่จะประวิงเวลารอจนทารกคลอดเพื่อที่จะได้ทราบจริงๆว่า ทารกคลอดออกมาเป็นเพศชายหรือหญิง และมีจานวนกี่คน ก็จะเป็นการดีที่สุด เพื่อให้ 3 อัตตะห์กีกอต หน้า 219 4 สุนันอิบนุมาญะห์ กีตาบุลฟารออิฎ ฮาดิษที่ 2751َََّ
  • 9. 9 พ้นจากคิลาฟ ( ความเห็นที่แตกต่างของนักวิชาการ ) และจะเป็นการแบ่งเพียงครั้งเดียว แต่ถ้าหากพวกเขาไม่พอใจและขอให้มีการแบ่งมรดกเราต้องจัดการแบ่งมรดกให้พวกเขา หลักกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก มาตรา 198 ทารกในครรภ์ย่อมมีสิทธิได้รับมรดกตามส่วน เมื่อภายหลังเกิดมารอดอยู่ ในการแบ่งปันมรดก ให้กันส่วนของทารกในครรภ์ไว้ตามส่วนที่เป็นคุณที่สุดแก่ทารกนั้น แต่เมื่อเกิดมาแล้วทารกมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งตามที่บัญญัติไว้ในหลักกฎหมายนี้เท่านั้น ส่วนที่ เหลือหรือในกรณีที่ทารกนั้นมิได้เกิดมารอดอยู่ให้แบ่งปันส่วนมรดกนั้นๆ แก่ทายาทของเจ้า มรดก 5 วิธีการแบ่งมรดกทารกในครรภ์ 3/28 6/14 6/14 12/7 7/12 6/14 84 1/6 แม่ 1 1 1 2 1 1 12 +2 ทารกจากพ่อ - 3 3 6 4 3 - +42 1/3 พี่ชายร่วมแม่ 1 1 1 2 1 1 12 +2 พี่ชายร่วมแม่ 1 1 1 2 1 1 12 +2 ตาย ชาย หญิง ชาย สอง หญิง สอง ชาย หญิง เก็บไว้ 48 อธิบาย ทารกจากพ่อผู้ตาย ก็จะหมายถึง พี่น้องของผู้ตายนั่นเอง และเลขเต็ม 3 6 12 7 6 สามเข้าไปในหก( ตาดาคุล ) หกเข้าไปในสิบสอง แต่สิบสองคูณด้วยเจ็ด ( ตาบายุน ) จะได้84 ส่วนของแม่มี 28 14 14 14 12 14 ดังนั้นแม่จะได้ส่วนที่น้อยที่สุดก่อนก็ คือ 12 ( ส่วนของทารกเป็นหญิงสองคน ) 5 กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก หน้า 136
  • 10. 10 บทที่ 3 มรดกคนสาบสูญ คนสาบสูญ หมายถึง ผู้ที่เราไม่ทราบข่าวคราวและความเป็นอยู่ของเขา ว่ายังมีชีวิตอยู่ หรือได้ตายไปแล้ว ไม่ว่าจะด้วยสาเหตุจากการเดินทางหรือไม่เดินทาง ถูกฆ่า เรืออัปปาง ถูกจับเป็นเชลย หรือด้วยเหตุใดๆก็ตาม 6 นักวิชาการได้เห็นพ้องต้องกันว่าจะต้องมีการกาหนดระยะเวลาในกรณีคนสาบสูญ ซึ่งขึ้นอยู่กับการพิจารณาของฮากิม ( ผู้พิพากษาหรือ ดาโต๊ะยุติธรรม ) หลักกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก มาตรา 199 ในกรณีที่ปรากฏว่ามีทายาท หรือผู้รับพินัยกรรมผู้ใดสูญไปจากภูมิลาเนา หรือถิ่นที่ อยู่ และมิสามารถทราบได้ว่ายังมีชีวิตอยู่หรือตาย ให้กันส่วนแบ่งของผู้นั้นไว้จนกว่าศาลจะได้ มีคาสั่งแสดงว่าผู้นั้นถึงแก่ความตาย ตามบทบัญญัติแห่งมาตรา 10 หรือจนกว่าผู้นั้นจะได้รับ ส่วนแบ่งของตนไปภายในกาหนด 1 ปี นับแต่เมื่อเจ้ามรดกตาย หรือนับแต่ผู้นั้นได้รู้หรือควรได้ รู้ถึงความตายของเจ้ามรดกแต่อย่างไรก็ดีมิให้เกิน 10 ปี (1) ถ้าผู้ที่สูญไปนั้นมิได้มารับส่วนแบ่งของตนไป ภายในกาหนดในวรรคก่อน ให้นา บัญญัติแห่งมาตรา 194 มาใช้บังคับโดยอนุโลม แล้วแต่กรณี (2) ถ้าผู้ที่สูญไปนั้นไม่มีทายาท ให้มรดกที่กันไว้นั้นตกได้แก่ทายาทอื่นของเจ้ามรดก 7 6 อัตตะห์กีกอต หน้า 229 7 กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก หน้า 136
  • 11. 11 การแบ่งมรดกคนสาบสูญ 7/2 2/7 14 1/2 สามี 3 1 6 1/2 พี่สาว 3 1 6 พี่สาวร่วมพ่อ 1 - - น้องชายร่วมพ่อสาบสูญ - - ตาย มีชีวิต เก็บ 2 18/4 8/9 72 1/2 สามี 9 3 27 1/3 พี่ชายร่วมแม่ 3 1 9 พี่ชายร่วมแม่ 3 1 9 น้องสาว 1 3 4 พี่ชายสาบสูญ 2 - - มีชีวิต ตาย เก็บ 23
  • 12. 12 7/2 2/7 14 1/2 สามี 3 1 6 ½ พี่สาว 3 1 6 พี่สาวร่วมพ่อสาบสูญ 1 - - มีชีวิต ตาย เก็บ 2 *****************************
  • 13. 13 บทที่ 4 มรดกคนตายหมู่ คนตายหมู่ หมายถึง ทุกๆคนที่ตายหมู่ด้วยเหตุการณ์หนึ่งเหตุการณ์ใดพร้อมกัน และไม่ทราบว่าใคร ตายเป็นคนแรก เช่น ไฟไหม้ตึกถล่ม จมน้า สงคราม อุบัติเหตุทางรถยนต์หรือเครื่องบินเป็นต้น ( 8 ) ไม่มีการสืบมรดกระหว่างผู้ตาย แต่ให้ทายาทโดยธรรมของแต่ละฝ่ายสืบมรดกของผู้ตายทันที (1) ตัวอย่าง พี่น้องชายสองคนได้ถึงแก่กรรมในเหตุการณ์เพลิงไหม้โดยไม่ทราบว่าผู้ใดตายก่อน โดยพี่ชายทิ้งภรรยา ลูกสาว และอาไว้ ส่วนน้องชายทิ้งลูกสาวสองคน และอาไว้ กรณีของพี่ชาย .........................8 1/8ภรรยา.........1 1/2ลูกสาว.........4 ‫ع‬อา..................3 กรณีของน้องชาย ............................3 2/3ลูกสาว...........1 ......ลูกสาว...........1 ‫ع‬อา......................1 (1) บัญญัติเกี่ยวกับมรดก พินัยกรรม วะกั้ฟ การยกให้ หน้า 56
  • 14. 14 บทที่ 5 มรดกซ้อน มรดกซ้อน หมายถึง มีผู้หนึ่งเสียชีวิต และก่อนที่จะมีการแบ่งมรดกของเขานั้น ผู้ที่มี สิทธิ์รับมรดกจากเขาก็ได้เสียชีวิตตามไปไปหนึ่งคนหรือมากกว่านั้น 8 ตัวอย่าง เช่น คนหนึ่งเสียชีวิตและมีลูกชายสี่คน และยังไม่มีการแบ่งมรดกของเขา ลูกชายคน แรกก็ตายและเขามีลูกชายสองคน และคนที่สองมีลูกชายสามคน และคนที่สามมีลูกชายสี่คน 4/12 2/6 3/4 4/3 48 ลูกชาย 1 ตาย - ลูกชาย 1 ตาย - ลูกชาย 1 ตาย - ลูกชาย 1 12 ลูกชาย 1 6 ลูกชาย 1 6 ลูกชาย 1 4 ลูกชาย 1 4 ลูกชาย 1 4 ลูกชาย 1 3 ลูกชาย 1 3 ลูกชาย 1 3 ลูกชาย 1 3 8 อัตตะห์กีกอต หน้า 181
  • 15. 15 ตัวอย่าง คนหนึ่งเสียชีวิตและทิ้งภรรยา ลูกสาวที่ไม่ใช่ลูกเธอ และพี่ชาย ก่อนที่จะแบ่งมรดก ลูกสาวได้เสียชีวิตจากสามีและลูกชาย ( ตะมาซุล 4 และ 4 ) 8/1 4/1 8 1/8 ภรรยา 1 1 1/2 ลูกสาวที่ไม่ใช่ลูกเธอ 4 ตาย - ‫ع‬ พี่ชาย 3 3 สามี 1 1 ลูกชาย 3 3 ตัวอย่าง คนหนึ่งเสียชีวิตและทิ้งภรรยา ลูกสาวจากเธอ และพี่ชาย และก่อนที่จะแบ่งมรดก ลูกสาวได้เสียชีวิตจากสามีและลูกสาว ( ตะวาฟุก 4 และ 12 ) 8/3 12/1 24 1/8 ภรรยา 1 แม่ 2 5 1/2 ลูกสาวจากเธอ 4 ตาย 1 - ‫ع‬ พี่ชาย 3 น้าชาย 1 10 สามี 3 3 ลูกสาว 6 6
  • 16. 16 ตัวอย่าง คนหนึ่งเสียชีวิตและทิ้งภรรยา ลูกชายและลูกสาวจากเธอ และก่อนแบ่งมรดก ลูก ชายเสียชีวิตจากบุคคลที่กล่าวมาข้างต้น ( ตะบายุน 14 และ 5 ) 24/5 5/14 120 1/8 ภรรยา 3 แม่ 2 43 ‫ع‬ ลูกชาย 14 ตาย - ลูกสาว 7 พี่ชาย 3 77 ตัวอย่าง คนหนึ่งเสียชีวิตและทิ้งภรรยา ลูกชายและลูกสาวจากนาง หลังจากนั้นลูกสาวก็ตาย จากไป ( ตะบายุน 7 และ 3 ) 24/3 3/7 72 9 1/8 ภรรยา 3 แม่ 1 16 2 ‫ع‬ ลูกชาย 14 พี่ชาย 2 56 7 ลูกสาว 7 ตาย - - - *****************************
  • 17. 17 บทที่ 6 มรดกเครือญาติ 9 ( ซาวิลอัรฮาม ) เครือญาติ หมายถึง ผู้ที่เป็นญาติใกล้ชิดกับผู้ตายที่ไม่ได้รับสิทธิ์ฟัรฎ หรืออาซอบะห์. เครือญาติแบ่งเป็น 4 ประเภท 1. ผู้ที่สืบเชื้อสายจากผู้ตาย ( บูนุวะห์ ทางลูก ) ได้แก่ ลูกของลูกสาวผู้ตาย ทั้งชายและหญิง ตลอดจนผู้สืบทอดชั้นต่าลงไป ลูกของลูกสาวของลูกชายผู้ตาย ทั้งชายและหญิง ตลอดจนผู้สืบทอดชั้นต่าลงไป 2. ผู้ที่ผู้ตายสืบเชื้อสายมาจากเขา ( อูบูวาะห์ ทางพ่อแม่ ) ได้แก่ ตา และผู้สืบทอดสูงชั้นขึ้นไป เช่น พ่อของแม่ หรือพ่อของพ่อของแม่ ทวดหญิง ได้แก่ ยายผู้ซึ่งอยู่ในตาแหน่งถัดจากผู้ที่มิได้รับส่วนใดๆจากมรดก เช่น แม่ของ พ่อของแม่ แม่ของแม่ของพ่อของแม่ 3. ผู้สืบญาติทางพ่อแม่ของผู้ตาย ( อูคูวะห์ ทางพี่น้อง ) ได้แก่ ลูกของพี่น้องหญิงร่วมพ่อแม่ หรือร่วมพ่อ หรือร่วมแม่ ทั้งชายและหญิง ลูกสาวของพี่น้องชายร่วมพ่อแม่ หรือร่วมพ่อ หรือร่วมแม่ ลูกของพี่น้องชายร่วมแม่ และลูกๆของเขาในชั้นต่าลงไป ทั้งชายและหญิง 9 อัลคุลาเสาะห์ ฟี อิลมิลฟารออิฎ หน้า 240
  • 18. 18 4. ผู้สืบญาติทางปู่ย่า ยายของผู้ตาย ( อูมูมะห์ ทางน้าอา ) ได้แก่ น้าอา(พี่น้องชายหญิงของพ่อ)ร่วมแม่ ลุงป้า( พี่น้องชายหญิงของแม่) ลูกชายและลูกสาวของผู้ที่ได้กล่าวมา น้าอาของพ่อร่วมแม่ ลุงป้าของพ่อ น้าอาของแม่ ลุงป้าของแม่ ลูกชายและลูกสาวของผู้ที่ได้กล่าวมา เครือญาติทั้งหมดนี้จะได้รับมรดกตามลาดับคนที่ใกล้ที่สุดเท่านั้น เหมือนรับอาซอบะห์ บินนัฟซ (ด้วยตัวเอง) คือ ทางลูก ทางพ่อแม่ ทางพี่น้อง หรือทางน้าอา ตามลาดับ ทรรศนะของผู้รู้เกี่ยวกับการรับมรดกของเครือญาติ 1. เครือญาติรับมรดกได้ โดยมีเงื่อนไขสองข้อ คือ ต้องไม่มีชาวฟัรฎู (ยกเว้นสามีหรือ ภรรยา) และไม่มีชาวอาซอบะห์ คือ ทรรศนะของท่านอบูฮานีฟะห์ และอะห์มัด อุมัร อาลี อิบนุมัสอูด และอิบนุอับบาซ หลักฐาน อัลกุรอ่าน َََََََََََّّّّّّّّّّّ‫قالَّاهللَّتعاىل‬ َِّ‫اب‬َ‫ت‬ِ‫ك‬ َِّ‫ف‬ َّ‫ض‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ِ‫ب‬ َّ‫ى‬َ‫ىل‬ْ‫َو‬‫أ‬ َّْ‫م‬‫ه‬‫ض‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ َِّ‫ام‬َ‫ح‬ْ‫َر‬ْ‫اْل‬ ‫و‬‫ل‬‫و‬‫أ‬َ‫و‬ َّْ‫م‬‫نك‬ِ‫م‬ ََّ‫ك‬ِ‫ئ‬‫ى‬َ‫ل‬‫و‬‫أ‬َ‫ف‬ َّْ‫م‬‫ك‬َ‫ع‬َ‫م‬ ‫ا‬‫و‬‫د‬َ‫اه‬َ‫ج‬َ‫و‬ ‫ا‬‫و‬‫ر‬َ‫اج‬َ‫ه‬َ‫و‬ َّ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ ‫ن‬ِ‫م‬ ‫ا‬‫و‬‫ن‬َ‫آم‬ ََّ‫ين‬ِ‫ذ‬‫ال‬َ‫و‬ َّ‫يم‬ِ‫ل‬َ‫ع‬ َّ‫ء‬ْ‫ي‬َ‫ش‬ َّ‫ل‬‫ك‬ِ‫ب‬ ََّ‫ه‬‫الل‬ َّ‫ن‬ِ‫إ‬ َِّ‫ه‬‫الل‬ َّ‫سورةَّاْلنفال‬َّ:55 “และบรรดาผู้ที่ได้ศรัทธาที่หลัง และได้อพยพ และต่อสู้ร่วมกับพวกเจ้านั้น ชนเหล่านี้แหละเป็น ส่วนหึ่งของพวกเจ้า และบรรดาญาตินั้น บางส่วนของพวกเขาเป็นผู้สมควรต่ออีกบางส่วน ใน คัมภีร์ของอัลลอฮฺ แท้จริงอัลลอฮฺนั้นทรงรอบรู้ในทุกสิ่งทุกอย่าง”
  • 19. 19 หะดีษ ท่านนบี (ซอล) ได้กล่าวว่า ‫والخال‬‫وارث‬‫من‬‫ال‬‫وارث‬‫له‬10 และลุง(พี่น้องชายของแม่)นั้น มีสิทธิ์รับมรดก สาหรับผู้ที่ไม่มีญาติอื่นแล้ว 2. เครือญาติรับมรดกไม่ได้ และมรดกนั้นต้องไปสู่คลังอิสลาม (บัยตุลมาล) หากไม่มีผู้รับ มรดกแบบฟัรฎูหรืออาซอบะห์ คือ ทรรศนะเดิมของชาวมาลีกียะห์และชาฟีอียะห์ และซัยด์ บินซาบิต ซาอีด บินมุซัย ยับ ซาอีด บิน ญุบัยร์ อัลเอาซาอีย์และอิบนูญารีร หลักฐาน มีรายงานจากอบูอาวูดเช่นกันแต่เป็นหะดีษที่ขาดตอน ว่าท่านนบีเคยขอต่ออัลลอฮเกี่ยวกับการ แบ่งมรดกของน้า(พี่น้องสาวของพ่อ)และป้า และมีวะห์ยูว่า ไม่ได้อะไรเลยสาหรับทั้งสอง สรุป ทรรศนะที่ถูกต้อง คือ ซาวิลอัรฮาม(เครือญาติ)มีสิทธิ์รับมรดก วัลลอฮุอะลัม วิธีการแบ่งมรดกเครือญาติ 1. แบ่งตามลาดับชั้น ( อะห์ลุตตันซีล ) โดยพิจารณาแบ่งมรดกให้ผู้มีสิทธิตามลาดับความใกล้ไกลของเครือญาติโดยธรรมใน ประเภทนั้น ๆ ถ้าหากว่า ผู้มีสิทธิ์เป็นลูกสาวของลูกสาว ก็รับมรดกในแบบลูกสาว ถ้าผู้รับมรดกเป็นลูกสาวของพี่ชาย ก็รับมรดกในแบบพี่ชาย เป็นต้น 10 รายงานโดย อบูดาวูด หะดีษที่ 2899 และอิบนุมาญะห์ หะดีษที่ 2737 บทซาวิลอัรฮาม และเชคอัลบานีย์บอกว่า ซอฮีฮ ในหนังสืออัลอิรวาอ
  • 20. 20 ยกเว้น ลุงและป้า( พี่น้องชายหญิงของแม่ ) พวกเขาจะได้รับสิทธิแบบแม่ และ น้าและอา( พี่น้องชายหญิงของพ่อ ) พวกเขาจะได้รับสิทธิแบบพ่อ ซึ่งท่านอุมัร บิน คอตต อบได้แบ่งมรดกให้อาและป้า โดยแบ่งให้ป้าในสถานะแม่ และอาในสถานะพ่อ และท่านอิบ นุมัสอูดก็ได้ตัดสินลักษณะนี้เช่นกัน ตาแหน่งเครือญาติ 1. ลูก(ชายและหญิง)ของลูกสาว อยู่ในสถานะลูกสาว 2. ลูกของลูกสาวของลูกชาย อยู่ในสถานะลูกชาย 3. ลูกของพี่น้องหญิง อยู่ในสถานพี่น้องหญิง 4. ลูกของพี่น้องหญิงร่วมพ่อ อยู่ในสถานะพี่น้องหญิงร่วมพ่อ 5. ลูกของพี่น้องหญิงร่วมแม่ อยู่ในสถานะพี่น้องหญิงร่วมแม่ 6. ลูกสาวของพี่น้องชาย อยู่ในสถานะพี่น้องชาย 7. ลูกสาวของพี่น้องชายร่วมพ่อ อยู่ในสถานะพี่น้องชายร่วมพ่อ 8. ลูกสาวของลูกชายของพี่น้องชาย อยู่ในสถานะลูกชายของพี่น้องชาย 9. ลูกสาวของลูกชายของพี่น้องชายร่วมพ่อ อยู่สถานะลูกชายของพี่น้องชายร่วมพ่อ 10. ลูกของพี่น้องชายร่วมแม่ อยู่ในสถานะพี่น้องชายร่วมแม่ 11. น้า(พี่น้องชายของพ่อ)ร่วมแม่ หรือน้าของพ่อ หรือน้าของปู่ อยู่ในสถานะพ่อ 12. อา( พี่น้องหญิงของพ่อ) หรืออาของพ่อ หรืออาของปู่ อยู่ในสถานพ่อ 13. ลูกสาวของน้า อยู่ในสถานะน้า 14. ลูกสาวของน้าร่วมพ่อ อยู่ในสถานะน้าร่วมพ่อ 15. ลูกสาวของน้าร่วมแม่ อยู่ในสถานะน้าร่วมแม่ 16. ลูกสาวของลูกชายของน้า อยู่ในสถานะลูกชายของน้า 17. ลูกสาวของลูกชายของน้าร่วมพ่อ อยู่ในสถานะลูกชายของน้าร่วมพ่อ
  • 21. 21 18. ลูกสาวของลูกชายของน้าร่วมแม่ อยู่ในสถานะลูกชายของน้าร่วมแม่ 19. ลุงป้า(พี่น้องชายหญิงของแม่) อยู่ในสถานะแม่ 20. ลุงและป้าของพ่อ อยู่ในสถานะแม่ของพ่อ(ย่า) 21. ลุงและป้าของแม่ อยู่ในสถานะแม่ของแม่(ยาย) 22. ทวดชายที่มาจากทางแม่ อยู่ในสถานะแม่ 23. ทวดชายที่มาจากทางพ่อ อยู่ในสถานะพ่อ 24. ทวดหญิงที่มาจากทางแม่ อยู่ในสถานะยาย 25. ทวดหญิงที่มาจากทางพ่อ อยู่ในสถานะย่า 26. บุคคลใดที่อยู่ระดับต่ากว่านี้ ก็จะอยู่ในสถานะบนกว่านี้หนึ่งระดับ ตัวอย่าง ผู้ตายทิ้ง ลูกสาวของลูกสาว ลูกชายของน้องสาว และลูกสาวของพี่ชายร่วมพ่อ 2 ลูกสาวของลูกสาว คือ ลูกสาว 1/2 1 ลูกชายของน้องสาว คือ น้องสาว ‫ع‬ 1 ลูกสาวของพี่ชายร่วมพอ คือ พี่ชายร่วมพ่อ ‫م‬ - โดนกันโดยน้องสาว ตัวอย่าง ผู้ตายทิ้งลูกสาวของพี่สาว ลูกสาวของน้องสาวร่วมพ่อ ลูกชายของพี่สาวร่วมแม่ และลูกสาวของน้าชาย 6 ลูกสาวของพี่สาว คือ พี่สาว 1/2 3 ลูกสาวของน้องสาวร่วมพ่อ คือ น้องสาวร่วมพ่อ 1/6 1 ลูกชายของพี่สาวร่วมแม่ คือ พี่สาวร่วมแม่ 1/6 1 ลูกสาวของน้า คือ น้า ‫ع‬ 1
  • 22. 22 ตัวอย่าง ผู้ตายทิ้งอา( พี่น้องสาวของพ่อ ) และป้า ( พี่น้องสาวของแม่ ) 3 อา คือ พ่อ ‫ع‬ 2 ป้า คือ แม่ 1/3 1 ข้อควรระวัง 1. ไม่มีความแตกต่างระหว่างชายหญิงของการแบ่งมรดกเครือญาติ แม้จะในระดับ เดียวกัน เช่น ผู้ตายทิ้งลูกชายของลูกสาวสามคน และลูกสาวของลูกสาว 4 ลูกชายของลูกสาว 3 คน คือ ลูกสาว 3 คน 3 ลูกสาวของลูกสาว คือ ลูกสาว 1 2. ลุงและป้าไม่มีสิทธิ์รับมรดกพร้อมกับตา เพราะพ่อกันสิทธิ์พี่น้อง 3. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับเครือญาติทั้งสองสถานะ จะได้รับสิทธิ์ทั้งสองสถานะ เช่น ผู้ตายทิ้งลูกสาวของพี่ชายร่วมแม่ (และเขาคือลูกชายของน้า) ลูกสาวของลูกชายของน้า 6x2 12 ลูกสาวของพี่ชายร่วมแม่ พี่ชายร่วมแม่ 1/6 1 2 7 ลูกชายของน้า ‫ع‬ 5 5 ลูกสาวของลูกชายของน้า ลูกชายของน้า 5
  • 23. 23 2. แบ่งตามความใกล้ชิด ( อะห์ลุลกอรอบะห์ ) การแบ่งด้วยวิธีนี้เป็นการแบ่งแบบมัซฮับฮานาฟียะห์และผู้ที่ทาตามพวกเขา นั่นคือการแบ่ง มรดกเครือญาติเหมือนการแบ่งมรดกแบบอาซอบะห์ ให้ผู้ที่ใกล้กว่าเท่านั้น ตัวอย่าง ผู้ตายทิ้งลูกสาวของลูกสาว ลูกสาวของพี่ชาย และลูกสาวของน้า ลูกสาวของลูกสาว รับมรดกทั้งหมด ทางลูกใกล้ที่สุด ลูกสาวของพี่ชาย ไม่ได้รับ ทางพี่น้อง ลูกสาวของน้า ไม่ได้รับ ทางน้าอา สรุป ทรรศนะที่ถูกต้อง คือ แบ่งตามลาดับชั้น (อะห์ลุตตันซีล) ตามทรรศนะของผู้รู้ ส่วนใหญ่ วัลลอฮูอะลัม ทบทวนท้ายบท หลังจากจัดการเรื่องสิทธิ์ต่างๆของผู้ตายแล้ว ไม่ว่าจะเป็นค่าทาศพ ชาระหนี้สิน และวาซียัต (พินัยกรรม) เราจะแบ่งมรดกให้กับบุคคลเหล่านี้ตามลับดับดังนี้ 1. ชาวฟัรฎู 2. ชาวอาซอบะห์ 3. อัรร๊อดให้ชาวฟัรฎู นอกจากสามีหรือภรรยา 4. ซาวิลอัรฮาม (เครือญาติ) 5. อัรร๊อดให้สามีหรือภรรยา11 ‫وصلى‬‫هللا‬‫على‬‫نبٌنا‬‫محمد‬‫وعلى‬‫آله‬‫وصحبه‬‫ومن‬‫تبعهم‬‫بإحسان‬‫إلى‬‫ٌوم‬‫الدٌن‬ 11 เอกสารจาก ดร.อับดุลกอดิร ญะฟัร