SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
การปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การต่างประเทศในยุคสงครามเย็น
เดิมทีในยุคของสงครามเย็น ประเทศไทยอยู่ตรงข้ามกับคอมมิวนิสต์และเป็นพันธมิตรกับสหรัฐ
อเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีนก็เป็นหนึ่งในประเทศคอมมิวนิสต์ที่อยู่ฝั่งตรงข้ามกับไทยในขณะนั้น
ต่อมาภายหลังสหรัฐอเมริกาปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ทางการทูตโดยหันมาเชื่อมสัมพันธไมตรีกับประเทศ
จีนผ่านการทูตปิงปอง ทางฝ่ายจีนที่ถูกโดดเดี่ยวจากความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์กับสหภาพโซเวียต
และการสิ้นสุดของปฏิวัติทางวัฒนธรรมภายในประเทศ จึงนามาซึ่งการผ่อนคลายกฎและการเปลี่ยน
แปลงนโยบายภายในและการต่างประเทศ ด้วยเหตุนี้ทางฝ่ายไทยจึงได้มีการทบทวนเพื่อปรับเปลี่ยน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ในขณะนั้น
นอกเหนือจากนี้ ในขณะนั้นไทยอยู่ในสภาวการณ์ที่คับขัน ด้วยความกลัวภัยคุกคามที่มาจาก
คอมมิวนิสต์ในเวียดนาม จึงเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สนับสนุนให้มีการปรับนโยบายการต่างประเทศของไทย
เพื่อไปเชื่อมความสัมพันธ์กับประเทศจีนตามสหรัฐอเมริกา
บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการปรับเปลี่ยนนโยบายการต่างประเทศของไทย ในขณะนั้นคือ
พันเอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ ดารงตาแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ ได้เห็นถึง
ท่าทีการปรับเปลี่ยนนโยบายทางการทูตของสหรัฐอเมริกาที่หันมาดาเนินความสัมพันธ์กับสาธารณรัฐ
1
ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวที Think Tank เรื่อง "ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย : เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต" จัดโดย
โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันจันทร์ที่ 22 กันยายน 2557 เวลา 13.00
-16.30 น. ณ ห้องประชุม 8-812 อาคารสาทรธานี 1 ศูนย์ศึกษาสาทรธานี มหาวิทยาลัยรังสิต ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง
เสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
: เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต
ดร. สารสิน วีระผล
อดีตนักการทูต กระทรวงต่างประเทศ
ฉบับที่ 1 / 2557
POLICY BRIEF
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประชาชนจีนจึงได้ริเริ่มในการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยให้สอดคล้องกับสภาวการณ์
ในขณะนั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2518 นายกรัฐมนตรีม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้เดินทางไปเยือนปักกิ่ง เพื่อรื้อ
ฟื้นและสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีนอย่างเป็นทางการ
พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นอีกหนึ่งบุคคลที่มีความสาคัญและมีบทบาทอย่างยิ่งต่อ
การปรับเปลี่ยนนโยบายการต่างประเทศในขณะที่ดารงตาแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ
ในสมัย ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี และภายหลัง พล.อ ชาติชายได้เป็นนายกรัฐมนตรี
ในช่วงปี พ.ศ.2531-2534 ก็ได้ดาเนินนโยบายเปลี่ยนสนามรบให้เป็นสนามการค้า โดยเฉพาะประเทศใน
กลุ่มอินโดจีน รวมทั้งดาเนินการประสานงานให้มีการเจรจาร่วมระหว่างเขมร 3 ฝ่ายอีกด้วย
ความสัมพันธ์ไทย-จีนภายหลังการรื้อฟื้น
และสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต
ภายหลังการรื้อฟื้นและสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทยกับจีน จึงมีความสัมพันธ์อันดี
เรื่อยมา มีการเยี่ยมเยือนระหว่างผู้นาของทั้งสองประเทศในหลากหลายครั้ง อีกทั้งยังมีการร่วมมือกันของ
ทั้งสอง ประเทศในหลากหลายด้าน อาทิ จีนช่วยเหลือไทยในกรณีภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต์ทางเวียดนาม
เป็นต้น
 ความสัมพันธ์พิเศษไทย-จีน
ในความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ประเทศ ยังมีรูปแบบพิเศษที่ ดร. สารสิน วีระผล ใช้คาว่า
”จิ้มก้อง” โดยคาว่าจิ้มก้องนี้ มีความหมายในภาษาจีนว่า การให้ของกานัลในการค้าขายในสมัย
โบราณ เป็นเจตคติที่ยึดถือปฏิบัติตามราชประเพณีจีน โดยถือว่าผู้ที่มาจิ้มก้องเป็นผู้ที่มาสวามิภักดิ์
ขอเป็นเมืองขึ้น เมื่อมีของกานัลมาให้ จีนจะให้ความสะดวกในการค้าแล้ว และยังตอบแทนด้วยของ
กานัลกลับไปเป็นจานวนมากโดยความสัมพันธ์ในรูปแบบนี้ มีลักษณะเหมือนการที่เด็กไปขอความ
ช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ และถึงแม้จิ้มก้องจะเป็นประเพณีจีนตั้งแต่โบราณ แต่ทุกวันนี้ไทยก็ยังสามารถ
ใช้แนวทางดังกล่าวในการขอความช่วยเหลือจากประเทศจีนด้วยวิธีการจิ้มก้องได้
อย่างไรก็ตาม ดร.อนุสนธิ์ ชินวรรโณ เห็นว่าไทยควรปรับเปลี่ยนมุมมองของความสัมพันธ์
ที่มีต่อจีน เพราะ ขณะนี้จีนกาลังปรับเปลี่ยนด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไปสู่มาตรฐานสากลที่
เท่าเทียม แต่ไทยกลับยังคงยึดติดกับความสัมพันธ์ในรูปแบบเดิม มากไปกว่านั้นในบางครั้งยัง
เหมือนกับการไปขอความช่วยเหลือ โดยไม่มีสิ่งของแลกเปลี่ยนอีกด้วย
ดังนั้น การที่ไทยกาลังจะก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ไทยก็ควรจะต้องปรับวิธีคิดและมุมมอง
ทางด้านความสัมพันธ์พิเศษกับจีนสู่การเชื่อมความพันธ์ในระดับภูมิภาค ให้มีความเป็นสากลมาก
ยิ่งขึ้น
2
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
แนวทางยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยในกระแสบูรพาภิวัตน์ที่จีน
กลับขึ้นมาเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจ
ต้องยอมรับว่า ในขณะนี้ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและ
ความเจริญก้าวหน้าที่สูง อีกทั้งยังเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลก เราจะเห็นได้จาก
เป้าหมายของประเทศจีนที่กาลังจะเปลี่ยนตนเองจากการเป็นโรงงานผลิตสินค้าของโลก มาเป็นการ
ก้าวเข้าไปลงทุนในต่างประเทศ ซึ่งไทยและอาเซียนก็เป็นหนึ่งในเป้าหมายสาคัญของจีน ดังนั้น ไทย
ควรจะมีแนวทางในการวางแผนและดาเนินยุทธศาสตร์การต่างประเทศเพื่อให้สอดคล้องกับการ
เจริญเติบโตของประเทศจีน อาทิ
1. ส่งเสริมการส่งออกสินค้าไปยังประเทศจีน
นอกจากนโยบายของจีนที่สนับสนุนการก้าวออกไปลงทุนธุรกิจภายนอกประเทศแล้ว
จีนยังดาเนินนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจภายในประเทศควบคู่กันไปด้วย โดยลดการพึ่งพาการ
ส่งออกและเพิ่มอุปสงค์-อุปทานภายในประเทศ ซึ่งนโยบายดังกล่าวส่งผลต่อศักยภาพการ
บริโภคที่เพิ่มขึ้นของคนจีนที่เราอาจจะได้ประโยชน์ในการส่งสินค้าออกไปขายยังประเทศ
จีนได้มากขึ้น โดยเราสามารถหาโอกาสส่งสินค้าไปขายยังประเทศจีนผ่านการค้าบน
อินเทอร์เน็ต (E-Commerce) ได้อีกด้วย ยกตัวอย่าง E-Commerce ชื่อดังของประเทศจีน
อย่างเช่น Alibaba เป็นต้น
2. ส่งเสริมการลงทุนระหว่างสองประเทศ
นอกจากนโยบายส่งเสริมการส่งออกสินค้าไปยังประเทศจีนแล้ว การเข้าไปลงทุนทา
ธุรกิจในประเทศจีนก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจ เนื่องจากนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจภายใน
ประเทศจีนที่ส่งผลต่อศักยภาพการบริโภคที่เพิ่มขึ้นของคนจีนดังที่กล่าวไปในข้างต้นแล้ว
นั้น อัตราการเจริญเติบโตของเมืองในประเทศจีนทางฝั่งตะวันตกที่มีที่ตั้งที่ไม่ได้อยู่ไกลจาก
ไทยมากนัก ซึ่งรัฐบาลไทยควรมีบทบาทในการเป็นผู้นาและมีนโยบายส่งเสริมการลงทุน
ของภาคธุรกิจทุกขนาดให้เข้าไปลงทุนในจีน
อีกทั้งความสัมพันธ์ที่ดีมาโดยตลอดของไทยและจีน จึงมีความเป็นไปได้ว่า จีนจะไว้วางใจให้
เราอานวยความสะดวกแก่จีน ในการเข้ามาลงทุนในกลุ่มอาเซียน นอกจากนี้ไทยยังมีที่ตั้งที่เหมาะสม
ต่อการเป็นจุดยุทธศาสตร์ทางด้านการขนส่งและการกระจายสินค้าในภูมิภาคอาเซียนรวมถึงสภาพ
ภูมิอากาศและภูมิประเทศที่เหมาะสม ซึ่งน่าจะเป็นจุดแข็งที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยว หรือนักธุรกิจ
ชาวจีนให้เข้ามาในประเทศเพื่อการท่องเที่ยวและการลงทุนอีกด้วย
3
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
แนวโน้มในอนาคต
จากที่กล่าวมาในข้างต้น เราจะเห็นได้ว่าการเติบโตและความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของประเทศจีน
ได้ส่งผลกระทบในทางบวกให้เราเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกัน ก็อาจจะส่งผลให้เกิดปัญหาที่มากระทบต่อ
ไทยได้เช่นกัน อันเนื่องมาจากอิทธิพลของประเทศจีน และนโยบายที่เอื้ออานวยต่อความง่ายของการ
ไหลเวียนของ ทุน เงิน สิ่งของ และแรงงาน อาทิ ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ ปัญหาความปลอดภัย
ทางด้านอาหารจากประเทศจีน หรือแม้กระทั่งผลกระทบที่เกิดจากการที่นักธุรกิจรายย่อยจากประเทศจีน
เข้ามาลงทุนในประเทศไทย ซึ่งอาจจะส่งผลกระทบต่อนักธุรกิจรายย่อยของไทยตามมา
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
การกาหนดยุทธศาสตร์และนโยบายของจีนนั้น รัฐบาลส่วนกลางจะเป็นแกนหลักในการดาเนินการ
บริหารนโยบาย โดยมีสานักนายกรัฐมนตรีที่รับนโยบายโดยตรงมาจากพรรคคอมมิวนิสต์ ซึ่งจะมีลักษณะ
เป็นองค์กรที่ขนานกับรัฐบาล ส่วนในเรื่องการต่างประเทศจะมีหน่วยงานที่ดูแลเรื่องนี้โดยตรง แต่ที่สาคัญ
ที่สุด คือ โรงเรียนพรรค หรือ Think Tank มีบทบาทเป็นสถานที่อบรมนักปฏิบัติที่จะเข้ามาทางานใน
ภาครัฐ โดยมีประธานที่ใหญ่สุด คือเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์
ในปัจจุบันโรงเรียนพรรคได้มีการเปิดให้ติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศ โดยสามารถติดต่อผ่านทาง
สานักนายกรัฐมนตรี นอกจากนี้ยังมีสถาบัน China Academy และสถาบันการวิจัยของมหาวิทยาลัยอีก
ด้วย
จากที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นได้ว่า ภายหลังจากการกลับมาสถาปนาทางด้านการทูตกับประเทศจีน
ในปี พ.ศ. 2518 ไทยกับจีนก็มีความสัมพันธ์อันดีและมีการช่วยเหลือร่วมมือกันเรื่อยมา ในขณะที่จีนกาลัง
เจริญเติบโตก้าวหน้ามากขึ้น จนกลายเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลก ไทยควรจะต้องปรับเปลี่ยน
แนวทางในการกาหนดนโยบาย จากแต่เดิมที่มักจะกาหนดยุทธศาสตร์และนโยบายอิงไปทางตะวันตก ทั้งนี้
ไทยจะต้องวางแผนและกาหนดยุทธศาสตร์ของตัวเองใหม่ให้สอดคล้องกับการเติบโตของประเทศจีนเพื่อ
ก่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดแก่ทั้งสองฝ่าย ยกตัวอย่าง การปรับเปลี่ยนแนวคิดและนโยบายด้านการศึกษา
ต่อต่างประเทศให้ไปศึกษาต่อในประเทศจีนมากขึ้น จากแต่เดิมที่นิยมไปศึกษาต่อในประเทศตะวันตก มี
ข้อสังเกตว่า นักศึกษาไทยที่ไปศึกษาต่อในประเทศจีนในขณะนี้ส่วนมากมักไปศึกษาทางด้านภาษา
วัฒนธรรม และวรรณคดี มากกว่าที่จะไปศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และสังคมศาสตร์ เพื่อที่จะ
นาความรู้และแนวทางยุทธศาสตร์กลับมาพัฒนาประเทศ
ดังนั้น ไทยควรจะมีหน่วยงานกลางที่รับผิดชอบ และทาหน้าที่หลักในการศึกษาวิจัย วางแผนและ
กาหนดยุทธศาสตร์ต่างๆ รวมทั้งยุทธศาสตร์การต่างประเทศ ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ของโลกที่
เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบันและอนาคตด้วย
********************************************
4
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง : น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
บันทึกเทปการประชุม : นาย ฮากีม ผูหาดา
ผู้ประสานงาน : อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ
ปีที่พิมพ์ : พฤศจิกายน 2557
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
5
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน:
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ดร.สารสิน วีระผล ศาสตราจารย์
ดร.สุรชาติ บารุงสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ดร.อนุสนธิ์
ชินวรรโณ ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์อาจารย์ ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ คุณพิรุณ
ฉัตรวนิชกุล คุณทนงศักดิ์ วิกุล อาจารย์ อัครเดช สุภัคกุล ร้อยตารวจเอก จอม
เดช ตรีเมฆ คุณเอื้อมพร สิงหกาญจน์
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ที่อยู่ติดต่อ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

More Related Content

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย : เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต

  • 1. การปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การต่างประเทศในยุคสงครามเย็น เดิมทีในยุคของสงครามเย็น ประเทศไทยอยู่ตรงข้ามกับคอมมิวนิสต์และเป็นพันธมิตรกับสหรัฐ อเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีนก็เป็นหนึ่งในประเทศคอมมิวนิสต์ที่อยู่ฝั่งตรงข้ามกับไทยในขณะนั้น ต่อมาภายหลังสหรัฐอเมริกาปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ทางการทูตโดยหันมาเชื่อมสัมพันธไมตรีกับประเทศ จีนผ่านการทูตปิงปอง ทางฝ่ายจีนที่ถูกโดดเดี่ยวจากความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์กับสหภาพโซเวียต และการสิ้นสุดของปฏิวัติทางวัฒนธรรมภายในประเทศ จึงนามาซึ่งการผ่อนคลายกฎและการเปลี่ยน แปลงนโยบายภายในและการต่างประเทศ ด้วยเหตุนี้ทางฝ่ายไทยจึงได้มีการทบทวนเพื่อปรับเปลี่ยน ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ในขณะนั้น นอกเหนือจากนี้ ในขณะนั้นไทยอยู่ในสภาวการณ์ที่คับขัน ด้วยความกลัวภัยคุกคามที่มาจาก คอมมิวนิสต์ในเวียดนาม จึงเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สนับสนุนให้มีการปรับนโยบายการต่างประเทศของไทย เพื่อไปเชื่อมความสัมพันธ์กับประเทศจีนตามสหรัฐอเมริกา บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการปรับเปลี่ยนนโยบายการต่างประเทศของไทย ในขณะนั้นคือ พันเอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ ดารงตาแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ ได้เห็นถึง ท่าทีการปรับเปลี่ยนนโยบายทางการทูตของสหรัฐอเมริกาที่หันมาดาเนินความสัมพันธ์กับสาธารณรัฐ 1 ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวที Think Tank เรื่อง "ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย : เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต" จัดโดย โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันจันทร์ที่ 22 กันยายน 2557 เวลา 13.00 -16.30 น. ณ ห้องประชุม 8-812 อาคารสาทรธานี 1 ศูนย์ศึกษาสาทรธานี มหาวิทยาลัยรังสิต ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.) : เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต ดร. สารสิน วีระผล อดีตนักการทูต กระทรวงต่างประเทศ ฉบับที่ 1 / 2557 POLICY BRIEF ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. ประชาชนจีนจึงได้ริเริ่มในการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ ในขณะนั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2518 นายกรัฐมนตรีม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้เดินทางไปเยือนปักกิ่ง เพื่อรื้อ ฟื้นและสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีนอย่างเป็นทางการ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นอีกหนึ่งบุคคลที่มีความสาคัญและมีบทบาทอย่างยิ่งต่อ การปรับเปลี่ยนนโยบายการต่างประเทศในขณะที่ดารงตาแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ ในสมัย ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี และภายหลัง พล.อ ชาติชายได้เป็นนายกรัฐมนตรี ในช่วงปี พ.ศ.2531-2534 ก็ได้ดาเนินนโยบายเปลี่ยนสนามรบให้เป็นสนามการค้า โดยเฉพาะประเทศใน กลุ่มอินโดจีน รวมทั้งดาเนินการประสานงานให้มีการเจรจาร่วมระหว่างเขมร 3 ฝ่ายอีกด้วย ความสัมพันธ์ไทย-จีนภายหลังการรื้อฟื้น และสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต ภายหลังการรื้อฟื้นและสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทยกับจีน จึงมีความสัมพันธ์อันดี เรื่อยมา มีการเยี่ยมเยือนระหว่างผู้นาของทั้งสองประเทศในหลากหลายครั้ง อีกทั้งยังมีการร่วมมือกันของ ทั้งสอง ประเทศในหลากหลายด้าน อาทิ จีนช่วยเหลือไทยในกรณีภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต์ทางเวียดนาม เป็นต้น  ความสัมพันธ์พิเศษไทย-จีน ในความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ประเทศ ยังมีรูปแบบพิเศษที่ ดร. สารสิน วีระผล ใช้คาว่า ”จิ้มก้อง” โดยคาว่าจิ้มก้องนี้ มีความหมายในภาษาจีนว่า การให้ของกานัลในการค้าขายในสมัย โบราณ เป็นเจตคติที่ยึดถือปฏิบัติตามราชประเพณีจีน โดยถือว่าผู้ที่มาจิ้มก้องเป็นผู้ที่มาสวามิภักดิ์ ขอเป็นเมืองขึ้น เมื่อมีของกานัลมาให้ จีนจะให้ความสะดวกในการค้าแล้ว และยังตอบแทนด้วยของ กานัลกลับไปเป็นจานวนมากโดยความสัมพันธ์ในรูปแบบนี้ มีลักษณะเหมือนการที่เด็กไปขอความ ช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ และถึงแม้จิ้มก้องจะเป็นประเพณีจีนตั้งแต่โบราณ แต่ทุกวันนี้ไทยก็ยังสามารถ ใช้แนวทางดังกล่าวในการขอความช่วยเหลือจากประเทศจีนด้วยวิธีการจิ้มก้องได้ อย่างไรก็ตาม ดร.อนุสนธิ์ ชินวรรโณ เห็นว่าไทยควรปรับเปลี่ยนมุมมองของความสัมพันธ์ ที่มีต่อจีน เพราะ ขณะนี้จีนกาลังปรับเปลี่ยนด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไปสู่มาตรฐานสากลที่ เท่าเทียม แต่ไทยกลับยังคงยึดติดกับความสัมพันธ์ในรูปแบบเดิม มากไปกว่านั้นในบางครั้งยัง เหมือนกับการไปขอความช่วยเหลือ โดยไม่มีสิ่งของแลกเปลี่ยนอีกด้วย ดังนั้น การที่ไทยกาลังจะก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ไทยก็ควรจะต้องปรับวิธีคิดและมุมมอง ทางด้านความสัมพันธ์พิเศษกับจีนสู่การเชื่อมความพันธ์ในระดับภูมิภาค ให้มีความเป็นสากลมาก ยิ่งขึ้น 2 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 3. แนวทางยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยในกระแสบูรพาภิวัตน์ที่จีน กลับขึ้นมาเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจ ต้องยอมรับว่า ในขณะนี้ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและ ความเจริญก้าวหน้าที่สูง อีกทั้งยังเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลก เราจะเห็นได้จาก เป้าหมายของประเทศจีนที่กาลังจะเปลี่ยนตนเองจากการเป็นโรงงานผลิตสินค้าของโลก มาเป็นการ ก้าวเข้าไปลงทุนในต่างประเทศ ซึ่งไทยและอาเซียนก็เป็นหนึ่งในเป้าหมายสาคัญของจีน ดังนั้น ไทย ควรจะมีแนวทางในการวางแผนและดาเนินยุทธศาสตร์การต่างประเทศเพื่อให้สอดคล้องกับการ เจริญเติบโตของประเทศจีน อาทิ 1. ส่งเสริมการส่งออกสินค้าไปยังประเทศจีน นอกจากนโยบายของจีนที่สนับสนุนการก้าวออกไปลงทุนธุรกิจภายนอกประเทศแล้ว จีนยังดาเนินนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจภายในประเทศควบคู่กันไปด้วย โดยลดการพึ่งพาการ ส่งออกและเพิ่มอุปสงค์-อุปทานภายในประเทศ ซึ่งนโยบายดังกล่าวส่งผลต่อศักยภาพการ บริโภคที่เพิ่มขึ้นของคนจีนที่เราอาจจะได้ประโยชน์ในการส่งสินค้าออกไปขายยังประเทศ จีนได้มากขึ้น โดยเราสามารถหาโอกาสส่งสินค้าไปขายยังประเทศจีนผ่านการค้าบน อินเทอร์เน็ต (E-Commerce) ได้อีกด้วย ยกตัวอย่าง E-Commerce ชื่อดังของประเทศจีน อย่างเช่น Alibaba เป็นต้น 2. ส่งเสริมการลงทุนระหว่างสองประเทศ นอกจากนโยบายส่งเสริมการส่งออกสินค้าไปยังประเทศจีนแล้ว การเข้าไปลงทุนทา ธุรกิจในประเทศจีนก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจ เนื่องจากนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจภายใน ประเทศจีนที่ส่งผลต่อศักยภาพการบริโภคที่เพิ่มขึ้นของคนจีนดังที่กล่าวไปในข้างต้นแล้ว นั้น อัตราการเจริญเติบโตของเมืองในประเทศจีนทางฝั่งตะวันตกที่มีที่ตั้งที่ไม่ได้อยู่ไกลจาก ไทยมากนัก ซึ่งรัฐบาลไทยควรมีบทบาทในการเป็นผู้นาและมีนโยบายส่งเสริมการลงทุน ของภาคธุรกิจทุกขนาดให้เข้าไปลงทุนในจีน อีกทั้งความสัมพันธ์ที่ดีมาโดยตลอดของไทยและจีน จึงมีความเป็นไปได้ว่า จีนจะไว้วางใจให้ เราอานวยความสะดวกแก่จีน ในการเข้ามาลงทุนในกลุ่มอาเซียน นอกจากนี้ไทยยังมีที่ตั้งที่เหมาะสม ต่อการเป็นจุดยุทธศาสตร์ทางด้านการขนส่งและการกระจายสินค้าในภูมิภาคอาเซียนรวมถึงสภาพ ภูมิอากาศและภูมิประเทศที่เหมาะสม ซึ่งน่าจะเป็นจุดแข็งที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยว หรือนักธุรกิจ ชาวจีนให้เข้ามาในประเทศเพื่อการท่องเที่ยวและการลงทุนอีกด้วย 3 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 4. แนวโน้มในอนาคต จากที่กล่าวมาในข้างต้น เราจะเห็นได้ว่าการเติบโตและความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของประเทศจีน ได้ส่งผลกระทบในทางบวกให้เราเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกัน ก็อาจจะส่งผลให้เกิดปัญหาที่มากระทบต่อ ไทยได้เช่นกัน อันเนื่องมาจากอิทธิพลของประเทศจีน และนโยบายที่เอื้ออานวยต่อความง่ายของการ ไหลเวียนของ ทุน เงิน สิ่งของ และแรงงาน อาทิ ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ ปัญหาความปลอดภัย ทางด้านอาหารจากประเทศจีน หรือแม้กระทั่งผลกระทบที่เกิดจากการที่นักธุรกิจรายย่อยจากประเทศจีน เข้ามาลงทุนในประเทศไทย ซึ่งอาจจะส่งผลกระทบต่อนักธุรกิจรายย่อยของไทยตามมา บทสรุปและข้อเสนอแนะ การกาหนดยุทธศาสตร์และนโยบายของจีนนั้น รัฐบาลส่วนกลางจะเป็นแกนหลักในการดาเนินการ บริหารนโยบาย โดยมีสานักนายกรัฐมนตรีที่รับนโยบายโดยตรงมาจากพรรคคอมมิวนิสต์ ซึ่งจะมีลักษณะ เป็นองค์กรที่ขนานกับรัฐบาล ส่วนในเรื่องการต่างประเทศจะมีหน่วยงานที่ดูแลเรื่องนี้โดยตรง แต่ที่สาคัญ ที่สุด คือ โรงเรียนพรรค หรือ Think Tank มีบทบาทเป็นสถานที่อบรมนักปฏิบัติที่จะเข้ามาทางานใน ภาครัฐ โดยมีประธานที่ใหญ่สุด คือเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ ในปัจจุบันโรงเรียนพรรคได้มีการเปิดให้ติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศ โดยสามารถติดต่อผ่านทาง สานักนายกรัฐมนตรี นอกจากนี้ยังมีสถาบัน China Academy และสถาบันการวิจัยของมหาวิทยาลัยอีก ด้วย จากที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นได้ว่า ภายหลังจากการกลับมาสถาปนาทางด้านการทูตกับประเทศจีน ในปี พ.ศ. 2518 ไทยกับจีนก็มีความสัมพันธ์อันดีและมีการช่วยเหลือร่วมมือกันเรื่อยมา ในขณะที่จีนกาลัง เจริญเติบโตก้าวหน้ามากขึ้น จนกลายเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลก ไทยควรจะต้องปรับเปลี่ยน แนวทางในการกาหนดนโยบาย จากแต่เดิมที่มักจะกาหนดยุทธศาสตร์และนโยบายอิงไปทางตะวันตก ทั้งนี้ ไทยจะต้องวางแผนและกาหนดยุทธศาสตร์ของตัวเองใหม่ให้สอดคล้องกับการเติบโตของประเทศจีนเพื่อ ก่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดแก่ทั้งสองฝ่าย ยกตัวอย่าง การปรับเปลี่ยนแนวคิดและนโยบายด้านการศึกษา ต่อต่างประเทศให้ไปศึกษาต่อในประเทศจีนมากขึ้น จากแต่เดิมที่นิยมไปศึกษาต่อในประเทศตะวันตก มี ข้อสังเกตว่า นักศึกษาไทยที่ไปศึกษาต่อในประเทศจีนในขณะนี้ส่วนมากมักไปศึกษาทางด้านภาษา วัฒนธรรม และวรรณคดี มากกว่าที่จะไปศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และสังคมศาสตร์ เพื่อที่จะ นาความรู้และแนวทางยุทธศาสตร์กลับมาพัฒนาประเทศ ดังนั้น ไทยควรจะมีหน่วยงานกลางที่รับผิดชอบ และทาหน้าที่หลักในการศึกษาวิจัย วางแผนและ กาหนดยุทธศาสตร์ต่างๆ รวมทั้งยุทธศาสตร์การต่างประเทศ ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ของโลกที่ เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบันและอนาคตด้วย ******************************************** 4 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 5. ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง : น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล บันทึกเทปการประชุม : นาย ฮากีม ผูหาดา ผู้ประสานงาน : อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ ปีที่พิมพ์ : พฤศจิกายน 2557 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ 5 เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน: ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ดร.สารสิน วีระผล ศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ บารุงสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ดร.อนุสนธิ์ ชินวรรโณ ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์อาจารย์ ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ คุณพิรุณ ฉัตรวนิชกุล คุณทนงศักดิ์ วิกุล อาจารย์ อัครเดช สุภัคกุล ร้อยตารวจเอก จอม เดช ตรีเมฆ คุณเอื้อมพร สิงหกาญจน์ โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่อยู่ติดต่อ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064