SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
หลวงวิจิตรวาทการ
จัดทําโดย
• นางสาววาสิตา สิงห์วะราช
• ม.5/3 เลขที่ 21
ประวัติชีวิตตอนต้น
หลวงวิจิตรวาทการ เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11
สิงหาคม พุทธศักราช 2441 เจ้าของประวัติบันทึก
ไว้ว่า "ข้าพเจ้าเกิดบนแพ ริมแม่นํ้าสะแกกรัง
จังหวัดอุทัยธานี เมื่อรู้ความ เห็นบิดามารดาของ
ข้าพเจ้ามีเรือพายม้าลําหนึ่ง แม่แจวหัว และพ่อแจว
ท้าย พวกข้าพเจ้าเป็นพวกมีลูกมาก แม่ของข้าพเจ้า
มีลูกถึง 8 คน"
• ผลงานเพลงของหลวงวิจิตรวาทการมากมายหลายเพลงที่เป็นที่น่าสนใจและหนึ่ง
ในนั้นก็คือ "เพลงแหลมทอง"
เพลงแหลมทอง
• แหลมทองไทยครอบครองเป็นแดนไทย
รักกันไว้พวกเราไทยในแดนทอง
แหลมทองไทยเข้าครองเป็นแดนไทย
แล้วแยกย้ายแตกกันเป็นสาขา
ไทยสยามอยู่แม่นํ้าเจ้าพระยา
และปิงวังยมมนาน่านนที (สร้อย)
โขงสาครไทยก็จองครองแผ่นดิน
สาละวินไทยใหญ่อยู่เป็นที่
ไทยอิสลามอยู่ลํานํ้าตานี
"แม่ของข้าพเจ้าถึงแก่กรรมตั้งแต่ตัวข้าพเจ้ายังเล็ก ข้าพเจ้าเริ่ม
ลําดับความต่างๆ ได้ตั้งแต่อายุ 5 ขวบ จําได้ว่าพ่อเคยเขียน ก. ข.
ใส่กระดานชนวนไว้ให้ในเวลากลางคืน และพอ 4 นาฬิกา ก็ต้อง
แจวเรือไปค้าขายสองคนกับแม่ เวลานอนก็นอนกับย่า ซึ่งเป็นคน
จดจํานิยายต่างๆ ไว้ได้มาก และเล่าให้ฟังเสมอ จนกระทั่งเรื่อง
สังข์ทอง เรื่องรามเกียรติ์ เรื่องอิเหนา เรื่องพระอภัยมณี และ
เรื่องขุนช้างขุนแผนเหล่านี้ อยู่ในสมองของข้าพเจ้าหมดก่อนที่
จะลงมืออ่านได้เอง
มีคนพูดกันแต่เดิมว่า หลวงวิจิตรวาทการ มีเชื้อสายเป็นจีน
เพราะชื่อ "กิมเหลียง" ซึ่งเป็นชื่อเดิม ข้อนี้ตามเอกสารของ
หลวงวิจิตรวาทการยืนยันไว้เองว่า "มีประเพณีพิเศษอยู่อย่าง
หนึ่งในจังหวัดอุทัยธานีเวลานั้น คือ บิดามารดามีชื่อเป็นไทย
แท้ๆ แต่ลูกต้องมีชื่อเป็นจีน บิดาของข้าพเจ้าชื่ออิน มารดาชื่อ
คล้าย ซึ่งเป็นชือ่ไทยแม้ๆ ข้าพเจ้าเห็นบิดาของข้าพเจ้าบวชใน
บวรพุทธศาสนา ไม่เคยเห็นไหว้เจ้า
เมื่อออกจากวัดแล้ว หลวงวิจิตรวาทการเริ่มเข้ารับราชการในกอง
การกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ ไม่เป็นการยากเลยสําหรับ
ท่าน ที่จะเป็นคนเด่นคนดีขึ้นมาในกอง ทั้งๆ ที่เป็นคนเข้ามาใหม่
บุคคลแรกที่ท่านไปยอมตัวเป็นสานุศิษย์ก็คือนายเวรผู้เฒ่านั่นเอง
แทนที่จะรอให้เขาจ่ายงานมาให้ หลวงวิจิตรวาทการไปของานเขา
ทํา ขอให้เขาสอนให้ เริ่มจากงานง่ายไปหางานยกขึ้นโดยลําดับ
หลวงวิจิตรวาทการทํางานเสร็จไปแล้วอย่างน้อยสองเรื่อง ชื่อของ
ท่านจึงได้สะดุดตาผู้ใหญ่ไปทุกวัน ทั้งๆ ที่เป็นเสมียนชั้นตํ่าที่สุด
• ภายหลังที่ได้ทํางานในกองการกงสุล กระทรวงการ
ต่างประเทศ เป็นเวลา 2 ปี หลวงวิจิตรวาทการได้มีโอกาส
ออกไปยุโรป ในตําแหน่งผู้ช่วยเลขานุการสถานทูตไทยประจํา
กรุงปารีส ท่านมีส่วนได้เปรียบคนอื่นๆ โดยที่เป็นคนรู้ภาษาไทย
ดีกว่าคนอื่นในสถานทูต ทําให้ท่านได้ทํางานอย่างกว้างขวาง จึง
ได้รับหน้าที่ตามเสด็จท่านราชทูตไปในการประชุมหรือในงาน
เจรจาทุกแห่ง และที่สําคัญต้องทํารายงานส่งเข้ามาในกรุงเทพฯ
เป็นภาษาไทย
• ในที่สุดหลวงวิจิตรวาทการก็ได้พบงานประจําสําหรับตัวท่าน
คืองานสันนิบาตชาติ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร ได้
ทรงเขียนไว้ที่หนึ่งว่า "การได้เข้าประชุม และทํางานสันนิบาตชาตินั้น
เท่ากับว่าได้ผ่านการศึกษาในมหาวัทยาลัยขั้นสูงสุด" หลวงวิจิตรวาท
การเห็นจะภูมิใจในตัวเอง ที่ผ่านการศึกษาในมหาวิทยาลัยสูงสุดมาแล้ว
5 ปี ท่านเป็นคนเขียนรายงานการประชุมตั้งแต่ต้นจนปลาย รายงานการ
ประชุมครั้งหนึ่งๆ เป็นหน้ากระดาษพิมพ์ดีดไม่น้อยกว่า 100 หน้า ท่าน
ร่างเอง และพิมพ์เอง
• หลวงวิจิตรวาทการรับราชการอยาในสถานทูตปารีส 6 ปีเต็ม
กระทรวงการต่างประเทศจึงได้สั่งย้ายท่านไปรับราชการในสถานทูต
ไทยที่กรุงลอนดอน ท่านอยู่ลอนดอนได้ไม่นาน ก็ได้ถูกเรียกกลับมารับ
ราชการในกรุงเทพฯ และตําแน่งที่หลวงวิจิตรวาทการได้รับในกรุงเทพฯ
ต่อจากนั้นมา ได้ช่วยให้ท่านเรียนรู้งานของกระทรวงการต่างประเทศ
อย่างทั่วถึง เพราะถูกโยกย้ายสับเปลี่ยนหน้าที่ไม่หยุดหย่อน ในปี พ.ศ.
2475 ท่านได้เป็นผู้ช่วยอธิบดีกรมการเมือง กระทรวงการต่างประเทศ
• อธิบดีกรมศิลปากร
เมื่อปี พ.ศ. 2477 หลวงวิจิตรวาทการ ได้ย้ายมาเป็นอธิบดีกรม
ศิลปากรเป็นคนแรก เมื่อเข้ารับตําแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร ท่านได้รับ
ความยากลําบากเป็นที่สุด เพราะท่านไม่ได้เกิดมาเป็นนักศิลปะ ท่านเกิด
ในกระทรวงการต่างประเทศ โดยไม่เคยเกี่ยวข้องกับงานศิลปากร มูลเหตุ
ที่ให้ท่านเข้าไปเป็นอธิบดีกรมศิลปากรนั้น ก็ดูเหมือนจะมีอย่างเดียวคือ
ในบรรดางานศิลปากรในเวลานั้น งานที่สําคัญที่สุดคืองานหอสมุด
แห่งชาติ ท่านชอบหนังสือ ชอบการค้นคว้า และแต่งหนังสืออยู่มากแล้ว
ผลที่รัฐบาลหวังจากท่านในเวลานั้นก็คือจะให้ท่านสร้างสรรค์งาน
หอสมุดให้ดีที่สุด
•
• แต่เมื่อเข้าไปถึง ก็ได้พบงานอีกหลายอย่างที่หลวงวิจิตร
วาทการไม่รู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคืองานสถาปัตยกรรม ช่างเขียน
ช่างปั้น และยิ่งกว่านั้น ก่อนท่านเข้าไปก็ได้มีกฎหมายระบุหน้าที่
กรมศิลปากรไว้ว่า ต้องรับผิดชอบในเรื่องงานละคร และดนตรี
ด้วย มีคนเข้าใจผิดเป็นอันมาก ว่าเรื่องละคร และดนตรีของกรม
ศิลปากรหรือโรงเรียนฟ้ อนรํา และดนตรีนั้น
• หลวงวิจิตรวาทการเป็นผู้คิดตั้งขึ้นด้วยความคิดริเริ่มของ
ท่านเอง ความจริงเรื่องโรงเรียนฟ้ อนรํา และดนตรี ที่เป็น
โรงเรียนศิลปากรอยู่เวลานี้ มีบัญญัติอยู่ในกฎหมายคือ พระราช
กฤษฎีกาแบ่งกองแบ่งแผนกสําหรับกรมศิลปากร ซึ่งได้
ประกาศใช้แล้วก่อนท่านเข้าไปเป็นอธิบดี หลวงวิจิตรวาทการ
ไม่ได้คิดอะไรใหม่ ไม่ได้มีแผนการโลดโผนอย่างหนึ่งอย่างใด
ท่านเข้าไปด้วยความเคารพต่อทุกสิ่งทุกอย่าง งานหอสมุดก็ดี
งานพิพิธภัณฑ์ก็ดี งานช่างก็ดี เจ้านายชั้นผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือ
ของชาวไทยทั่วไป ได้ทรงสร้างไว้ด้วยความเหนื่อยยาก
• เว้นแต่งานอันหนึ่ง ซึ่งได้ออกกฎหมายไว้ แต่ยังมิได้ลงมือ
ทํา คืองานละคร และดนตรี หลวงวิจิตรวาทการจะต้องทําใน
ฐานะงานใหม่ของท่าน ซึ่งท่านเองก็ไม่มีวิชาความรู้ในเรื่องนี้มา
ก่อน เคยสนใจในเรื่องละคร และดนตรีมาบ้างเมื่ออยู่ยุโรป แต่ก็
สนใจแต่เพียงดูเพื่อความสนุกบันเทิงเท่านั้น เมือ่จําต้องทําด้วย
ตัวเอง ก็ต้องค้นคว้าเล่าเรียนเอาเอง เป็นการเปลี่ยนชีวิตของท่าน
ท่านถูกความจําเป็นบังคับให้กลายเป็นนักศิลปะ ซึ่งไม่เคยนึกฝัน
มาแต่ก่อนว่าจะต้องเป็น ฯลฯ
• ถ้าหากหลวงวิจิตรวาทการได้สร้างความสําเร็จสิ่งหนึ่ง
สิ่งใดไว้ให้แก่กรมศิลปากร ก็เป็นเพราะเหตุอย่างเดียวคือ ท่าน
ไม่ได้รื้อของเก่า สิ่งไรที่มีอยู่เดิมแล้ว เช่น การหอสมุด และ
พิพิธภัณฑ์ ท่านได้ทําต่อไป หอสมุดวึ่งเดิมมีเพียงในกรุงเทพฯ
ท่านได้จัดการเปิดสาขาหอสมุดในต่างจังหวัด และสําเร็จไปได้
หลายสิบแห่ง งานพิธภัณฑ์ และโบราณคดี ก็ได้ทําไปโดยอาศัย
หลักเดิม แต่ได้ขยายให้มีผลไพศาลยิ่งขึ้น
•
• โดยเหตุดังว่านี้ หลวงวิจิตรวาทการจึงใคร่เสนอ
ข้อแนะนําแก่ผู้ที่ทํางาน โดยหวังจะขึ้นสู่ตําแหน่งหน้าที่เป็น
ผู้ใหญ่ว่า ความก้าวหน้าของกิจการทั้งหลายจะมีขึ้นได้ ก็โดย
ผู้รับหน้าที่ตําแหน่งต่อกันไปนั้น ได้ทํางานต่อไปจากที่คนเก่าเขา
ทําแล้ว และไม่ด่วนลงความเห็นว่าคนเก่าเขาทําไว้เหลวไหล ถ้า
ทุกคนที่เข้าไปรับตําแหน่งใหม่เริ่มงานกันใหม่ทั้งหมดแล้ว ก็ไม่
มีวันที่งานจะก้าวหน้าไปได้เลย
• ชาตินิยม
• ในระหว่างดํารงตําแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร รัฐบาลจอมพล ป.
พิบูลสงคราม เริ่มปลูกฝังลัทธิชาตินิยมให้ฟุ้ งเฟื่องอยู่ในหมู่
ประชาชน ด้วยการคิดคํานึงกันขึ้นในบรรดาผู้เป็นคนชั้นหัวหน้า
ปกครองว่าลัทธิชาตินิยมหรือลัทธิรักชาติลัทธิเดียว จะเป็นเครื่อง
ป้ องกันภัยอันตรายที่จะบังเกิดแก่ชาติได้ทุกทาง และพร้อมกันก็จะ
เป็นเครื่องมือสร้างชาติได้ดีกว่าเครื่องมืออย่างอื่น การจะปลูกฝัง
ลัทธิชาตินิยมได้โดยสะดวก และมีทางเข้าถึงประชาชนได้ง่ายมีอยู่
ทางหนึ่ง ดีกว่าทางอื่นๆ คือปลูกทางดนตรี และละคร อันเป็นงานที่
กรมศิลปากร
• แต่งงาน - ชีวิตครอบครัว
• ระหว่างดํารงตําแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร และเป็นรัฐมนตรีอยู่
นั้น หลวงวิจิตรวาทการได้แต่งงานกับนางสาวประภา (ภายหลังเปลี่ยน
ชื่อเป็นประภาพรรณ) รพิพันธุ์ อาจารย์โรงเรียนเบญจมราชาลัย บุตรี
ของขุนวรสาส์นดรุณกิจ เมือ่วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2479 เป็นการ
เริ่มชีวิตใหม่ที่เนื่องด้วยครอบครัว และความรัก หลวงวิจิตรวาทการเห็น
จะได้ชื่อว่าเป็นคนหวานต่อความรัก เป็นสามีที่ดีที่สุด และเมื่อมีลูกก็เป็น
พ่อที่ดีที่สุดของลูก ดังบทเสภาตอนหนึ่งที่หลวงวิจิตรวาทการแต่งขึ้น
เพื่อขับร้องในวันเกิดของคุณหญิง เมือ่วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2502
• เอกอัครราชทูตไทยประจํากรุงโตเกียว - อาชญากรสงคราม
• ชีวิตตอนสงคราม
ประเทศไทยต้องเข้าสงครามมหาเอเชียบูรพา หลวง
วิจิตรวาทการเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้มี
ส่วนรับผิดชอบในงาน "ประกาศสงคราม" ร่วมกับคณะรัฐบาล
ชุดนั้น พอเสร็จสงครามก็ต้องหาเป็นอาชญากรสงคราม
• เจ้าของประวัติเคยบอกว่า การประกาศสงครามที่ตนต้อง
รับผิดชอบอยู่ด้วยนั้น ช่วยให้สมบัติ และชีวิตของสัมพันธมิตร
พ้นจากการถูกญี่ปุ่ นยึดเอาไปเป็นทรัพย์เชลยได้เกือบหมด ตลอด
การสงคราม ไทยก็ได้ใช้ประโยชน์เหล่านี้ให้เกิดแก่สัมพันธมิตร
ตลอดมา และที่สําคัญที่สุดประเทศไทยรอดตัวมาได้จากการถูก
ยึดเป็นเมืองขึ้นของทั้งสองฝ่ าย
• หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ข้าพเจ้าต้องหาฐานอาชญากรสงคราม
และถูกเจ้าหน้าที่ในกองทัพบกอเมริกัน ที่กรุงโตเกียวจับตัวไป
คุมขัง ตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2488 ภายหลังได้ถูกส่งตัว
เข้ากรุงเทพฯ ถูกขังอยู่ที่สันติบาล และที่เรือนลหุโทษ จนถึงวันที่
23 มีนาคม 2489 ศาลฎีกาจึงได้พิพากษาว่าพระราชบัญญัติ
อาชญากรโมฆะ และได้ปล่อยตัวผู้ต้องหาทั้งหมด"
• ชีวิตของผู้มีวิริยะมานะกล้าในการทําความดีได้ดับไปแล้ว แต่
ชีวิตที่ประกอบความดีมานั้น ย่อมมีธรรมคุ้มครอง ตราประจํา
ตระกูลคือ "ดวงประทีปในเรือนแก้ว" จึงมิได้ดับไปตามชีวิตนั้น
แต่ยังคงส่งประกายสว่างไสวต่อไปชั่วกาลนาน..
หลวงวิจิตรวาทการ
หลวงวิจิตรวาทการ

More Related Content

Viewers also liked

อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้ง
อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้งอาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้ง
อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้ง
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Catalogue everlife f:w 13 (2)
Catalogue everlife f:w 13 (2) Catalogue everlife f:w 13 (2)
Catalogue everlife f:w 13 (2)
everlifeFW13
 
ประดิษฐ์ดอกไม้ด้วยผ้า
ประดิษฐ์ดอกไม้ด้วยผ้าประดิษฐ์ดอกไม้ด้วยผ้า
ประดิษฐ์ดอกไม้ด้วยผ้า
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์
บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์
บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สาตร์ตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
สาตร์ตราจารย์ศิลป์  พีระศรีสาตร์ตราจารย์ศิลป์  พีระศรี
สาตร์ตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Everlife Homme catalogue ete 2013 2
Everlife Homme catalogue ete 2013 2Everlife Homme catalogue ete 2013 2
Everlife Homme catalogue ete 2013 2
everlifeFW13
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Viewers also liked (15)

ประเทศเคนย่า
ประเทศเคนย่าประเทศเคนย่า
ประเทศเคนย่า
 
อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้ง
อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้งอาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้ง
อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้ง
 
พันธิวา หารัญดา 5/4
พันธิวา หารัญดา 5/4พันธิวา หารัญดา 5/4
พันธิวา หารัญดา 5/4
 
หลวงประดิษฐ์ไพเราะ
หลวงประดิษฐ์ไพเราะหลวงประดิษฐ์ไพเราะ
หลวงประดิษฐ์ไพเราะ
 
จังหวัดกรุงเทพ
จังหวัดกรุงเทพจังหวัดกรุงเทพ
จังหวัดกรุงเทพ
 
Catalogue everlife f:w 13 (2)
Catalogue everlife f:w 13 (2) Catalogue everlife f:w 13 (2)
Catalogue everlife f:w 13 (2)
 
ประดิษฐ์ดอกไม้ด้วยผ้า
ประดิษฐ์ดอกไม้ด้วยผ้าประดิษฐ์ดอกไม้ด้วยผ้า
ประดิษฐ์ดอกไม้ด้วยผ้า
 
ศรัณยา ไกรทอง 504
ศรัณยา ไกรทอง 504ศรัณยา ไกรทอง 504
ศรัณยา ไกรทอง 504
 
บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์
บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์
บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์
 
สาตร์ตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
สาตร์ตราจารย์ศิลป์  พีระศรีสาตร์ตราจารย์ศิลป์  พีระศรี
สาตร์ตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
 
Everlife Homme catalogue ete 2013 2
Everlife Homme catalogue ete 2013 2Everlife Homme catalogue ete 2013 2
Everlife Homme catalogue ete 2013 2
 
Engagement par la preuve
Engagement par la preuveEngagement par la preuve
Engagement par la preuve
 
ตรุกี
ตรุกีตรุกี
ตรุกี
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
Powerpoint 25 ans idée 53 - 1 - présentation d'Idée 53
Powerpoint 25 ans idée 53 - 1 - présentation d'Idée 53Powerpoint 25 ans idée 53 - 1 - présentation d'Idée 53
Powerpoint 25 ans idée 53 - 1 - présentation d'Idée 53
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

หลวงวิจิตรวาทการ

  • 3. ประวัติชีวิตตอนต้น หลวงวิจิตรวาทการ เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11 สิงหาคม พุทธศักราช 2441 เจ้าของประวัติบันทึก ไว้ว่า "ข้าพเจ้าเกิดบนแพ ริมแม่นํ้าสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี เมื่อรู้ความ เห็นบิดามารดาของ ข้าพเจ้ามีเรือพายม้าลําหนึ่ง แม่แจวหัว และพ่อแจว ท้าย พวกข้าพเจ้าเป็นพวกมีลูกมาก แม่ของข้าพเจ้า มีลูกถึง 8 คน"
  • 4. • ผลงานเพลงของหลวงวิจิตรวาทการมากมายหลายเพลงที่เป็นที่น่าสนใจและหนึ่ง ในนั้นก็คือ "เพลงแหลมทอง" เพลงแหลมทอง • แหลมทองไทยครอบครองเป็นแดนไทย รักกันไว้พวกเราไทยในแดนทอง แหลมทองไทยเข้าครองเป็นแดนไทย แล้วแยกย้ายแตกกันเป็นสาขา ไทยสยามอยู่แม่นํ้าเจ้าพระยา และปิงวังยมมนาน่านนที (สร้อย) โขงสาครไทยก็จองครองแผ่นดิน สาละวินไทยใหญ่อยู่เป็นที่ ไทยอิสลามอยู่ลํานํ้าตานี
  • 5. "แม่ของข้าพเจ้าถึงแก่กรรมตั้งแต่ตัวข้าพเจ้ายังเล็ก ข้าพเจ้าเริ่ม ลําดับความต่างๆ ได้ตั้งแต่อายุ 5 ขวบ จําได้ว่าพ่อเคยเขียน ก. ข. ใส่กระดานชนวนไว้ให้ในเวลากลางคืน และพอ 4 นาฬิกา ก็ต้อง แจวเรือไปค้าขายสองคนกับแม่ เวลานอนก็นอนกับย่า ซึ่งเป็นคน จดจํานิยายต่างๆ ไว้ได้มาก และเล่าให้ฟังเสมอ จนกระทั่งเรื่อง สังข์ทอง เรื่องรามเกียรติ์ เรื่องอิเหนา เรื่องพระอภัยมณี และ เรื่องขุนช้างขุนแผนเหล่านี้ อยู่ในสมองของข้าพเจ้าหมดก่อนที่ จะลงมืออ่านได้เอง
  • 6. มีคนพูดกันแต่เดิมว่า หลวงวิจิตรวาทการ มีเชื้อสายเป็นจีน เพราะชื่อ "กิมเหลียง" ซึ่งเป็นชื่อเดิม ข้อนี้ตามเอกสารของ หลวงวิจิตรวาทการยืนยันไว้เองว่า "มีประเพณีพิเศษอยู่อย่าง หนึ่งในจังหวัดอุทัยธานีเวลานั้น คือ บิดามารดามีชื่อเป็นไทย แท้ๆ แต่ลูกต้องมีชื่อเป็นจีน บิดาของข้าพเจ้าชื่ออิน มารดาชื่อ คล้าย ซึ่งเป็นชือ่ไทยแม้ๆ ข้าพเจ้าเห็นบิดาของข้าพเจ้าบวชใน บวรพุทธศาสนา ไม่เคยเห็นไหว้เจ้า
  • 7. เมื่อออกจากวัดแล้ว หลวงวิจิตรวาทการเริ่มเข้ารับราชการในกอง การกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ ไม่เป็นการยากเลยสําหรับ ท่าน ที่จะเป็นคนเด่นคนดีขึ้นมาในกอง ทั้งๆ ที่เป็นคนเข้ามาใหม่ บุคคลแรกที่ท่านไปยอมตัวเป็นสานุศิษย์ก็คือนายเวรผู้เฒ่านั่นเอง แทนที่จะรอให้เขาจ่ายงานมาให้ หลวงวิจิตรวาทการไปของานเขา ทํา ขอให้เขาสอนให้ เริ่มจากงานง่ายไปหางานยกขึ้นโดยลําดับ หลวงวิจิตรวาทการทํางานเสร็จไปแล้วอย่างน้อยสองเรื่อง ชื่อของ ท่านจึงได้สะดุดตาผู้ใหญ่ไปทุกวัน ทั้งๆ ที่เป็นเสมียนชั้นตํ่าที่สุด
  • 8. • ภายหลังที่ได้ทํางานในกองการกงสุล กระทรวงการ ต่างประเทศ เป็นเวลา 2 ปี หลวงวิจิตรวาทการได้มีโอกาส ออกไปยุโรป ในตําแหน่งผู้ช่วยเลขานุการสถานทูตไทยประจํา กรุงปารีส ท่านมีส่วนได้เปรียบคนอื่นๆ โดยที่เป็นคนรู้ภาษาไทย ดีกว่าคนอื่นในสถานทูต ทําให้ท่านได้ทํางานอย่างกว้างขวาง จึง ได้รับหน้าที่ตามเสด็จท่านราชทูตไปในการประชุมหรือในงาน เจรจาทุกแห่ง และที่สําคัญต้องทํารายงานส่งเข้ามาในกรุงเทพฯ เป็นภาษาไทย
  • 9. • ในที่สุดหลวงวิจิตรวาทการก็ได้พบงานประจําสําหรับตัวท่าน คืองานสันนิบาตชาติ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร ได้ ทรงเขียนไว้ที่หนึ่งว่า "การได้เข้าประชุม และทํางานสันนิบาตชาตินั้น เท่ากับว่าได้ผ่านการศึกษาในมหาวัทยาลัยขั้นสูงสุด" หลวงวิจิตรวาท การเห็นจะภูมิใจในตัวเอง ที่ผ่านการศึกษาในมหาวิทยาลัยสูงสุดมาแล้ว 5 ปี ท่านเป็นคนเขียนรายงานการประชุมตั้งแต่ต้นจนปลาย รายงานการ ประชุมครั้งหนึ่งๆ เป็นหน้ากระดาษพิมพ์ดีดไม่น้อยกว่า 100 หน้า ท่าน ร่างเอง และพิมพ์เอง
  • 10. • หลวงวิจิตรวาทการรับราชการอยาในสถานทูตปารีส 6 ปีเต็ม กระทรวงการต่างประเทศจึงได้สั่งย้ายท่านไปรับราชการในสถานทูต ไทยที่กรุงลอนดอน ท่านอยู่ลอนดอนได้ไม่นาน ก็ได้ถูกเรียกกลับมารับ ราชการในกรุงเทพฯ และตําแน่งที่หลวงวิจิตรวาทการได้รับในกรุงเทพฯ ต่อจากนั้นมา ได้ช่วยให้ท่านเรียนรู้งานของกระทรวงการต่างประเทศ อย่างทั่วถึง เพราะถูกโยกย้ายสับเปลี่ยนหน้าที่ไม่หยุดหย่อน ในปี พ.ศ. 2475 ท่านได้เป็นผู้ช่วยอธิบดีกรมการเมือง กระทรวงการต่างประเทศ
  • 11. • อธิบดีกรมศิลปากร เมื่อปี พ.ศ. 2477 หลวงวิจิตรวาทการ ได้ย้ายมาเป็นอธิบดีกรม ศิลปากรเป็นคนแรก เมื่อเข้ารับตําแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร ท่านได้รับ ความยากลําบากเป็นที่สุด เพราะท่านไม่ได้เกิดมาเป็นนักศิลปะ ท่านเกิด ในกระทรวงการต่างประเทศ โดยไม่เคยเกี่ยวข้องกับงานศิลปากร มูลเหตุ ที่ให้ท่านเข้าไปเป็นอธิบดีกรมศิลปากรนั้น ก็ดูเหมือนจะมีอย่างเดียวคือ ในบรรดางานศิลปากรในเวลานั้น งานที่สําคัญที่สุดคืองานหอสมุด แห่งชาติ ท่านชอบหนังสือ ชอบการค้นคว้า และแต่งหนังสืออยู่มากแล้ว ผลที่รัฐบาลหวังจากท่านในเวลานั้นก็คือจะให้ท่านสร้างสรรค์งาน หอสมุดให้ดีที่สุด •
  • 12. • แต่เมื่อเข้าไปถึง ก็ได้พบงานอีกหลายอย่างที่หลวงวิจิตร วาทการไม่รู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคืองานสถาปัตยกรรม ช่างเขียน ช่างปั้น และยิ่งกว่านั้น ก่อนท่านเข้าไปก็ได้มีกฎหมายระบุหน้าที่ กรมศิลปากรไว้ว่า ต้องรับผิดชอบในเรื่องงานละคร และดนตรี ด้วย มีคนเข้าใจผิดเป็นอันมาก ว่าเรื่องละคร และดนตรีของกรม ศิลปากรหรือโรงเรียนฟ้ อนรํา และดนตรีนั้น
  • 13. • หลวงวิจิตรวาทการเป็นผู้คิดตั้งขึ้นด้วยความคิดริเริ่มของ ท่านเอง ความจริงเรื่องโรงเรียนฟ้ อนรํา และดนตรี ที่เป็น โรงเรียนศิลปากรอยู่เวลานี้ มีบัญญัติอยู่ในกฎหมายคือ พระราช กฤษฎีกาแบ่งกองแบ่งแผนกสําหรับกรมศิลปากร ซึ่งได้ ประกาศใช้แล้วก่อนท่านเข้าไปเป็นอธิบดี หลวงวิจิตรวาทการ ไม่ได้คิดอะไรใหม่ ไม่ได้มีแผนการโลดโผนอย่างหนึ่งอย่างใด ท่านเข้าไปด้วยความเคารพต่อทุกสิ่งทุกอย่าง งานหอสมุดก็ดี งานพิพิธภัณฑ์ก็ดี งานช่างก็ดี เจ้านายชั้นผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือ ของชาวไทยทั่วไป ได้ทรงสร้างไว้ด้วยความเหนื่อยยาก
  • 14. • เว้นแต่งานอันหนึ่ง ซึ่งได้ออกกฎหมายไว้ แต่ยังมิได้ลงมือ ทํา คืองานละคร และดนตรี หลวงวิจิตรวาทการจะต้องทําใน ฐานะงานใหม่ของท่าน ซึ่งท่านเองก็ไม่มีวิชาความรู้ในเรื่องนี้มา ก่อน เคยสนใจในเรื่องละคร และดนตรีมาบ้างเมื่ออยู่ยุโรป แต่ก็ สนใจแต่เพียงดูเพื่อความสนุกบันเทิงเท่านั้น เมือ่จําต้องทําด้วย ตัวเอง ก็ต้องค้นคว้าเล่าเรียนเอาเอง เป็นการเปลี่ยนชีวิตของท่าน ท่านถูกความจําเป็นบังคับให้กลายเป็นนักศิลปะ ซึ่งไม่เคยนึกฝัน มาแต่ก่อนว่าจะต้องเป็น ฯลฯ
  • 15. • ถ้าหากหลวงวิจิตรวาทการได้สร้างความสําเร็จสิ่งหนึ่ง สิ่งใดไว้ให้แก่กรมศิลปากร ก็เป็นเพราะเหตุอย่างเดียวคือ ท่าน ไม่ได้รื้อของเก่า สิ่งไรที่มีอยู่เดิมแล้ว เช่น การหอสมุด และ พิพิธภัณฑ์ ท่านได้ทําต่อไป หอสมุดวึ่งเดิมมีเพียงในกรุงเทพฯ ท่านได้จัดการเปิดสาขาหอสมุดในต่างจังหวัด และสําเร็จไปได้ หลายสิบแห่ง งานพิธภัณฑ์ และโบราณคดี ก็ได้ทําไปโดยอาศัย หลักเดิม แต่ได้ขยายให้มีผลไพศาลยิ่งขึ้น •
  • 16. • โดยเหตุดังว่านี้ หลวงวิจิตรวาทการจึงใคร่เสนอ ข้อแนะนําแก่ผู้ที่ทํางาน โดยหวังจะขึ้นสู่ตําแหน่งหน้าที่เป็น ผู้ใหญ่ว่า ความก้าวหน้าของกิจการทั้งหลายจะมีขึ้นได้ ก็โดย ผู้รับหน้าที่ตําแหน่งต่อกันไปนั้น ได้ทํางานต่อไปจากที่คนเก่าเขา ทําแล้ว และไม่ด่วนลงความเห็นว่าคนเก่าเขาทําไว้เหลวไหล ถ้า ทุกคนที่เข้าไปรับตําแหน่งใหม่เริ่มงานกันใหม่ทั้งหมดแล้ว ก็ไม่ มีวันที่งานจะก้าวหน้าไปได้เลย
  • 17. • ชาตินิยม • ในระหว่างดํารงตําแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เริ่มปลูกฝังลัทธิชาตินิยมให้ฟุ้ งเฟื่องอยู่ในหมู่ ประชาชน ด้วยการคิดคํานึงกันขึ้นในบรรดาผู้เป็นคนชั้นหัวหน้า ปกครองว่าลัทธิชาตินิยมหรือลัทธิรักชาติลัทธิเดียว จะเป็นเครื่อง ป้ องกันภัยอันตรายที่จะบังเกิดแก่ชาติได้ทุกทาง และพร้อมกันก็จะ เป็นเครื่องมือสร้างชาติได้ดีกว่าเครื่องมืออย่างอื่น การจะปลูกฝัง ลัทธิชาตินิยมได้โดยสะดวก และมีทางเข้าถึงประชาชนได้ง่ายมีอยู่ ทางหนึ่ง ดีกว่าทางอื่นๆ คือปลูกทางดนตรี และละคร อันเป็นงานที่ กรมศิลปากร
  • 18. • แต่งงาน - ชีวิตครอบครัว • ระหว่างดํารงตําแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร และเป็นรัฐมนตรีอยู่ นั้น หลวงวิจิตรวาทการได้แต่งงานกับนางสาวประภา (ภายหลังเปลี่ยน ชื่อเป็นประภาพรรณ) รพิพันธุ์ อาจารย์โรงเรียนเบญจมราชาลัย บุตรี ของขุนวรสาส์นดรุณกิจ เมือ่วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2479 เป็นการ เริ่มชีวิตใหม่ที่เนื่องด้วยครอบครัว และความรัก หลวงวิจิตรวาทการเห็น จะได้ชื่อว่าเป็นคนหวานต่อความรัก เป็นสามีที่ดีที่สุด และเมื่อมีลูกก็เป็น พ่อที่ดีที่สุดของลูก ดังบทเสภาตอนหนึ่งที่หลวงวิจิตรวาทการแต่งขึ้น เพื่อขับร้องในวันเกิดของคุณหญิง เมือ่วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2502
  • 19. • เอกอัครราชทูตไทยประจํากรุงโตเกียว - อาชญากรสงคราม • ชีวิตตอนสงคราม ประเทศไทยต้องเข้าสงครามมหาเอเชียบูรพา หลวง วิจิตรวาทการเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้มี ส่วนรับผิดชอบในงาน "ประกาศสงคราม" ร่วมกับคณะรัฐบาล ชุดนั้น พอเสร็จสงครามก็ต้องหาเป็นอาชญากรสงคราม
  • 20. • เจ้าของประวัติเคยบอกว่า การประกาศสงครามที่ตนต้อง รับผิดชอบอยู่ด้วยนั้น ช่วยให้สมบัติ และชีวิตของสัมพันธมิตร พ้นจากการถูกญี่ปุ่ นยึดเอาไปเป็นทรัพย์เชลยได้เกือบหมด ตลอด การสงคราม ไทยก็ได้ใช้ประโยชน์เหล่านี้ให้เกิดแก่สัมพันธมิตร ตลอดมา และที่สําคัญที่สุดประเทศไทยรอดตัวมาได้จากการถูก ยึดเป็นเมืองขึ้นของทั้งสองฝ่ าย
  • 21. • หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ข้าพเจ้าต้องหาฐานอาชญากรสงคราม และถูกเจ้าหน้าที่ในกองทัพบกอเมริกัน ที่กรุงโตเกียวจับตัวไป คุมขัง ตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2488 ภายหลังได้ถูกส่งตัว เข้ากรุงเทพฯ ถูกขังอยู่ที่สันติบาล และที่เรือนลหุโทษ จนถึงวันที่ 23 มีนาคม 2489 ศาลฎีกาจึงได้พิพากษาว่าพระราชบัญญัติ อาชญากรโมฆะ และได้ปล่อยตัวผู้ต้องหาทั้งหมด"
  • 22.
  • 23.
  • 24. • ชีวิตของผู้มีวิริยะมานะกล้าในการทําความดีได้ดับไปแล้ว แต่ ชีวิตที่ประกอบความดีมานั้น ย่อมมีธรรมคุ้มครอง ตราประจํา ตระกูลคือ "ดวงประทีปในเรือนแก้ว" จึงมิได้ดับไปตามชีวิตนั้น แต่ยังคงส่งประกายสว่างไสวต่อไปชั่วกาลนาน..