SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
การบริหาร (Administration) การจัดการ (Management)
การบริหาร (Administration)     ความหมายของการบริหารได้มีผู้ให้ความหมายไว้อย่างหลากหลายทั้งคล้าย และก็แตกต่างกัน ซึ่งจะขอกยกตัวอย่างความหมายของคำว่าการบริหาร สัก 6 ความหมายดังนี้ การบริหารคือ ศิลปะของการทำงานให้สำเร็จโดยใช้บุคคลอื่น การบริหารคือ การทำงานของคณะบุคคล ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่ร่วมกันปฏิบัติการให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน การบริหารคือ การที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปร่วมกันทำงาน เพื่อจุดประสงค์อย่างเดียวกัน
การบริหาร (Administration) การบริหารคือ กิจกรรมที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมกันดำเนินการ ให้บรรลุจุดประสงค์ร่วมกัน การบริหารคือ การใช้ศาสตร์และศิลปะนำทรัพยากรการบริหาร (Administrative resource)มาประกอบการตามกระบวนการบริหาร (Process of administration )  ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ การบริหาร คือศิลปะในการทำให้สิ่งต่างๆได้รับการกระทำจนเป็นผลสำเร็จ หมายความว่าผู้บริหารไม่ใช่ผู้ปฏิบัติ แต่ใช้ศิลปะทำให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานจนเป็นผลสำเร็จตรงตามจุดหมายขององค์การ หรือตรงตามจุดหมายที่ผู้บริหารตัดสินใจเลือกแล้ว
การบริหาร (Administration) จากความหมายทั้ง 6 ประการที่ยกมากล่าวข้างต้นนั้นสามารถสรุปได้ว่า การบริหาร  หมายถึง  การดำเนินงานโดยใช้ศาสตรและศิลปะโดยดำเนินงานเป็นกลุ่มบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่มีวัตถุประสงค์ในการทำงานเดียวกัน และให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ
การจัดการ (Management)     การจัดการ (Management) นิยมใช้ในหน่วยงาน และบุคลากรของภาคเอกชน ภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรม โดยมีนักวิชาการให้ความหมายไว้อย่างหลากหลาย ดังนี้      วิรัช  วิรัชนิภาวรรณ (พ.ศ.2549) กล่าวไว้ว่า  การจัดการนิยมใช้ในภาคเอกกชน หรือภาคธุรกิจซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการมุ่งแสวงหาผลกำไร หรือกำไรสูงสุด สำหรับผลประโยชน์ที่จะตกแก่สาะรณะถือได้ว่าเป้นวัตถุประสงค์รอง เมื่อเป็นเช่นนี้จึงแตกต่างจากภาครัฐที่มุ่งเน้นการบริการสาะรณะทั้งหลายแก่ประชาชน โดยการบริหารภาครัฐทุกวันนี้เรียกว่าการบริหารจัดการเกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจมากขึ้น เช่นการนำแนวความคิดสูงสุดของ CEO มาปรับใช้กับราชการ การบริหารราชการด้วยความรวดเร็ว การลดพิธีการที่ไม่จำเป็น  การลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ เป็นต้น
การจัดการ (Management)     แฮร์โรลด์ คูนตซ์ ให้ความหมายของการจัดการหมายถึง การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัสดุสิ่งของมาเป้นอุปกรณ์การจัดการนั้น     เออร์เนสต์ เดลกล่าวไว้ว่าการจัดการ คือ กระบวนการจัดองค์การและการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า     ปีเตอร์ ดรักเกอร์ กล่าวว่าการจัดการ คือ ศิลปะในการทำงานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกับผู้อื่น
การบริหารจัดการ (Management)     การบริหารจัดการ (Management) หมายถึงชุดของหน้าที่ต่างๆ (A set of functions) ที่กำหนดทิศทางในการใช้ทรัพยากรทั้งหลายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์กร การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient) หมายถึง การใช้ทรัพยากรได้อย่างเฉลียวฉลาดและคุ้มค่า (Cost-effective) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล (Effective) นั้นหมายถึงการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง (Right decision) และมีการปฏิบัติการสำเร็จตามแผนที่กำหนดไว้ ดังนั้นผลสำเร็จของการบริหารจัดการจึงจำเป็นต้องมีทั้งประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ควบคู่กัน (Griffin, 1997, p.4)
การบริหารจัดการ (Management)      ธุรกิจหรือองค์กร แสดงให้เห็นจากกลุ่มของบุคคลที่มาร่วมกันทำงานด้วยโครงสร้างและการประสานงาน เป็นหลักการชัดเจนแน่ชัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่กำหนดเป้าหมายไว้ (Ricky W. Griffin, 1999, p.6) ซึ่งต้องใช้ทรัพยากรจากสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ประกอบด้วย คน (Man) เงิน (Money) วัตถุดิบ (Material) เครื่องจักร (Machine) วิธีการ (Method) และการบริหาร (Management) หรือที่นิยมเรียกกันว่า 6M’s
หลักการบริหารจัดการ (Management) หลักการบริหารจัดการที่นิยมใช้คือ POSDCoRB P : Planning	หมายถึง การวางแผน O : Organizing		หมายถึง การจัดองค์การ S : Staffing		หมายถึง การจัดคนเข้าทำงาน D : Directing		หมายถึง การสั่งการ Co : Coordinating	หมายถึง ความร่วมมือ R : Reporting		หมายถึง การรายงาน B : Budgeting	หมายถึง งบประมาณ
ทฤษฎีการบริหารจัดการ (Management) ทฤษฎีการบริหารจัดการสามารถแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มหลัก ๆ ดังนี้  	1. กลุ่มคลาสสิค  (Classical Organizational Thought) 	2. กลุ่มมนุษยสัมพันธ์ (Human Relation Approach) 	3. กลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Approach) 	4. กลุ่มทฤษฎีระบบ ( A System View)
การบริหารกลุ่มคลาสสิค เป็นรูปแบบการบริหารที่มีหลักเกณฑ์(Scientific  Management) 	Taylor 		1. ค้นวิธีทำงานที่ดีที่สุด	2. คัด/พัฒนาคน 		3. วิธีทำงาน		4. ประสานงาน Fayolเน้นหน้าที่ในการบริหาร  		1.  การวางแผน (P)		2. การจัดองค์กร(O) 		3. การบังคับบัญชา(C)		4. การประสานงาน(C) 		5. การควบคุมงาน(C)
การบริหารกลุ่มมนุษยสัมพันธ์ การทดลอง Hawthorn Plant ของ Mayo มีแนวคิด 5 ข้อที่มุ่งคนเป็นหัวใจของการบริหาร 1. กฎเกณฑ์การทำงานของคนในกลุ่ม 2. รางวัลคนในกลุ่ม 3. ความรับผิดชอบของคนในกลุ่ม ผู้บิหารควบคุมน้อยสุด 4. การบังคับบัญชาแบบมีส่วนร่วม 5. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในกลุ่ม
ทฤษฎีการบริหารแบบพฤติกรรมศาสตร์ แมกเกรเกอร์ (McGregor)แบ่งธรรมชาติคนเป็น 2 แบบคือ ทฤษฎี X     			ทฤษฎี Y มองคนในแง่ไม่ดี		มองคนในแง่ดี	 	ต้องบังคับ / สั่งการ/	      	ชอบทำงาน/รับผิดชอบ/สร้างสรรค์	ลงโทษ/ควบคุม			ให้รางวัล/ผูกพันองค์การ
ทฤษฎีการบริหารแบบกลุ่มระบบ
การจัดการองค์กร     การจัดองค์กร เป็นกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่งานของบุคคลากร และปัจจัยทางกายภาพต่าง ๆ ขององคืกร หลักการจัดองค์กรครั้งนี้จะเน้นไปที่ระบบราชการ โดยมีหลักสำคัญดังนี้ - การกำหนดหน้าที่การงาน - การแบ่งงาน - สายการบังคับบัญชา - อำนาจกหารบังคับบัญชา - ช่องการควบคุม - แผนภูมิองค์กร
การจัดการองค์กร สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการจัดองค์กร      1. องค์กรมีเป้าหมาย นโยบาย และแผนงานในการดำเนินงานอย่างชัดเจน เพื่อห้เพื่อนร่วมงานหรือสมาชิกองค์กรทราบ ซึ่งจะทำให้การบริหารองค์กรดำเนินไปด้วยความราบรื่นและมีประสิทธิภาพ     2. องค์กรต้องจัดให้มีศูนย์กลางในการอำนวยการที่มีแระสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบและอำนวยการโดยตรง     3. องค์กรจะต้องระบุหน้าที่การงาน  ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคนให้ชัดเขนมีการแบ่งแยกหน้าที่ตามความเหมาะสม ตรงตามความรู้ความสามารถ     4. องค์กรต้องจัดระบบการทำงานอย่างเหมาะสม มีเทคนิคในการควบคุมงาน และการประสานงานในองค์กร     5. องค์กรต้องมีระบบการสื่อสารที่ดี มีหลักอำนวยการ การวินิจฉัยสั่งการที่ดี
ขั้นตอนการจัดการองค์กร การจัดองค์กรมีประสิทธิภาพนั้น เออร์เนสต์ เดล ได้เสนอแนะไว้เบื้องต้น 3 ขั้นตอน ดังนี้      1. การกำหนดรายละเอียดของงาน  เพื่อให้ องค์กรได้บรรลุเป้าหมายที่องค์กรตั้งขึ้นมาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่าง ใดอย่างหนึ่ง งานต่าง ๆ ขององค์กรย่อมมีมากน้อยตามกัน ประเภท ลักษณะ และขนาดขององค์กร การแจกแจงรายละเอียดของงานว่ามีอะไร เป็นสิ่งจำเป็น     2. การแบ่งงานให้แต่ละคนในองค์กรได้รับผิดชอบตามความเหมาะสม และตามความสามารถ     3. การประสานงาน เมื่อได้จัดแบ่งงานให้แต่ละฝ่าย แต่ละแผนกแล้ว ขั้นต่อไป คือ การประสานงานระหว่างแผนกต่าง ๆ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น และบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการแบบ six sigma
แหล่งที่มา http://www.kmitnbxmie8.com/index.php http://www.kru-itth.com http://comschool.site40.net/s2-6.html

More Related Content

Similar to Management

ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรsukanya56106930005
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาPitchayakarn Nitisahakul
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing Aor's Sometime
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
ความหมาย การบริหาร1
ความหมาย การบริหาร1ความหมาย การบริหาร1
ความหมาย การบริหาร1nursemoobin
 
ความหมาย การบริหาร1
ความหมาย การบริหาร1ความหมาย การบริหาร1
ความหมาย การบริหาร1nursemoobin
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUpantapong
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)Yingjira Panomai
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารPrapaporn Boonplord
 

Similar to Management (20)

ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
ความหมาย การบริหาร1
ความหมาย การบริหาร1ความหมาย การบริหาร1
ความหมาย การบริหาร1
 
ความหมาย การบริหาร1
ความหมาย การบริหาร1ความหมาย การบริหาร1
ความหมาย การบริหาร1
 
(Organization)
(Organization)(Organization)
(Organization)
 
Hr jjjane part
Hr jjjane partHr jjjane part
Hr jjjane part
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
Lib2.0
Lib2.0Lib2.0
Lib2.0
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
Organization&Management part1 2
Organization&Management part1 2Organization&Management part1 2
Organization&Management part1 2
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 

Management

  • 2. การบริหาร (Administration) ความหมายของการบริหารได้มีผู้ให้ความหมายไว้อย่างหลากหลายทั้งคล้าย และก็แตกต่างกัน ซึ่งจะขอกยกตัวอย่างความหมายของคำว่าการบริหาร สัก 6 ความหมายดังนี้ การบริหารคือ ศิลปะของการทำงานให้สำเร็จโดยใช้บุคคลอื่น การบริหารคือ การทำงานของคณะบุคคล ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่ร่วมกันปฏิบัติการให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน การบริหารคือ การที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปร่วมกันทำงาน เพื่อจุดประสงค์อย่างเดียวกัน
  • 3. การบริหาร (Administration) การบริหารคือ กิจกรรมที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมกันดำเนินการ ให้บรรลุจุดประสงค์ร่วมกัน การบริหารคือ การใช้ศาสตร์และศิลปะนำทรัพยากรการบริหาร (Administrative resource)มาประกอบการตามกระบวนการบริหาร (Process of administration ) ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ การบริหาร คือศิลปะในการทำให้สิ่งต่างๆได้รับการกระทำจนเป็นผลสำเร็จ หมายความว่าผู้บริหารไม่ใช่ผู้ปฏิบัติ แต่ใช้ศิลปะทำให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานจนเป็นผลสำเร็จตรงตามจุดหมายขององค์การ หรือตรงตามจุดหมายที่ผู้บริหารตัดสินใจเลือกแล้ว
  • 4. การบริหาร (Administration) จากความหมายทั้ง 6 ประการที่ยกมากล่าวข้างต้นนั้นสามารถสรุปได้ว่า การบริหาร หมายถึง การดำเนินงานโดยใช้ศาสตรและศิลปะโดยดำเนินงานเป็นกลุ่มบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่มีวัตถุประสงค์ในการทำงานเดียวกัน และให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 5. การจัดการ (Management) การจัดการ (Management) นิยมใช้ในหน่วยงาน และบุคลากรของภาคเอกชน ภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรม โดยมีนักวิชาการให้ความหมายไว้อย่างหลากหลาย ดังนี้ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (พ.ศ.2549) กล่าวไว้ว่า การจัดการนิยมใช้ในภาคเอกกชน หรือภาคธุรกิจซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการมุ่งแสวงหาผลกำไร หรือกำไรสูงสุด สำหรับผลประโยชน์ที่จะตกแก่สาะรณะถือได้ว่าเป้นวัตถุประสงค์รอง เมื่อเป็นเช่นนี้จึงแตกต่างจากภาครัฐที่มุ่งเน้นการบริการสาะรณะทั้งหลายแก่ประชาชน โดยการบริหารภาครัฐทุกวันนี้เรียกว่าการบริหารจัดการเกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจมากขึ้น เช่นการนำแนวความคิดสูงสุดของ CEO มาปรับใช้กับราชการ การบริหารราชการด้วยความรวดเร็ว การลดพิธีการที่ไม่จำเป็น การลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ เป็นต้น
  • 6. การจัดการ (Management) แฮร์โรลด์ คูนตซ์ ให้ความหมายของการจัดการหมายถึง การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัสดุสิ่งของมาเป้นอุปกรณ์การจัดการนั้น เออร์เนสต์ เดลกล่าวไว้ว่าการจัดการ คือ กระบวนการจัดองค์การและการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า ปีเตอร์ ดรักเกอร์ กล่าวว่าการจัดการ คือ ศิลปะในการทำงานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกับผู้อื่น
  • 7. การบริหารจัดการ (Management) การบริหารจัดการ (Management) หมายถึงชุดของหน้าที่ต่างๆ (A set of functions) ที่กำหนดทิศทางในการใช้ทรัพยากรทั้งหลายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์กร การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient) หมายถึง การใช้ทรัพยากรได้อย่างเฉลียวฉลาดและคุ้มค่า (Cost-effective) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล (Effective) นั้นหมายถึงการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง (Right decision) และมีการปฏิบัติการสำเร็จตามแผนที่กำหนดไว้ ดังนั้นผลสำเร็จของการบริหารจัดการจึงจำเป็นต้องมีทั้งประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ควบคู่กัน (Griffin, 1997, p.4)
  • 8. การบริหารจัดการ (Management) ธุรกิจหรือองค์กร แสดงให้เห็นจากกลุ่มของบุคคลที่มาร่วมกันทำงานด้วยโครงสร้างและการประสานงาน เป็นหลักการชัดเจนแน่ชัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่กำหนดเป้าหมายไว้ (Ricky W. Griffin, 1999, p.6) ซึ่งต้องใช้ทรัพยากรจากสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ประกอบด้วย คน (Man) เงิน (Money) วัตถุดิบ (Material) เครื่องจักร (Machine) วิธีการ (Method) และการบริหาร (Management) หรือที่นิยมเรียกกันว่า 6M’s
  • 9. หลักการบริหารจัดการ (Management) หลักการบริหารจัดการที่นิยมใช้คือ POSDCoRB P : Planning หมายถึง การวางแผน O : Organizing หมายถึง การจัดองค์การ S : Staffing หมายถึง การจัดคนเข้าทำงาน D : Directing หมายถึง การสั่งการ Co : Coordinating หมายถึง ความร่วมมือ R : Reporting หมายถึง การรายงาน B : Budgeting หมายถึง งบประมาณ
  • 10. ทฤษฎีการบริหารจัดการ (Management) ทฤษฎีการบริหารจัดการสามารถแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มหลัก ๆ ดังนี้ 1. กลุ่มคลาสสิค (Classical Organizational Thought) 2. กลุ่มมนุษยสัมพันธ์ (Human Relation Approach) 3. กลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Approach) 4. กลุ่มทฤษฎีระบบ ( A System View)
  • 11. การบริหารกลุ่มคลาสสิค เป็นรูปแบบการบริหารที่มีหลักเกณฑ์(Scientific Management) Taylor 1. ค้นวิธีทำงานที่ดีที่สุด 2. คัด/พัฒนาคน 3. วิธีทำงาน 4. ประสานงาน Fayolเน้นหน้าที่ในการบริหาร 1. การวางแผน (P) 2. การจัดองค์กร(O) 3. การบังคับบัญชา(C) 4. การประสานงาน(C) 5. การควบคุมงาน(C)
  • 12. การบริหารกลุ่มมนุษยสัมพันธ์ การทดลอง Hawthorn Plant ของ Mayo มีแนวคิด 5 ข้อที่มุ่งคนเป็นหัวใจของการบริหาร 1. กฎเกณฑ์การทำงานของคนในกลุ่ม 2. รางวัลคนในกลุ่ม 3. ความรับผิดชอบของคนในกลุ่ม ผู้บิหารควบคุมน้อยสุด 4. การบังคับบัญชาแบบมีส่วนร่วม 5. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในกลุ่ม
  • 13. ทฤษฎีการบริหารแบบพฤติกรรมศาสตร์ แมกเกรเกอร์ (McGregor)แบ่งธรรมชาติคนเป็น 2 แบบคือ ทฤษฎี X ทฤษฎี Y มองคนในแง่ไม่ดี มองคนในแง่ดี ต้องบังคับ / สั่งการ/ ชอบทำงาน/รับผิดชอบ/สร้างสรรค์ ลงโทษ/ควบคุม ให้รางวัล/ผูกพันองค์การ
  • 15. การจัดการองค์กร การจัดองค์กร เป็นกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่งานของบุคคลากร และปัจจัยทางกายภาพต่าง ๆ ขององคืกร หลักการจัดองค์กรครั้งนี้จะเน้นไปที่ระบบราชการ โดยมีหลักสำคัญดังนี้ - การกำหนดหน้าที่การงาน - การแบ่งงาน - สายการบังคับบัญชา - อำนาจกหารบังคับบัญชา - ช่องการควบคุม - แผนภูมิองค์กร
  • 16. การจัดการองค์กร สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการจัดองค์กร 1. องค์กรมีเป้าหมาย นโยบาย และแผนงานในการดำเนินงานอย่างชัดเจน เพื่อห้เพื่อนร่วมงานหรือสมาชิกองค์กรทราบ ซึ่งจะทำให้การบริหารองค์กรดำเนินไปด้วยความราบรื่นและมีประสิทธิภาพ 2. องค์กรต้องจัดให้มีศูนย์กลางในการอำนวยการที่มีแระสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบและอำนวยการโดยตรง 3. องค์กรจะต้องระบุหน้าที่การงาน  ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคนให้ชัดเขนมีการแบ่งแยกหน้าที่ตามความเหมาะสม ตรงตามความรู้ความสามารถ 4. องค์กรต้องจัดระบบการทำงานอย่างเหมาะสม มีเทคนิคในการควบคุมงาน และการประสานงานในองค์กร 5. องค์กรต้องมีระบบการสื่อสารที่ดี มีหลักอำนวยการ การวินิจฉัยสั่งการที่ดี
  • 17. ขั้นตอนการจัดการองค์กร การจัดองค์กรมีประสิทธิภาพนั้น เออร์เนสต์ เดล ได้เสนอแนะไว้เบื้องต้น 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การกำหนดรายละเอียดของงาน  เพื่อให้ องค์กรได้บรรลุเป้าหมายที่องค์กรตั้งขึ้นมาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่าง ใดอย่างหนึ่ง งานต่าง ๆ ขององค์กรย่อมมีมากน้อยตามกัน ประเภท ลักษณะ และขนาดขององค์กร การแจกแจงรายละเอียดของงานว่ามีอะไร เป็นสิ่งจำเป็น 2. การแบ่งงานให้แต่ละคนในองค์กรได้รับผิดชอบตามความเหมาะสม และตามความสามารถ 3. การประสานงาน เมื่อได้จัดแบ่งงานให้แต่ละฝ่าย แต่ละแผนกแล้ว ขั้นต่อไป คือ การประสานงานระหว่างแผนกต่าง ๆ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น และบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ