SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
เทคโนโลยีท างการศึก ษา
    เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
เทคโนโลยี : Technology
 Dr. Edgar Del ได้ให้ความหมายของคำาว่า "เทคโนโลยี" ว่า
 เทคโนโลยีมิใช่เครื่องมือ แต่เป็นแผนการ วิธีการทำางานอย่างมีระบบ
 ที่ทำาให้บรรลุ ตามแผนการ และจาก Dictionary of Education ของ
 Carter V. Good กล่าวว่า เทคโนโลยี หมายถึงการนำาความรู้ทาง
 วิทยาศาสตร์ มาใช้ในสาขา วิชาต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงระบบการทำางาน
 ให้มีประสิทธิภาพ
 การนำาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และความรู้ด้านอื่นอันจัดระเบียบดีแล้ว
 มาประยุกต์อย่างมีระบบ เพื่อใช้ในสาขาต่าง ๆ ด้วยการใช้
 ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ประหยัดทั้งเวลา ค่าใช้จ่าย และแรงงาน
 สามารถนำาไปใช้ในสถานการณ์จริง เพื่อแก้ปญหา ให้บรรลุจดมุ่ง
                                            ั             ุ
 หมายอย่างมี ประสิทธิภาพจึงเป็นการจัดระเบียบที่บรณาการและ
                                                  ู
 ความซับซ้อนอันประกอบไปด้วยคน เครื่องจักร วิธีการ และการ
 จัดการ
เทคโนโลยีท างการศึก ษา
 หมายถึง การนำาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ ใน
 การแก้ปัญหาการศึกษา การศึกษา หมายถึงการเปลี่ยนแปลง
 พฤติกรรม อันเนื่องมาจาก ประสบการณ์และพฤติกรรมที่
 เปลี่ยนแปลงไปนัน ต้องเป็นที่ยอมรับของสังคม สภา
                 ้
 เทคโนโลยีทางการศึกษานานาชาติ ได้ให้คำาจำากัดความของ
 เทคโนโลยีทางการศึกษาว่า เป็นการพัฒนาและประยุกต์
 ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนำาไปใช้ใน
 สถานการณ์จริงได้อย่างเหมาะสม
 แก่นแท้ของเทคโนโลยีการศึกษา ก็คือ วิธการแก้ปัญหาให้
                                      ี
 แก่การศึกษาด้วยการคิดไตร่ตรองหาทางปรับปรุง เกี่ยวกับ
 การเรียนการสอน ด้วยการตั้งข้อสงสัย และทำาไปอย่างเป็น
 ระบบ
นัก เทคโนโลยีท างการศึก ษา
 นักเทคโนโลยีทางการศึกษา ไม่ใช่แค่นักโสต
 ทัศนศึกษา
 สำาหรับนักเทคโนโลยีนั้น เป็นนักประยุกต์ นักประยุกต์ก็
 คือนักคิด คือคิดถึงเรื่องจะนำาความรู้ หรือเครื่องมืออะไร
 ดี มาช่วยให้งานที่กำาลังทำาอยู่ หรือกำาลังจะทำา มี
 คุณภาพ มีประสิทธิภาพ ได้ผลดี และประหยัด
 นักเทคโนโลยีทางการศึกษาจึงต้องการคนที่มีความสมา
 รถเฉพาะตัวสูง
เทคโนโลยีท างการศึก ษากับ
การเรีย นการสอน
 เทคโนโลยีทางการศึกษามีบทบาทสำาคัญต่อการศึกษา
 มาก เพราะว่า
 – เทคโนโลยีส่งเสริม Individualized Instruction
 – เทคโนโลยีชวยให้ไม่ต้องทำาการสาธิตจริง ๆ เช่น
              ่
   ภาพยนตร์ เทปโทรทัศน์ หรือการเลียนแบบด้วย
   คอมพิวเตอร์แทน
 – เทคโนโลยีชวยทำาให้เกิดการแลกเปลียนทัศนะ
                ่                        ่
   ระหว่างครูกับนักเรียน ให้เป็นไปโดยรวดเร็ว และดี
   กว่าชั้นเรียนที่ไม่มีการใช้เครื่องกลไกเลย
 – เทคโนโลยีจะช่วยทวีคูณความรู้แก่นักเรียนมากยิ่ง
   ขึ้น
นวัต กรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึก ษา
       Education Innovation and Technology


  หมายถึง การระดมสรรพความรู้ที่มีเหตุผล มาประยุกต์
  ให้เป็นระบบใหม่ และสามารถนำามาใช้ปฏิบัติใน
  สถานการณ์ที่เป็นจริง ในการแก้ปัญหาให้บรรลุจุดมุ่ง
  หมายของการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม
  อาศัยพื้นฐานความรู้หลายด้าน เช่น โสตทัศนศึกษา
  การวัดผล นด้วยตนเอง (Self Instruction) การศึกษา
   1. การเรีย
              จิตวิทยาการศึกษาและแนะแนว
  พิเศษ การบริหารการศึกจรูป รวมทั้งความรู้ด้านอื่นๆ
   2. การเรียนการสอนสำาเร็ ษา (Programmed
  ได้แก่
   Instruction)
   3. การแสดงหานวัตกรรมทางการศึกษาให้เหมาะสมกับ
   สภาพท้องถิ่นโยการเข้าสู่ระบบ (System Approach)
   4. โสตทัศนศึกษา (Audio Visual Education)
   5. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted
   Instruction หรือ CAI)
นวัต กรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึก ษา(ต่อ )
 6. การใช้ทรัพยากร (Resource) ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์
   มากที่สุด
 7. เครื่องช่วยสอน (Teaching Machine)
 8. สื่อการศึกษามวลชน (Mass Educational) เช่น วิทยุ
   และโทรทัศน์ทางการศึกษา
 9. ให้ความเสมอภาคทางการศึกษาทุกท้องถิ่น
 10. ให้ความรู้ทางจิตวิทยาสร้างสถานการณ์การเรียนรูที่
                                                    ้
   เหมาะสมกับเอกัตบุคคล
 11. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
 12. การศึกษาทางอินเตอร์เน็ต เช่น Web-Base
   Instruction, E-Learning เป็นต้น
ทฤษฎีก ารเรีย นรู้ : Learning
Theory
 ธอร์นไดค์ (Edward L. Thorndike, 1874 - 1949)
 เป็นชาวอเมริกัน ได้ตั้งทฤษฎีการ เรียนรู้ (Learning
 Theory) ซึ่งกล่าวว่า การเรียนรู้ของมนุษย์จะเกิดขึ้น
 ด้วยการสร้างสิ่ง เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบ
 สนองที่เหมาะสมกัน และการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพนั้น
 จะต้องอยู่บนพื้นฐานของกฎ 3 ประการ คือ
  – กฎแห่ง ความพร้อ ม (Law of Readiness)
  – กฎแห่ง ผลความพอใจ (Law of Effect)
  – กฎแห่ง การฝึก หัด (Law of Exercise)
กฎแห่ง ความพร้อ ม : Law of
Readiness
   พร้อม     พึงพอใจ      การเรียนรู้


   พร้อม     ไม่พอใจ   ไม่เกิดการเรียนรู้



  ไม่พร้อม   ไม่พอใจ   ไม่เกิดการเรียนรู้
กฎแห่ง การฝึก หัด
 กฎแห่งการใช้ (Law of Used) เมื่อเกิดความเข้าใจหรือ
 เรียนรู้แล้ว มีการกระทำาหรือ นำาสิ่งที่เรียนรู้นั้นไปใช้
 บ่อย ๆ จะทำาให้การเรียนรู้นั้นคงทนถาวร
 กฎแห่งการไม่ใช้ (Law of Disused) เมื่อเกิดความ
 เข้าใจหรือเรียนรู้แล้ว ไม่ได้กระทำาซำ้าบ่อย ๆ จะทำาให้
 การเรียนรู้นั้นไม่คงทนถาวรหรือในที่สุดก็จะเกิดการลืม
กฎแห่ง ผลความพอใจ
 ถ้าผลที่ได้รับเป็นที่พึงพอใจ อินทรีย์ย่อมอยากจะเรียนรู้
 อีกต่อไป แต่ถ้าผลที่ได้รับไม่เป็นที่พอใจ อินทรีย์ก็ไม่
 อยากเรียนรู้หรือเกิดความเบื่อหน่ายต่อการเรียนรู้ได้ ดัง
 นั้นถ้าจะให้การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบ
 สนองมั่นคงถาวร ต้องให้อินทรีย์ได้รับผลที่พึงพอใจ แม้
 กระทั่งทฤษฎีของสกินเนอร์ ก็มีรากฐานมาจากกฎข้อนี้
 คือผลที่พึงพอใจนั้น สกินเนอร์เรียกว่า การเสริมแรง
 (Reinforcement) นั่นเอง
เทคโนโลยีท างการสอน
 Instructional Technology หมายถึง หมายถึงการ
 ออกแบบ การพัฒนาการใช้ และการประเมินผลการ
 เรียนการสอนอย่างมีระบบ โดยยึดจุดประสงค์เฉพาะ
 การวิจัยเกี่ยวกับ การเรียนรู้และการสื่อสารของมนุษย์
 เป็นพื้นฐาน รวมทั้งการใช้แหล่ง ทรัพยากรมนุษย์ร่วม
 กัน เพื่อให้เกิดผลเป็นการสอนที่มีประสิทธิผลและ
 ประสิทธิภาพ
เทคโนโลยีก ารสอนยุค ใหม่
 E-Learning
 Web Base Instruction
 Learn on Line
 Web Base Course
 Ect.
End.

More Related Content

Similar to Chapter 2

Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamon
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap2
ภาวินี โยวะศรี Mindmap2ภาวินี โยวะศรี Mindmap2
ภาวินี โยวะศรี Mindmap2Ann Pawinee
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี MindmapAnn Pawinee
 
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BNedk2bn
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษาVitamilk
 

Similar to Chapter 2 (20)

Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Sattakamon
SattakamonSattakamon
Sattakamon
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap2
ภาวินี โยวะศรี Mindmap2ภาวินี โยวะศรี Mindmap2
ภาวินี โยวะศรี Mindmap2
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
 
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
 
Ci13501chap3
Ci13501chap3Ci13501chap3
Ci13501chap3
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
 

Chapter 2

  • 1. เทคโนโลยีท างการศึก ษา เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
  • 2. เทคโนโลยี : Technology Dr. Edgar Del ได้ให้ความหมายของคำาว่า "เทคโนโลยี" ว่า เทคโนโลยีมิใช่เครื่องมือ แต่เป็นแผนการ วิธีการทำางานอย่างมีระบบ ที่ทำาให้บรรลุ ตามแผนการ และจาก Dictionary of Education ของ Carter V. Good กล่าวว่า เทคโนโลยี หมายถึงการนำาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ มาใช้ในสาขา วิชาต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงระบบการทำางาน ให้มีประสิทธิภาพ การนำาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และความรู้ด้านอื่นอันจัดระเบียบดีแล้ว มาประยุกต์อย่างมีระบบ เพื่อใช้ในสาขาต่าง ๆ ด้วยการใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ประหยัดทั้งเวลา ค่าใช้จ่าย และแรงงาน สามารถนำาไปใช้ในสถานการณ์จริง เพื่อแก้ปญหา ให้บรรลุจดมุ่ง ั ุ หมายอย่างมี ประสิทธิภาพจึงเป็นการจัดระเบียบที่บรณาการและ ู ความซับซ้อนอันประกอบไปด้วยคน เครื่องจักร วิธีการ และการ จัดการ
  • 3. เทคโนโลยีท างการศึก ษา หมายถึง การนำาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ ใน การแก้ปัญหาการศึกษา การศึกษา หมายถึงการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม อันเนื่องมาจาก ประสบการณ์และพฤติกรรมที่ เปลี่ยนแปลงไปนัน ต้องเป็นที่ยอมรับของสังคม สภา ้ เทคโนโลยีทางการศึกษานานาชาติ ได้ให้คำาจำากัดความของ เทคโนโลยีทางการศึกษาว่า เป็นการพัฒนาและประยุกต์ ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนำาไปใช้ใน สถานการณ์จริงได้อย่างเหมาะสม แก่นแท้ของเทคโนโลยีการศึกษา ก็คือ วิธการแก้ปัญหาให้ ี แก่การศึกษาด้วยการคิดไตร่ตรองหาทางปรับปรุง เกี่ยวกับ การเรียนการสอน ด้วยการตั้งข้อสงสัย และทำาไปอย่างเป็น ระบบ
  • 4. นัก เทคโนโลยีท างการศึก ษา นักเทคโนโลยีทางการศึกษา ไม่ใช่แค่นักโสต ทัศนศึกษา สำาหรับนักเทคโนโลยีนั้น เป็นนักประยุกต์ นักประยุกต์ก็ คือนักคิด คือคิดถึงเรื่องจะนำาความรู้ หรือเครื่องมืออะไร ดี มาช่วยให้งานที่กำาลังทำาอยู่ หรือกำาลังจะทำา มี คุณภาพ มีประสิทธิภาพ ได้ผลดี และประหยัด นักเทคโนโลยีทางการศึกษาจึงต้องการคนที่มีความสมา รถเฉพาะตัวสูง
  • 5. เทคโนโลยีท างการศึก ษากับ การเรีย นการสอน เทคโนโลยีทางการศึกษามีบทบาทสำาคัญต่อการศึกษา มาก เพราะว่า – เทคโนโลยีส่งเสริม Individualized Instruction – เทคโนโลยีชวยให้ไม่ต้องทำาการสาธิตจริง ๆ เช่น ่ ภาพยนตร์ เทปโทรทัศน์ หรือการเลียนแบบด้วย คอมพิวเตอร์แทน – เทคโนโลยีชวยทำาให้เกิดการแลกเปลียนทัศนะ ่ ่ ระหว่างครูกับนักเรียน ให้เป็นไปโดยรวดเร็ว และดี กว่าชั้นเรียนที่ไม่มีการใช้เครื่องกลไกเลย – เทคโนโลยีจะช่วยทวีคูณความรู้แก่นักเรียนมากยิ่ง ขึ้น
  • 6. นวัต กรรมและเทคโนโลยี ทางการศึก ษา Education Innovation and Technology หมายถึง การระดมสรรพความรู้ที่มีเหตุผล มาประยุกต์ ให้เป็นระบบใหม่ และสามารถนำามาใช้ปฏิบัติใน สถานการณ์ที่เป็นจริง ในการแก้ปัญหาให้บรรลุจุดมุ่ง หมายของการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม อาศัยพื้นฐานความรู้หลายด้าน เช่น โสตทัศนศึกษา การวัดผล นด้วยตนเอง (Self Instruction) การศึกษา 1. การเรีย จิตวิทยาการศึกษาและแนะแนว พิเศษ การบริหารการศึกจรูป รวมทั้งความรู้ด้านอื่นๆ 2. การเรียนการสอนสำาเร็ ษา (Programmed ได้แก่ Instruction) 3. การแสดงหานวัตกรรมทางการศึกษาให้เหมาะสมกับ สภาพท้องถิ่นโยการเข้าสู่ระบบ (System Approach) 4. โสตทัศนศึกษา (Audio Visual Education) 5. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction หรือ CAI)
  • 7. นวัต กรรมและเทคโนโลยี ทางการศึก ษา(ต่อ ) 6. การใช้ทรัพยากร (Resource) ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ มากที่สุด 7. เครื่องช่วยสอน (Teaching Machine) 8. สื่อการศึกษามวลชน (Mass Educational) เช่น วิทยุ และโทรทัศน์ทางการศึกษา 9. ให้ความเสมอภาคทางการศึกษาทุกท้องถิ่น 10. ให้ความรู้ทางจิตวิทยาสร้างสถานการณ์การเรียนรูที่ ้ เหมาะสมกับเอกัตบุคคล 11. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 12. การศึกษาทางอินเตอร์เน็ต เช่น Web-Base Instruction, E-Learning เป็นต้น
  • 8. ทฤษฎีก ารเรีย นรู้ : Learning Theory ธอร์นไดค์ (Edward L. Thorndike, 1874 - 1949) เป็นชาวอเมริกัน ได้ตั้งทฤษฎีการ เรียนรู้ (Learning Theory) ซึ่งกล่าวว่า การเรียนรู้ของมนุษย์จะเกิดขึ้น ด้วยการสร้างสิ่ง เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบ สนองที่เหมาะสมกัน และการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพนั้น จะต้องอยู่บนพื้นฐานของกฎ 3 ประการ คือ – กฎแห่ง ความพร้อ ม (Law of Readiness) – กฎแห่ง ผลความพอใจ (Law of Effect) – กฎแห่ง การฝึก หัด (Law of Exercise)
  • 9. กฎแห่ง ความพร้อ ม : Law of Readiness พร้อม พึงพอใจ การเรียนรู้ พร้อม ไม่พอใจ ไม่เกิดการเรียนรู้ ไม่พร้อม ไม่พอใจ ไม่เกิดการเรียนรู้
  • 10. กฎแห่ง การฝึก หัด กฎแห่งการใช้ (Law of Used) เมื่อเกิดความเข้าใจหรือ เรียนรู้แล้ว มีการกระทำาหรือ นำาสิ่งที่เรียนรู้นั้นไปใช้ บ่อย ๆ จะทำาให้การเรียนรู้นั้นคงทนถาวร กฎแห่งการไม่ใช้ (Law of Disused) เมื่อเกิดความ เข้าใจหรือเรียนรู้แล้ว ไม่ได้กระทำาซำ้าบ่อย ๆ จะทำาให้ การเรียนรู้นั้นไม่คงทนถาวรหรือในที่สุดก็จะเกิดการลืม
  • 11. กฎแห่ง ผลความพอใจ ถ้าผลที่ได้รับเป็นที่พึงพอใจ อินทรีย์ย่อมอยากจะเรียนรู้ อีกต่อไป แต่ถ้าผลที่ได้รับไม่เป็นที่พอใจ อินทรีย์ก็ไม่ อยากเรียนรู้หรือเกิดความเบื่อหน่ายต่อการเรียนรู้ได้ ดัง นั้นถ้าจะให้การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบ สนองมั่นคงถาวร ต้องให้อินทรีย์ได้รับผลที่พึงพอใจ แม้ กระทั่งทฤษฎีของสกินเนอร์ ก็มีรากฐานมาจากกฎข้อนี้ คือผลที่พึงพอใจนั้น สกินเนอร์เรียกว่า การเสริมแรง (Reinforcement) นั่นเอง
  • 12. เทคโนโลยีท างการสอน Instructional Technology หมายถึง หมายถึงการ ออกแบบ การพัฒนาการใช้ และการประเมินผลการ เรียนการสอนอย่างมีระบบ โดยยึดจุดประสงค์เฉพาะ การวิจัยเกี่ยวกับ การเรียนรู้และการสื่อสารของมนุษย์ เป็นพื้นฐาน รวมทั้งการใช้แหล่ง ทรัพยากรมนุษย์ร่วม กัน เพื่อให้เกิดผลเป็นการสอนที่มีประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพ
  • 13. เทคโนโลยีก ารสอนยุค ใหม่ E-Learning Web Base Instruction Learn on Line Web Base Course Ect.
  • 14. End.