SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
จัดทาโดย
นางสาวมาริษา กุนันตา
รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๔๖
มีหนังสือหลักภาษาไทยบางเล่ม ยกตัวอย่างคา
อักษรนาที่มีเสียงพยางค์หน้าเน้นเสียงอะ เช่น คาว่า
สบาย สบง ขบวน ทนาย ฯลฯ และระบุว่าเป็นอักษรนา
ซึ่งความจริงยังไม่ถูกต้อง เพราะคาอักษรนาจะต้อง
เป็นคาที่เป็นอักษรสูง หรือ อักษรกลาง นาอักษรต่า
เดี่ยว จึงจะจัดเป็นคาอักษรนา ส่วนคาว่า สบาย สบง
ขบวน ทนาย คาเหล่านี้ ไม่จัดเป็นอักษรนา เพราะคา
เหล่านี้ แม้จะออกเสียง ๒ พยางค์ และพยางค์หน้าออก
เสียงอะ โดยไม่ประวิสรรชนีย์ก็จริง แต่เสียงพยางค์
ของคาทั้ง ๒ คา เป็นอิสระแก่กัน
หมายเหตุ
อย่า
อักษรนา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
อยู่
อยาก
อย่าง
ข้อยกเว้น
คาบางคาออกเสียงตามความนิยม เช่น
ขมา อ่านว่า ขะ - มา
สมา อ่านว่า สะ - มา
เช่น คาว่า สบาย อ่านว่า สะ-บาย ตัว "บ" ไม่ต้องออก
เสียงสูงตามตัว "ส" และตัว "บ" ไม่ใช่อักษรต่าเดี่ยว จึงไม่
จัดเป็น อักษรนา คาว่า ทนาย อ่านว่า ทะ-นาย ตัว "ท"
เป็นอักษรต่าไม่ใช่อักษรสูง หรือ อักษรกลาง อักษรนา
จะต้องใช้พยัญชนะตัวแรกเป็นอักษรสูงหรืออักษรกลาง
เท่านั้น
อักษรนา คือ พยัญชนะ ๒ ตัว
ประสมอยู่ในสระเดียวกัน มีวิธีการออก
เสียงอักษรนา ดังนี้
แต่ สะ – บาย(สบาย)ไม่ใช่อักษรนา
เสียง “อะ” ไม่ประวิสรรชนีย์
เมื่อแยกคาอ่าน สะ – บาย คงที่
กึ่งเสียงเท่านี้ ไม่มี “ห” นา
หากตัว “ห” นาอักษรต่าเดี่ยว
เสียงที่เปลี่ยนไปคืออักษรต่า
หากมี “อ” นาอักษรต่าเดี่ยว
”อย่า อยู่ อย่าง อยาก” สี่คาเท่านี้
เสียง “อะ” ไม่เกี่ยวกลมเกลียวทุกคา
ไม่มีเงื่อนงาฝึกจาให้ดี
เหมือน “ห” นาเชียวเหมือนกันเลยนี่
หลักการที่มีจาให้ขึ้นใจ
อักษรนาคืออะไร?
๑. อ่านออกเสียงร่วมกันสนิทเป็นพยางค์เดียว ได้แก่
๑.๑ เมื่อ ห นา อักษรต่า ได้แก่ ง ญ น ม ย ร ล
ออกเสียงพยางค์เดียวสูงตามเสียง ห
เช่น หงาย หญ้า หนอน ไหม หยาม หรือ หลาน
๑.๒ เมื่อ อ นา ย มี๔ คา ได้แก่ อย่า อยู่
อย่าง อยาก
๒. อ่านออกเสียง ๒ พยางค์ พยางค์แรกออกเสียง อะ กึ่ง
เสียง พยางค์หลังออกเสียงตามสระที่ประสมอยู่และออก
เสียงเหมือน ห นา ดังนี้
๒.๑ อักษรสูงนาอักษรต่าที่เป็นอักษรเดี่ยว เช่น
ขนม อ่านว่า ขะ-หนม
ฉลาม อ่านว่า ฉะ-หลาม
สมุด อ่านว่า สะ-หมุด
๒.๒ อักษรกลางนาอักษรต่าที่เป็นอักษรเดี่ยว เช่น
จมูก อ่านว่า จะ-หมูก
ตลาด อ่านว่า ตะ-หลาด
องุ่น อ่านว่า อะ-หงุ่น
พยัญชนะสองตัวเรียงกัน
อักษรสูงอักษรกลางนาพา
อักษรตัวตามอักษรต่าเดี่ยว
เหมือนมีตัว “ห” มานาทุกคา
ร่วมสระผันในหลักภาษา
อักษรตัวหน้าเรียก “อักษรนา”
เสียงที่ข้องเกี่ยวมันดูลึกล้า
ขอให้จดจาแล้วก็ทาใจ
อักษรสูงนาอักษรต่าเดี่ยว
มิใช่ ผะ–นวด อย่างที่เคยใช้
อักษรกลางนาอักษรต่าเดี่ยว
มิใช่ ตะ-ลาดอย่างที่เคยทา
ผะ–หนวดตัวเดียวเสียงก็เปลี่ยนไป
เสียง “น” เปลี่ยนไปตามอักษรนา
ตะ–หลาด(ตลาด)ตัวเดียวเสียงก็เปลี่ยนคา
ฝึกจดฝึกจาเอาไว้ให้ดี

More Related Content

What's hot

การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ252413
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยkruthai40
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856Rose'zll LD
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJUnity' PeeBaa
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยRuangrat Watthanasaowalak
 

What's hot (19)

การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกดมาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJ
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
Th 2014-01-01
Th 2014-01-01Th 2014-01-01
Th 2014-01-01
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
Kam
KamKam
Kam
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 

Viewers also liked

งานแผ่นพับ
งานแผ่นพับงานแผ่นพับ
งานแผ่นพับsaojung
 
พิชญานิน แผ่นพับ
พิชญานิน แผ่นพับพิชญานิน แผ่นพับ
พิชญานิน แผ่นพับchisuminho
 
แผ่นพับคำวิเศษณ์
แผ่นพับคำวิเศษณ์แผ่นพับคำวิเศษณ์
แผ่นพับคำวิเศษณ์Bew Arthittaya
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยSasithorn Fakkaew
 
อักษรนำ
อักษรนำอักษรนำ
อักษรนำAunop Nop
 
แผ่นพับการสร้างคำ
แผ่นพับการสร้างคำแผ่นพับการสร้างคำ
แผ่นพับการสร้างคำKORKORAWAN
 
แผ่นพับ - แนะนำตัว - คุณครูโบตั๋น
แผ่นพับ - แนะนำตัว - คุณครูโบตั๋น แผ่นพับ - แนะนำตัว - คุณครูโบตั๋น
แผ่นพับ - แนะนำตัว - คุณครูโบตั๋น Chalinee Jonasit
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (8)

งานแผ่นพับ
งานแผ่นพับงานแผ่นพับ
งานแผ่นพับ
 
พิชญานิน แผ่นพับ
พิชญานิน แผ่นพับพิชญานิน แผ่นพับ
พิชญานิน แผ่นพับ
 
แผ่นพับคำวิเศษณ์
แผ่นพับคำวิเศษณ์แผ่นพับคำวิเศษณ์
แผ่นพับคำวิเศษณ์
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย
 
อักษรนำ
อักษรนำอักษรนำ
อักษรนำ
 
แผ่นพับการสร้างคำ
แผ่นพับการสร้างคำแผ่นพับการสร้างคำ
แผ่นพับการสร้างคำ
 
แผ่นพับ - แนะนำตัว - คุณครูโบตั๋น
แผ่นพับ - แนะนำตัว - คุณครูโบตั๋น แผ่นพับ - แนะนำตัว - คุณครูโบตั๋น
แผ่นพับ - แนะนำตัว - คุณครูโบตั๋น
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 

แผ่นพับอักษรนำ

  • 1. จัดทาโดย นางสาวมาริษา กุนันตา รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๔๖ มีหนังสือหลักภาษาไทยบางเล่ม ยกตัวอย่างคา อักษรนาที่มีเสียงพยางค์หน้าเน้นเสียงอะ เช่น คาว่า สบาย สบง ขบวน ทนาย ฯลฯ และระบุว่าเป็นอักษรนา ซึ่งความจริงยังไม่ถูกต้อง เพราะคาอักษรนาจะต้อง เป็นคาที่เป็นอักษรสูง หรือ อักษรกลาง นาอักษรต่า เดี่ยว จึงจะจัดเป็นคาอักษรนา ส่วนคาว่า สบาย สบง ขบวน ทนาย คาเหล่านี้ ไม่จัดเป็นอักษรนา เพราะคา เหล่านี้ แม้จะออกเสียง ๒ พยางค์ และพยางค์หน้าออก เสียงอะ โดยไม่ประวิสรรชนีย์ก็จริง แต่เสียงพยางค์ ของคาทั้ง ๒ คา เป็นอิสระแก่กัน หมายเหตุ อย่า อักษรนา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ อยู่ อยาก อย่าง ข้อยกเว้น คาบางคาออกเสียงตามความนิยม เช่น ขมา อ่านว่า ขะ - มา สมา อ่านว่า สะ - มา เช่น คาว่า สบาย อ่านว่า สะ-บาย ตัว "บ" ไม่ต้องออก เสียงสูงตามตัว "ส" และตัว "บ" ไม่ใช่อักษรต่าเดี่ยว จึงไม่ จัดเป็น อักษรนา คาว่า ทนาย อ่านว่า ทะ-นาย ตัว "ท" เป็นอักษรต่าไม่ใช่อักษรสูง หรือ อักษรกลาง อักษรนา จะต้องใช้พยัญชนะตัวแรกเป็นอักษรสูงหรืออักษรกลาง เท่านั้น
  • 2. อักษรนา คือ พยัญชนะ ๒ ตัว ประสมอยู่ในสระเดียวกัน มีวิธีการออก เสียงอักษรนา ดังนี้ แต่ สะ – บาย(สบาย)ไม่ใช่อักษรนา เสียง “อะ” ไม่ประวิสรรชนีย์ เมื่อแยกคาอ่าน สะ – บาย คงที่ กึ่งเสียงเท่านี้ ไม่มี “ห” นา หากตัว “ห” นาอักษรต่าเดี่ยว เสียงที่เปลี่ยนไปคืออักษรต่า หากมี “อ” นาอักษรต่าเดี่ยว ”อย่า อยู่ อย่าง อยาก” สี่คาเท่านี้ เสียง “อะ” ไม่เกี่ยวกลมเกลียวทุกคา ไม่มีเงื่อนงาฝึกจาให้ดี เหมือน “ห” นาเชียวเหมือนกันเลยนี่ หลักการที่มีจาให้ขึ้นใจ อักษรนาคืออะไร? ๑. อ่านออกเสียงร่วมกันสนิทเป็นพยางค์เดียว ได้แก่ ๑.๑ เมื่อ ห นา อักษรต่า ได้แก่ ง ญ น ม ย ร ล ออกเสียงพยางค์เดียวสูงตามเสียง ห เช่น หงาย หญ้า หนอน ไหม หยาม หรือ หลาน ๑.๒ เมื่อ อ นา ย มี๔ คา ได้แก่ อย่า อยู่ อย่าง อยาก ๒. อ่านออกเสียง ๒ พยางค์ พยางค์แรกออกเสียง อะ กึ่ง เสียง พยางค์หลังออกเสียงตามสระที่ประสมอยู่และออก เสียงเหมือน ห นา ดังนี้ ๒.๑ อักษรสูงนาอักษรต่าที่เป็นอักษรเดี่ยว เช่น ขนม อ่านว่า ขะ-หนม ฉลาม อ่านว่า ฉะ-หลาม สมุด อ่านว่า สะ-หมุด ๒.๒ อักษรกลางนาอักษรต่าที่เป็นอักษรเดี่ยว เช่น จมูก อ่านว่า จะ-หมูก ตลาด อ่านว่า ตะ-หลาด องุ่น อ่านว่า อะ-หงุ่น พยัญชนะสองตัวเรียงกัน อักษรสูงอักษรกลางนาพา อักษรตัวตามอักษรต่าเดี่ยว เหมือนมีตัว “ห” มานาทุกคา ร่วมสระผันในหลักภาษา อักษรตัวหน้าเรียก “อักษรนา” เสียงที่ข้องเกี่ยวมันดูลึกล้า ขอให้จดจาแล้วก็ทาใจ อักษรสูงนาอักษรต่าเดี่ยว มิใช่ ผะ–นวด อย่างที่เคยใช้ อักษรกลางนาอักษรต่าเดี่ยว มิใช่ ตะ-ลาดอย่างที่เคยทา ผะ–หนวดตัวเดียวเสียงก็เปลี่ยนไป เสียง “น” เปลี่ยนไปตามอักษรนา ตะ–หลาด(ตลาด)ตัวเดียวเสียงก็เปลี่ยนคา ฝึกจดฝึกจาเอาไว้ให้ดี