SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
น่ารู้รอบตัว เรื่องคณิตศาสตร์
ตัวเลขของ ออยเลอร์
ประเทศสวิส สร้าง โรเจอร์ เฟดเดอร์เรอร์ ให้วงการเทนนิส
ทางวงการคณิตฯ ก็มี ลีออนฮาร์ด ออยเลอร์ (Leonhard
Euler) ที่บางตารายกย่องท่านว่าเป็นผู้ผลิตผลงาน
คณิตศาสตร์มากที่สุดตลอดกาล

ภาพประกอบ ลีออนฮาร์ด ออยเลอร์
ท่านเป็นคนที่ตั้งชื่อตัวเลขนี้ว่า e และติดตลาดถึงทุกวันนี้ บางคนเข้าใจว่า
e ตั้งมาจากชื่อ ออยเลอร์ (Euler) ของท่าน แต่เปล่าครับ ! ท่านตั้งชื่อโดย
ไม่ได้คิดว่ามันจะมาโด่งดังอะไร
และท่านเป็นคนสบาย สบาย อิ่มตัวกับชื่อเสียงพอแล้ว ว่ากันว่า ท่านต้องการ
ใช้สระอักษรโรมันแทนค่าคงตัวนี้
แต่ท่านใช้ตัว a แทนค่าอื่นไปแล้ว ก็เลยถึงทีที่ต้องใช้ตัว e บ้าง จะเป็นโชค
หรือฟ้ากาหนดก็ได้ เพราะถ้าเห็นตัว e แล้วนึกถึงคาว่า ออยเลอร์ ก็เหมาะสม
ด้วยประการทั้งปวง
เพราะออยเลอร์เป็นคนแรกก็ว่าได้ ที่ทาให้คนเห็นความสาคัญของตัวเลขนี้ นัก
คณิตศาสตร์รุ่นหลังจึงเรียกชื่อเต็มยศของค่า
e นี้ว่า ตัวเลขของออยเลอร์ (Euler Number หรือ Eulerian Number)
ผลงานทั้งหมดของท่านออยเลอร์คงไม่ได้ ขอยกที่เป็นเสาหลัก ดังต่อไปนี้ ท่าน
ได้แสดงความสมการ

โดยที่ n! = n x (n-1) x (n-2) x (n-3) x ... x 2 x 1 ยกตัวอย่างเช่น 5! = 5
x 4 x 3 x 2 x 1 หลักฐานชั้นหลังบ่งว่านิวตันศึกษาอนุกรมนี้ก่อน แต่เป็นออย
เลอร์ที่ชี้ความสัมพันธ์กับค่า
e ออยเลอร์ ได้ฝากค่า e สู่อ้อมอก อ้อมใจ ของคณิตวิเคราะห์
(mathematical
analysis) โดยโยงใย e กับระบบจานวนเชิงซ้อนด้วยสมการข้างล่างนี้
exi = cos(x) + i sin(x)
ถ้าแทนค่า ด้วย ลงไปบนสมการข้างบน จัดรูปอีกนิด จะได้สิ่งที่
เรียกว่า สมการของออยเลอร์
e¶i + 1 = 0
เคยมีการโหวตโดยนักวิทยาศาสตร์ว่าสมการไหนสวยที่สุด สมการของออย
เลอร์ ติดอันดับต้น ๆ หรือ ขวัญใจช่างภาพ (อันหลังนี้ ไม่มีจริงนะครับ)
แทบทุกครั้งไป
ตัวเลข และ เป็นดาวดังแห่งวงการตัวเลข ถ้าเปรียบก็เหนือกว่า ซีดาน ฟิโก้
โรนัลโด้ เบ็กแคม และโอเว่น เสียอีก เพราะเลขพวกนี้ฟอร์มเข้าที่ ไม่มีตก
ยกพวกมาอยู่ทีมหรือสมการเดียวกันอย่างงดงามแบบนี้ คนชอบเลขตื่นตา
ตื่นใจยิ่งกว่าเห็นทีม เรียล แมดริด เสียอีก
ออยเลอร์ยังศึกษาค่า e กับเศษส่วนต่อเนื่องและประโยชน์ใช้สอยอื่น ๆ อีก
มากมาย สมควรแล้วที่เมื่อเห็นค่าe แล้วจะราลึกคุณงามความดีของท่าน
คณิตศาสตร์ กับความไม่คาดฝัน
ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง และ ฟังก์ชันลอการิทึม มีความสาคัญเพียงใด ค่า e
ก็สาคัญตามไปด้วย เพราะเจ้า e เข้าขากับสองฟังก์ชันนี้ที่สุด ตัวอย่างเช่น
ex เป็นฟังก์ชันเดียวในจักรวาลนี้ที่มีอนุพันธ์คือตัวมันเอง ในขณะที่ฟังก์ชันตัว
อื่นเมื่อหาอนุพันธ์จะได้ค่าเปี๋ยนไป๊
หรือ ถ้าเป็นลอการิทึมของ x ฐาน e (loge x) จะมีค่าอนุพันธ์คือ 1/x ถ้าใช้
ฐานอื่น จะยุ่ง ต้องคูณกับค่าคงตัวอื่น ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง และ ฟังก์ชัน
ลอการิทึม เป็นเครื่องมือใช้ทาความเข้าใจการเติบโตและลดถอย วิชาต่าง ๆ
เช่น
• ชีววิทยาที่สนใจการเติบโตของประชากร
• เศรษฐศาสตร์ที่ศึกษาการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
• ฟิสิกส์ที่คานวณการแตกสลายของสารกัมมันตรังสี หรือ
• การเงินที่สนใจการเพิ่มของดอกเบี้ย
ก็ต้องใช้ฟังก์ชันทั้งสองนี้ ค่า e
จึงกลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญตามไปด้วย
งานทางคณิตศาสตร์หลายงาน เมื่อยังแบเบาะ เราอาจจะไม่เห็นประโยชน์ของ
มัน แต่เมื่อเติบใหญ่ มันอาจจะมีประโยชน์นานัปการกับมนุษย์ ตัวอย่าง
ของ e ไม่ใช่เป็นตัวอย่างหัวเดียวกระเทียมลีบ ยังมีงานทางคณิตศาสตร์
มากมายที่เป็นเช่นนั้น
ประเทศพัฒนาแล้วทั้งหลาย จึงให้อิสรภาพทางวิชาการระดับหนึ่งกับนัก
คณิตศาสตร์ที่จะวิจัยสร้างความรู้เพื่อความรู้
โดยไม่ถามว่าจะไปใช้อะไร ! ผลพลอยได้ คือ ความรู้จริง รู้ลึกในแขนงต่าง ๆ
และเมื่อจาเป็นจะต้องวิจัยงานประยุกต์จริง
ก็ทาได้ ความรู้เพื่อจะใช้กับเทคโนโลยี กับ สังคม ให้ได้ทันที เป็นเรื่องจาเป็น
เป็นเรื่องมีประโยชน์

More Related Content

What's hot

โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์พิทักษ์ ทวี
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์Kansinee Kosirojhiran
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย rattasath
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์Beerza Kub
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนkanjana2536
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06Prachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
Ijso biology 2561
Ijso biology 2561Ijso biology 2561
Ijso biology 2561
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
 

น่ารู้รอบตัว เรื่องคณิตศาสตร์

  • 2. ตัวเลขของ ออยเลอร์ ประเทศสวิส สร้าง โรเจอร์ เฟดเดอร์เรอร์ ให้วงการเทนนิส ทางวงการคณิตฯ ก็มี ลีออนฮาร์ด ออยเลอร์ (Leonhard Euler) ที่บางตารายกย่องท่านว่าเป็นผู้ผลิตผลงาน คณิตศาสตร์มากที่สุดตลอดกาล ภาพประกอบ ลีออนฮาร์ด ออยเลอร์
  • 3. ท่านเป็นคนที่ตั้งชื่อตัวเลขนี้ว่า e และติดตลาดถึงทุกวันนี้ บางคนเข้าใจว่า e ตั้งมาจากชื่อ ออยเลอร์ (Euler) ของท่าน แต่เปล่าครับ ! ท่านตั้งชื่อโดย ไม่ได้คิดว่ามันจะมาโด่งดังอะไร และท่านเป็นคนสบาย สบาย อิ่มตัวกับชื่อเสียงพอแล้ว ว่ากันว่า ท่านต้องการ ใช้สระอักษรโรมันแทนค่าคงตัวนี้ แต่ท่านใช้ตัว a แทนค่าอื่นไปแล้ว ก็เลยถึงทีที่ต้องใช้ตัว e บ้าง จะเป็นโชค หรือฟ้ากาหนดก็ได้ เพราะถ้าเห็นตัว e แล้วนึกถึงคาว่า ออยเลอร์ ก็เหมาะสม ด้วยประการทั้งปวง เพราะออยเลอร์เป็นคนแรกก็ว่าได้ ที่ทาให้คนเห็นความสาคัญของตัวเลขนี้ นัก คณิตศาสตร์รุ่นหลังจึงเรียกชื่อเต็มยศของค่า e นี้ว่า ตัวเลขของออยเลอร์ (Euler Number หรือ Eulerian Number)
  • 4. ผลงานทั้งหมดของท่านออยเลอร์คงไม่ได้ ขอยกที่เป็นเสาหลัก ดังต่อไปนี้ ท่าน ได้แสดงความสมการ โดยที่ n! = n x (n-1) x (n-2) x (n-3) x ... x 2 x 1 ยกตัวอย่างเช่น 5! = 5 x 4 x 3 x 2 x 1 หลักฐานชั้นหลังบ่งว่านิวตันศึกษาอนุกรมนี้ก่อน แต่เป็นออย เลอร์ที่ชี้ความสัมพันธ์กับค่า e ออยเลอร์ ได้ฝากค่า e สู่อ้อมอก อ้อมใจ ของคณิตวิเคราะห์ (mathematical analysis) โดยโยงใย e กับระบบจานวนเชิงซ้อนด้วยสมการข้างล่างนี้ exi = cos(x) + i sin(x)
  • 5. ถ้าแทนค่า ด้วย ลงไปบนสมการข้างบน จัดรูปอีกนิด จะได้สิ่งที่ เรียกว่า สมการของออยเลอร์ e¶i + 1 = 0 เคยมีการโหวตโดยนักวิทยาศาสตร์ว่าสมการไหนสวยที่สุด สมการของออย เลอร์ ติดอันดับต้น ๆ หรือ ขวัญใจช่างภาพ (อันหลังนี้ ไม่มีจริงนะครับ) แทบทุกครั้งไป ตัวเลข และ เป็นดาวดังแห่งวงการตัวเลข ถ้าเปรียบก็เหนือกว่า ซีดาน ฟิโก้ โรนัลโด้ เบ็กแคม และโอเว่น เสียอีก เพราะเลขพวกนี้ฟอร์มเข้าที่ ไม่มีตก ยกพวกมาอยู่ทีมหรือสมการเดียวกันอย่างงดงามแบบนี้ คนชอบเลขตื่นตา ตื่นใจยิ่งกว่าเห็นทีม เรียล แมดริด เสียอีก ออยเลอร์ยังศึกษาค่า e กับเศษส่วนต่อเนื่องและประโยชน์ใช้สอยอื่น ๆ อีก มากมาย สมควรแล้วที่เมื่อเห็นค่าe แล้วจะราลึกคุณงามความดีของท่าน
  • 6. คณิตศาสตร์ กับความไม่คาดฝัน ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง และ ฟังก์ชันลอการิทึม มีความสาคัญเพียงใด ค่า e ก็สาคัญตามไปด้วย เพราะเจ้า e เข้าขากับสองฟังก์ชันนี้ที่สุด ตัวอย่างเช่น ex เป็นฟังก์ชันเดียวในจักรวาลนี้ที่มีอนุพันธ์คือตัวมันเอง ในขณะที่ฟังก์ชันตัว อื่นเมื่อหาอนุพันธ์จะได้ค่าเปี๋ยนไป๊ หรือ ถ้าเป็นลอการิทึมของ x ฐาน e (loge x) จะมีค่าอนุพันธ์คือ 1/x ถ้าใช้ ฐานอื่น จะยุ่ง ต้องคูณกับค่าคงตัวอื่น ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง และ ฟังก์ชัน ลอการิทึม เป็นเครื่องมือใช้ทาความเข้าใจการเติบโตและลดถอย วิชาต่าง ๆ เช่น
  • 7. • ชีววิทยาที่สนใจการเติบโตของประชากร • เศรษฐศาสตร์ที่ศึกษาการขยายตัวทางเศรษฐกิจ • ฟิสิกส์ที่คานวณการแตกสลายของสารกัมมันตรังสี หรือ • การเงินที่สนใจการเพิ่มของดอกเบี้ย ก็ต้องใช้ฟังก์ชันทั้งสองนี้ ค่า e จึงกลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญตามไปด้วย งานทางคณิตศาสตร์หลายงาน เมื่อยังแบเบาะ เราอาจจะไม่เห็นประโยชน์ของ มัน แต่เมื่อเติบใหญ่ มันอาจจะมีประโยชน์นานัปการกับมนุษย์ ตัวอย่าง ของ e ไม่ใช่เป็นตัวอย่างหัวเดียวกระเทียมลีบ ยังมีงานทางคณิตศาสตร์ มากมายที่เป็นเช่นนั้น
  • 8. ประเทศพัฒนาแล้วทั้งหลาย จึงให้อิสรภาพทางวิชาการระดับหนึ่งกับนัก คณิตศาสตร์ที่จะวิจัยสร้างความรู้เพื่อความรู้ โดยไม่ถามว่าจะไปใช้อะไร ! ผลพลอยได้ คือ ความรู้จริง รู้ลึกในแขนงต่าง ๆ และเมื่อจาเป็นจะต้องวิจัยงานประยุกต์จริง ก็ทาได้ ความรู้เพื่อจะใช้กับเทคโนโลยี กับ สังคม ให้ได้ทันที เป็นเรื่องจาเป็น เป็นเรื่องมีประโยชน์