SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
[๑]
ประเวศ วะสี
๒๔ มีนาคม ๒๕๖0
การจัดประชุมเพื่อพัฒนา
นโยบายและยุทธศาสตร์ประเทศไทย
ในสถานการณ์บูรพาภิวัฒน์
[๒]
การจัดประชุมเพื่อพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ประเทศไทย
ในสถานการณ์บูรพาภิวัฒน์
ประเวศ วะสี
๑. สถานการณ์บูรพาภิวัฒน์
ในปัจจุบันและอนาคตความเจริญทางเศรษฐกิจกาลังเคลื่อนย้ายจากตะวันตกมาตะวันออก ดังที่มี
ญี่ปุ่นนาไปก่อน ตามมาด้วยเกาหลี ไต้หวัน สิงคโปร์ อินเดีย และประเทศอื่นๆ แต่ที่สาคัญคือจีน ที่มีขนาด
เศรษฐกิจและทุนสารองใหญ่มาก และกาลังสร้างทางสายไหมทั้งทางบกและทางทะเล (The Belt and Road
Initiative) ที่โอบเอาเอเซียทั้งหมดจรดยุโรป อันจะมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจบนเส้นทางอย่างมาก
ในขณะเดียวกันเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและสันติภาพยังมีปัญหา โลกตะวันตกกับ
โลกอิสลามยังคงเป็นขั้วตรงข้ามที่อาจเหวี่ยงไปเป็นความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ สหรัฐอเมริกายังถือจีนเป็น
คู่แข่งที่จะต้องปิดล้อม จีนกับญี่ปุ่นยังไม่ลืมความหลังที่มีต่อกันเมื่อญี่ปุ่นบุกจีนก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒
ความขัดแย้งในการอ้างกรรมสิทธิ์ในหมู่เกาะในทะเลจีนใต้ระหว่างประเทศจีนกับประเทศรอบๆ ยังดารงอยู่
พฤติกรรมแข็งกร้าวของประเทศเกาหลีเหนืออาจเป็นชนวนให้เกิดสงคราม
๒. จุดแข็งของประเทศไทย
จุดแข็งของประเทศไทยต่อสถานการณ์ดังกล่าว คือ
(๑) ที่ตั้งของประเทศ
- อยู่ตรงศูนย์กลางของเอเซียอาคเณย์ หรืออาเซียน
- อยู่ระหว่างอารยธรรมใหญ่ ๒ อารยธรรม คืออารยธรรมลุ่มน้าสินธุหรืออินเดีย กับอารยธรรมลุ่ม
น้าฮวงโหหรือจีน
- อยู่ตรงจตุรัสเศรษฐกิจ ระหว่างตะวันออกกับตะวันตก และระหว่างเหนือกับใต้
[๓]
(๒) สามารถเป็นมิตรได้กับทุกประเทศและมีวัฒนธรรมยืดหยุ่นประนีประนอม
(๓) เป็นประเทศที่ผลิตอาหารได้เหลือกิน ท่ามกลางอนาคตที่จะมีสภาวะวิกฤตอาหาร
๓. วัตถุประสงค์ของประเทศไทย
(๑) เป็นศูนย์กลางในการผนึกประเทศอาเซียนให้เข้มแข็ง ซึ่งจะใหญ่เป็น ๒ เท่าของอเมริกา และโตกว่า
EU ประเทศอาเซียนที่ผนึกกันเข้มแข็งจะมีอานาจต่อรองทางเศรษฐกิจ และมีบทบาทในการสร้าง
สันติภาพของโลก
(๒) สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับทุกประเทศและมีบทบาทนาในการสร้างสันติภาพ
(๓) สร้างโอกาสการเติบโตทางเศรษฐกิจ
๔. สิ่งที่ประเทศไทยควรทา
(๑) ศึกษาให้รู้ความเป็นไปของทุกประเทศให้ละเอียดที่สุด ทั้งทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สังคม
การเมือง และเศรษฐกิจ เรื่องนี้สาคัญที่สุดและยังทาได้น้อย จึงควรผนึกกับ ๔ ฝ่ายคือ
(ก) มหาวิทยาลัย
(ข) กองทัพ
(ค) กระทรวงการต่างประเทศ
(ง) ภาคธุรกิจ
รัฐบาลควรมีนโยบายให้มหาวิทยาลัยทาการศึกษาวิจัยประเทศทางตะวันออกทุกประเทศอย่าง
จริงจัง ผ่านการเพิ่มงบประมาณให้สภาวิจัยและสกว. กองทัพมีนายทหารนักวิชาการที่จะทาการวิจัยได้อีก
มากถ้าเป็นนโยบายของกองทัพ กระทรวงการต่างประเทศมีสถานทูตประจาในทุกประเทศ สถานทูตในแต่ละ
ประเทศต้องเป็นแหล่งที่จะศึกษาวิจัยเกี่ยวกับประเทศนั้นๆ ให้ดีที่สุด ทั้งนี้หากมีความร่วมมือกับ (ก) และ (ข)
ที่กล่าวข้างต้น จะทาให้แข็งแรงเพิ่มขึ้นมาก
ภาคธุรกิจมีกาลังมากและจะสามารถได้ประโยชน์จากการมีความรู้เกี่ยวกับแต่ละประเทศเป็นอย่างดี
ภาคธุรกิจควรรวมตัวกันตั้งสถาบันวิจัยบูรพาภิวัฒน์เพื่อทาการวิจัยเรื่องราวของประเทศทางตะวันออกให้รู้ดี
ที่สุดทุกประเทศ
[๔]
(๒) กระทรวงการต่างประเทศควรเพิ่มสมรรถนะในวงการทูตให้เก่งอย่างต่อเนื่อง โดยการแสวงหาความรู้
ตามข้อ (๑) ข้างต้น และโดยกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในการปปฏิบัติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
การต่างประเทศและอดีตทูตควรรวมตัวกันส่งเสริมและสนับสนุนการนี้อย่างต่อเนื่อง โดยอาจมีการตั้ง
มูลนิธิ และสถาบันที่สามารถทางานได้คล่องตัว ทางานร่วมกับกระทรวงการต่างประเทศ อาจมีการตั้ง
มูลนิธิสันติภาพนานาชาติ(ประเทศไทย) – International Peace Foundation (Thailand) เป็นเครื่องมือ
ทาเรื่องสันติภาพ
(๓) ร่วมมือกับประเทศในเอเซียสร้าง Asian Co-Prosperity and Social Development หรือ ภาคีความมั่ง
คั่งและพัฒนาสังคมแห่งเอเซีย เพื่อความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมไปพร้อมกัน เพราะถ้ามี
ประเทศใดประเทศหนึ่งร่ารวยโดยเอกเทศท่ามกลางความยากจนของประเทศเพื่อนบ้าน จะเกิดปัญหา
การเคลื่อนย้ายประชากร และปัญหาโรคระบาดข้ามพรมแดนซึ่งยากต่อการจัดการ จึงควรต้องเจริญไป
พร้อมๆ กัน
๕. การจัดประชุมเพื่อพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์
ควรจัดการประชุมเพื่อพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย
(๑) ผู้ปฏิบัติ ๔ ฝ่าย ตามข้อ ๔ คือ มหาวิทยาลัย, กองทัพ, กระทรวงการต่างประเทศ และภาคธุรกิจ
(๒) ผู้กาหนดนโยบายคือรองนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ ผู้กาหนดนโยบายของผู้ปฏิบัติ ๔
ฝ่าย ที่กล่าวในข้อ (๑) และผู้กาหนดนโยบายเกี่ยวกับการวิจัย
(๓) องค์กรที่สนับสนุนการวิจัย คือ สภาวิจัย และสกว.
(๔) กลุ่มและองค์กรที่จะเป็นแรงขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง เช่น กลุ่มอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ
ต่างประเทศ มูลนิธิวังสราญรมย์ อดีตผู้บริหารสถาบันยุทธศาสตร์ของกองทัพ
(๕) สื่อมวลชน
ในการประชุมนี้ควรจะมีการตกลงกันว่าใครจะต้องทาอะไร งบประมาณจะมาจากไหน กลไกในการ
ติดตามความก้าวหน้า
ควรมีการจัดประชุมเพื่อพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ประเทศไทย ในสถานการณ์บูรพาภิวัฒน์ ทุก
๑ - ๒ เดือน เพื่อติดตามความก้าวหน้าและกาหนดสิ่งที่ควรทาเพิ่มเติม
[๕]
จะปรากฏคณะเลขานุการร่วม (Joint Secretariat) ขึ้นมาจากกระบวนการทางานนี้ คณะเลขานุการ
ร่วมจะเป็นกลุ่มบริหารเชิงยุทธศาสตร์ของงานนี้ ซึ่งควรเชื่อมโยงการทางานกับหน่วยสัมฤทธิศาสตร์ของ
นายกรัฐมนตรี (PMDU = Prime Minister Delivery Unit)
เมื่อดาเนินการไปตามกระบวนการนี้ รายละเอียดต่างๆ และสิ่งที่ต้องทาเพิ่มเติมจะปรากฏขึ้นเอง
เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในข้อ ๓
……………………………………………………….

More Related Content

More from Klangpanya

‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 

More from Klangpanya (20)

‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 

การจัดประชุมเพื่อพัฒนา นโยบายและยุทธศาสตร์ประเทศไทย ในสถานการณ์บูรพาภิวัฒน์ อ.ประเวศ วะสี

  • 1. [๑] ประเวศ วะสี ๒๔ มีนาคม ๒๕๖0 การจัดประชุมเพื่อพัฒนา นโยบายและยุทธศาสตร์ประเทศไทย ในสถานการณ์บูรพาภิวัฒน์
  • 2. [๒] การจัดประชุมเพื่อพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ประเทศไทย ในสถานการณ์บูรพาภิวัฒน์ ประเวศ วะสี ๑. สถานการณ์บูรพาภิวัฒน์ ในปัจจุบันและอนาคตความเจริญทางเศรษฐกิจกาลังเคลื่อนย้ายจากตะวันตกมาตะวันออก ดังที่มี ญี่ปุ่นนาไปก่อน ตามมาด้วยเกาหลี ไต้หวัน สิงคโปร์ อินเดีย และประเทศอื่นๆ แต่ที่สาคัญคือจีน ที่มีขนาด เศรษฐกิจและทุนสารองใหญ่มาก และกาลังสร้างทางสายไหมทั้งทางบกและทางทะเล (The Belt and Road Initiative) ที่โอบเอาเอเซียทั้งหมดจรดยุโรป อันจะมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจบนเส้นทางอย่างมาก ในขณะเดียวกันเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและสันติภาพยังมีปัญหา โลกตะวันตกกับ โลกอิสลามยังคงเป็นขั้วตรงข้ามที่อาจเหวี่ยงไปเป็นความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ สหรัฐอเมริกายังถือจีนเป็น คู่แข่งที่จะต้องปิดล้อม จีนกับญี่ปุ่นยังไม่ลืมความหลังที่มีต่อกันเมื่อญี่ปุ่นบุกจีนก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒ ความขัดแย้งในการอ้างกรรมสิทธิ์ในหมู่เกาะในทะเลจีนใต้ระหว่างประเทศจีนกับประเทศรอบๆ ยังดารงอยู่ พฤติกรรมแข็งกร้าวของประเทศเกาหลีเหนืออาจเป็นชนวนให้เกิดสงคราม ๒. จุดแข็งของประเทศไทย จุดแข็งของประเทศไทยต่อสถานการณ์ดังกล่าว คือ (๑) ที่ตั้งของประเทศ - อยู่ตรงศูนย์กลางของเอเซียอาคเณย์ หรืออาเซียน - อยู่ระหว่างอารยธรรมใหญ่ ๒ อารยธรรม คืออารยธรรมลุ่มน้าสินธุหรืออินเดีย กับอารยธรรมลุ่ม น้าฮวงโหหรือจีน - อยู่ตรงจตุรัสเศรษฐกิจ ระหว่างตะวันออกกับตะวันตก และระหว่างเหนือกับใต้
  • 3. [๓] (๒) สามารถเป็นมิตรได้กับทุกประเทศและมีวัฒนธรรมยืดหยุ่นประนีประนอม (๓) เป็นประเทศที่ผลิตอาหารได้เหลือกิน ท่ามกลางอนาคตที่จะมีสภาวะวิกฤตอาหาร ๓. วัตถุประสงค์ของประเทศไทย (๑) เป็นศูนย์กลางในการผนึกประเทศอาเซียนให้เข้มแข็ง ซึ่งจะใหญ่เป็น ๒ เท่าของอเมริกา และโตกว่า EU ประเทศอาเซียนที่ผนึกกันเข้มแข็งจะมีอานาจต่อรองทางเศรษฐกิจ และมีบทบาทในการสร้าง สันติภาพของโลก (๒) สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับทุกประเทศและมีบทบาทนาในการสร้างสันติภาพ (๓) สร้างโอกาสการเติบโตทางเศรษฐกิจ ๔. สิ่งที่ประเทศไทยควรทา (๑) ศึกษาให้รู้ความเป็นไปของทุกประเทศให้ละเอียดที่สุด ทั้งทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สังคม การเมือง และเศรษฐกิจ เรื่องนี้สาคัญที่สุดและยังทาได้น้อย จึงควรผนึกกับ ๔ ฝ่ายคือ (ก) มหาวิทยาลัย (ข) กองทัพ (ค) กระทรวงการต่างประเทศ (ง) ภาคธุรกิจ รัฐบาลควรมีนโยบายให้มหาวิทยาลัยทาการศึกษาวิจัยประเทศทางตะวันออกทุกประเทศอย่าง จริงจัง ผ่านการเพิ่มงบประมาณให้สภาวิจัยและสกว. กองทัพมีนายทหารนักวิชาการที่จะทาการวิจัยได้อีก มากถ้าเป็นนโยบายของกองทัพ กระทรวงการต่างประเทศมีสถานทูตประจาในทุกประเทศ สถานทูตในแต่ละ ประเทศต้องเป็นแหล่งที่จะศึกษาวิจัยเกี่ยวกับประเทศนั้นๆ ให้ดีที่สุด ทั้งนี้หากมีความร่วมมือกับ (ก) และ (ข) ที่กล่าวข้างต้น จะทาให้แข็งแรงเพิ่มขึ้นมาก ภาคธุรกิจมีกาลังมากและจะสามารถได้ประโยชน์จากการมีความรู้เกี่ยวกับแต่ละประเทศเป็นอย่างดี ภาคธุรกิจควรรวมตัวกันตั้งสถาบันวิจัยบูรพาภิวัฒน์เพื่อทาการวิจัยเรื่องราวของประเทศทางตะวันออกให้รู้ดี ที่สุดทุกประเทศ
  • 4. [๔] (๒) กระทรวงการต่างประเทศควรเพิ่มสมรรถนะในวงการทูตให้เก่งอย่างต่อเนื่อง โดยการแสวงหาความรู้ ตามข้อ (๑) ข้างต้น และโดยกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในการปปฏิบัติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศและอดีตทูตควรรวมตัวกันส่งเสริมและสนับสนุนการนี้อย่างต่อเนื่อง โดยอาจมีการตั้ง มูลนิธิ และสถาบันที่สามารถทางานได้คล่องตัว ทางานร่วมกับกระทรวงการต่างประเทศ อาจมีการตั้ง มูลนิธิสันติภาพนานาชาติ(ประเทศไทย) – International Peace Foundation (Thailand) เป็นเครื่องมือ ทาเรื่องสันติภาพ (๓) ร่วมมือกับประเทศในเอเซียสร้าง Asian Co-Prosperity and Social Development หรือ ภาคีความมั่ง คั่งและพัฒนาสังคมแห่งเอเซีย เพื่อความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมไปพร้อมกัน เพราะถ้ามี ประเทศใดประเทศหนึ่งร่ารวยโดยเอกเทศท่ามกลางความยากจนของประเทศเพื่อนบ้าน จะเกิดปัญหา การเคลื่อนย้ายประชากร และปัญหาโรคระบาดข้ามพรมแดนซึ่งยากต่อการจัดการ จึงควรต้องเจริญไป พร้อมๆ กัน ๕. การจัดประชุมเพื่อพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ ควรจัดการประชุมเพื่อพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย (๑) ผู้ปฏิบัติ ๔ ฝ่าย ตามข้อ ๔ คือ มหาวิทยาลัย, กองทัพ, กระทรวงการต่างประเทศ และภาคธุรกิจ (๒) ผู้กาหนดนโยบายคือรองนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ ผู้กาหนดนโยบายของผู้ปฏิบัติ ๔ ฝ่าย ที่กล่าวในข้อ (๑) และผู้กาหนดนโยบายเกี่ยวกับการวิจัย (๓) องค์กรที่สนับสนุนการวิจัย คือ สภาวิจัย และสกว. (๔) กลุ่มและองค์กรที่จะเป็นแรงขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง เช่น กลุ่มอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ ต่างประเทศ มูลนิธิวังสราญรมย์ อดีตผู้บริหารสถาบันยุทธศาสตร์ของกองทัพ (๕) สื่อมวลชน ในการประชุมนี้ควรจะมีการตกลงกันว่าใครจะต้องทาอะไร งบประมาณจะมาจากไหน กลไกในการ ติดตามความก้าวหน้า ควรมีการจัดประชุมเพื่อพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ประเทศไทย ในสถานการณ์บูรพาภิวัฒน์ ทุก ๑ - ๒ เดือน เพื่อติดตามความก้าวหน้าและกาหนดสิ่งที่ควรทาเพิ่มเติม
  • 5. [๕] จะปรากฏคณะเลขานุการร่วม (Joint Secretariat) ขึ้นมาจากกระบวนการทางานนี้ คณะเลขานุการ ร่วมจะเป็นกลุ่มบริหารเชิงยุทธศาสตร์ของงานนี้ ซึ่งควรเชื่อมโยงการทางานกับหน่วยสัมฤทธิศาสตร์ของ นายกรัฐมนตรี (PMDU = Prime Minister Delivery Unit) เมื่อดาเนินการไปตามกระบวนการนี้ รายละเอียดต่างๆ และสิ่งที่ต้องทาเพิ่มเติมจะปรากฏขึ้นเอง เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในข้อ ๓ ……………………………………………………….