SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
ประกอบรายวิชา IS1 โดย นางสาวณัฎฐณิชา บุญมาวงษา
เลขที่ 6 ห้อง ม.5/1
คานา
ประเทศภูฏานมีสิ่งที่น่าสนใจมากมายมีทั้งสถานที่
ท่องเที่ยวชุดประประจาชาติและย้งมีอาหารและ
ความหมายของชาติ สกุลเงิน ต้นไม้และดอกไม้และยังมี
สถานที่ท่องเที่ยวและวัฒนธรรมประเพณีที่สวยงามใน
ประเทศภูฏาน
จัดทาโดย
นางสาวณัฎฐณิชา บุญมาวงษา ม.5/1 เลขที่ 6
สารบัญ
เนื้อหา หน้าที่
ประวัติประเทศภูฏาน 3
ความเป็นมาประเทศภูฏาน 5
ความหมายของธงชาติภูฏาน 7
ดอกไม้และต้นไม้ประจาชาติภูฏาน 8
เครื่องแต่งกายประจาชาติ 9
อาหารประจาชาติภูฏาน 10
สกุลเงินของภูฏาน 11
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศภูฏาน 12
ประเพณีและวัฒนธรรมในประเทศภูฏาน 15
บรรณานุกรม 20
ในปี พ.ศ. 2173 ดรุกปา ลามะ ลี้ภัยจากทิเบตสู่
ภูฏาน ต่อมาได้ตั้งตัวขึ้นเป็น ธรรมราชา ปกครองครอง
ดินแดนด้วยระบบศาสนเทวราช มีคณะรัฐมนตรีช่วย 4
ตาแหน่ง แม้ภูฏานจะพยายามแยกตัวอยู่อย่างโดดเดี่ยว
แต่ต่อมาก็ถูกรุกรานจากประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะ
ทิเบตอยู่หลายครั้งในช่วงพุทธศตวรรษที่ 22 ถึง 23 ใน
ระยะต่อมาก็ยังถูกรุกรานโดยอังกฤษซึ่งมีอานาจอยู่ใน
อินเดียก่อนที่จะได้เจรจาสงบศึกกันในปี พ.ศ. 2453
ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศคือ Druk Yul แปลว่า
"ดินแดนของมังกรสายฟ้า (Land of the Thunder
Dragon)" นอกจากนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Druk
Tsendhen และชื่อเพลงชาติ เนื่องจากที่ภูฏาน เสียง
สายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของมังกร ส่วนชื่อ ภูฏาน
(Bhutan) มาจากคาสมาสในภาษาบาลี ภู-อุฏฺฏาน อันมี
ความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง" (ในภาษาฮินดี สะกด
भूटान ถอดเป็นตัวอักษรคือ ภูฏาน)
ประวัติประเทศภูฏาน
ภูฎานอาจมาจากรากศัพท์ภาษาสันสกฤตว่า โภ-ฏาน
หมายถึง ปลายสุดของทิเบต หรือมาจากคาว่า ภู-อัฏฏาน
แปลว่า ดินแดนบนที่สูง และบ้างก็อ้างว่านักสารวจ
ชาวตะวันตกยุคโบราณเรียกดินแดนแถบนี้ว่า โภ-ฏัน
หมายถึง ดินแดนคนโภเทียส หรือ คนที่มาจากภูสูงทิเบต
ชื่อเหล่านี้อาจจะถูกกัดกร่อนควบกล้ามาเป็น ภูฏาน หรือ
บุทัน ในที่สุดภูฏานมีเนื้อที่ประมาณ 46,500 ตาราง
กิโลเมตร หรือเท่ากับพื้นที่ของ 6 จังหวัดเหนือสุดของ
ประเทศไทย คือ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน น่าน
ลาปาง และแพร่ รวมกัน ชนชาติประเทศภูฏาน
ภูฏาน ประกอบด้วยชนชาติ 3 เชื้อชาติใหญ่ คือ ชาชฮอป
คนพื้นเมืองเดิม ส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออก
งาลอป ชนเชื้อสายทิเบต ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคตะวันตก
ลาร์ทเชมส์ ชนเชื้อสายเนปาล อยู่ทางใต้เป็นพวกที่
อพยพมาเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ผ่านมา
นอกจากนี้ยังมีชนชาติอื่นๆ อีกหลายชนเผ่า มีภาษาแยก
ย่อยออกไปอีกราว 19 ภาษา
ตามตานานเล่าว่า ขณะที่ Tsangpa Gyare Yeshe
Diorje (ค.ศ.1161-1211) กาลังประกอบพิธีสถาปนาวัดลา
มะแห่งหนึ่งในทิเบตกลาง ท่านได้ยินเสียงร้องซึ่งเชื่อกัน
ว่าเป็นเสียงของมังกร จึงได้ให้ชื่อวัดแห่งนี้ว่า
"Druk"(มังกร) และให้นามสานักที่ท่านตั้งขึ้นว่า
"Drukpa" ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศภูฎานคือ Druk
Yul (อ่านว่า ดรุก ยุล) แปลว่า "ดินแดนของมังกรสายฟ้า
(Land of the Thunder Dragon)นอกจากนี้ภูฎานยังเรียก
อีกอย่างหนึ่งว่า Druk Tsendhenเนื่องจากที่ภูฏานเสียง
สายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของมังกร ส่วนชื่อ ภูฏาน
(Bhutan) มาจากคาสมาสในภาษาสันสกฤต ภู-อุฏฺฏาน
อันมีความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง“
ธงชาติภูฏาน ท่านมายุม โชยิง วังโม โดร์จี ได้คิด
ประดิษฐ์ธงชาติภูฏานขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1947 และในปี ค.ศ.
1956 ก็ได้ปรับเปลี่ยนธงใหม่จนมีรูปลักษณ์ดังเช่นใน
ปัจจุบัน
ความเป็นมาประเทศภูฏาน
ธงชาติภูฏาน มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมพื้นผ้ากว้าง 2
ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นสองส่วนตามแนวทแยง
มุม จากมุมธงด้านปลายธงบนมายังมุมธงด้านต้นธงล่าง
ครึ่งบนเป็นพื้นสีเหลือง ครึ่งล่างเป็นพื้นสีส้มกลางธง
ระหว่างเส้นทแยงมุมมีรูปมังกรสายฟ้าสีขาวหรือดรุก
หันหน้าไปทางด้านปลายธง ต้นแบบของธงนี้เริ่มใช้
ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 ก่อนจะเปลี่ยนแปลงมาเป็นธง
รูปแบบปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2512
ตราแผ่นดินภูฏาน ตราแผ่นดินของภูฏานเป็นรูปวงกลม
ทาเป็นรูปดอกบัวรองรับวัชระและดวงแก้ว สองข้าง
ขนาบด้วยมังกรสองตัว วัชระเป็นสัญลักษณ์แทนสมดุล
ทางอานาจระหว่างศาสนจักรและอาณาจักร ซึ่งอุบัติขึ้น
ได้เพราะมีพุทธศาสนาสายวัชรยานคอยค้าจุน ดอกบัว
เป็นตัวแทนของความบริสุทธิ์ดีงาม ดวงแก้ว หมายถึง
พระราชอานาจอันเปี่ยมล้นของพระมหากษัตริย์มังกรคู่
(ตัวผู้กับตัวเมีย) เป็นที่มาของชื่อดรุ๊กยุล (แผ่นดินมังกร
สายฟ้า) ซึ่งเป็นชื่อของประเทศภูฏานในภาษาซงคา
ธงชาติในอดีต
พ.ศ. 2492 - 2499
พ.ศ. 2499 - 2512
ความหมายของธงชาติของภูฏานมีดังนี้
สีเหลือง ครึ่งบนของธงชาติ หมายถึง พระราชอานาจ
แห่งพระมหากษัตริย์เป็นสีที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรือง
ทั้งทางโลกและทางธรรม
สีส้ม ครึ่งล่างของธงชาติ หมายถึง การปฏิบัติธรรมและ
ความเสื่อมใสและศรัทธาของชาวภูฏานที่มีต่อศาสนา
พุทธ
มังกร ที่อยู่ตรงกลางของธงชาติ หมายถึง ประเทศดรุก
ยุล มีความหมายว่าดินแดนแห่งมังกรสายฟ้า ซึ่งเป็นชื่อ
ของประเทศภูฏานในภาษาฌงฆะ ตัวมังกรมีสีขาว
บริสุทธิ์ แสดงออกถึงความจงรักภักดีของคนทุกเชื้อชาติ
ทุกภาษาที่อยู่ในประเทศนี้ ท่าทีที่มังกรกาลังอ้าปาก
คารามนั้น สื่อถึงความมีอานาจน่าเกรงขามของเหล่าพระ
ผู้เป็นเจ้าทั้งชายและหญิงที่ปกป้องภูฏาน
ความหมายของธงชาติภูฏาน
ดอกป๊ อปปี้สีฟ้า
เป็นดอกไม้ป่าที่พบตามเขตภูเขาสูงกว่า
ระดับน้าทะเล 1,000 เมตรขึ้นไป ออกดอกปีละครั้ง
ตอนต้นฤดูมรสุม (ระหว่างปลายเดือนพฤษภาคม-
กรกฎาคม) เมื่อออกดอกให้เมล็ดแล้วต้นจะตายไป เมล็ด
ดอกป๊อปปี้ สีฟ้ามีน้ามันมาก ถิ่นที่พบอยู่ในบริเวณทิศ
ตะวันออกของภูฏานไปจนทิศตะวันตกของภูฏาน
ต้นไม้ประจาชาติภูฏาน
ต้นสนไซปรัส นิยมปลูกอยู่ตามวัดต่างๆ จานวนมาก
เพราะต้นสนไซปรัส เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นตรงดูสง่างาม
เข้มแข็งแต่อ่อนน้อม และเป็นต้นไม้ที่เจริญงอกงามได้
ทุกสภาพอากาศ ชาวภูฏานได้ชื่อว่าซื่อตรงและแข็งแกร่ง
เฉกเช่นเดียวกับสนไซปรัส ที่ยืนหยัดและงอกงามได้แม้
ในดินที่หาความอุดมสมบูรณ์ไม่ได้เลย
ดอกไม้และต้นไม้ประจาชาติภูฏาน
เครื่องแต่งกายประจาชาติ
เครื่องแต่งกายประจาชาติของชาวภูฏานสาหรับ
ผู้ชายก็คือ "โฆ" (Gho) มีความเป็นมาย้อนหลังไปได้ถึง
ราวศตวรรษที่ 17 เป็นเสื้อตัวหลวมใหญ่มีลวดลาย
พื้นเมืองตัวยาวถึงเข่าผู้ชายภูฏานจะสวมใส่ชุดโฆกัน
ทั่วไป โดยพันเฉียงจากไหล่ซ้ายมายังลาตัวด้านขวา
ผ้าแถบดังกล่าวนี้ยังใช้บอกสถานะของบุคคลด้วย เช่น
พระมหากษัตริย์และพระสังฆราชจะทรงผ้าสีเหลืองที่
ย้อมจากหญ้าฝรั่น (Saffron) ผ้าสีแดงสาหรับพระ
ราชวงศ์ ผ้าสีส้มสาหรับรัฐมนตรี ผ้าสีเขียวสาหรับผู้
พิพากษา ส่วนสามัญชนจะใช้ผ้าสีขาว
ส่วนเครื่องแต่งกายสาหรับผู้หญิงจะเรียกว่า คีรา (Khira)
เป็นผ้าทอพื้นเมืองขนาดประมาณ 2.5x1.5 เมตร นามา
ยึดติดกันด้วยเข็มกลัดเงิน จากนั้นจึงใช้พันรอบตัวให้
คลุมถึงข้อเท้า รัดด้วยเข็มขัด สวมทับด้วยเสื้อตัวนอกที่
เรียกว่า วงชู (Wonju) อีกทีหนึ่ง
เครื่องแต่งกายประจาชาติ
อาหารประจาชาติภูฏาน
อาหารพื้นบ้านเป็นอาหารเรียบง่าย อาหารหลักเป็น
ทั้งข้าว บะหมี่ ข้าวโพด ยังนิยมเคี้ยวหมากอยู่อาหาร
ส่วนใหญ่ประกอบด้วยพริก ผักและมันหมู อาหาร
ประจาชาติคือ เอมาดัทชิ (Ema Datshi) : เป็นอาหาร
ประจาชาติภูฏาน ที่ผสมพริกกับชีสพื้นเมืองแสนอร่อย
รู้จักในชื่อ ดัทชิ อันเป็นอาหารจานหลักเกือบทุกมื้อ และ
สามารถพบเจอได้ทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ความแตกต่าง
ของเอมา ดัทชิ ในแต่ละพื้นที่นั้นขึ้นอยู่กับการใส่ ถั่ว
แขก, เฟิร์น, มันฝรั่ง, เห็ดหรือเปลี่ยนชีสธรรมดาเป็นชีส
จากนมจามรี
โมโมส (Momos) : นี่เป็นเกี๊ยวในแบบฉบับภูฏาน ใส่ไส้
หมู, เนื้อ หรือกระหล่าปลี และชีส มักรับประทานกันใน
โอกาสพิเศษ เป็นรสชาติดั้งเดิมที่ชาวภูฏานโปรดปราน
อาหารประจาชาติภูฏาน
เอมาดัทชิ (Ema Datshi)
โมโมส (Momos)
สกุลเงินของภูฏาน คือ งุลตรัม (BTN) ซึ่งผูกค่าเงิน
เป็นอัตราคงที่กับรูปีอินเดีย ซึ่งประมาณ 40 รูปี ต่อ 1
USD และเงินรูปียังสามารถใช้ชาระหนี้ได้ตามกฎหมาย
อีกด้วยเศรษฐกิจ ของภูฏานแม้ว่าภูฏานจะเป็นหนึ่งใน
ประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดเล็กที่สุดในโลก แต่ก็มีอัตรา
การเติบโตที่สูงมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ในปี 2007
ภูฏานเป็นประเทศที่มีอัตราเติบโตสูงเป็นอันดับสองของ
โลกโดยมีอัตราการเติบโต ทางเศรษฐกิจสูงถึงร้อยละ
22.4 ซึ่งเป็นผลจากการเริ่มใช้เขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าทา
ลารายได้หลักของประเทศ มากกว่าร้อยละ 33 ของจีดีพี
มาจากการเกษตร และประชากรกว่าร้อยละ 70 มีวิถีชีวิต
ขึ้นอยู่กับผลิตผลทางการเกษตรด้วย สินค้าส่งออกสาคัญ
คือไฟฟ้าจากพลังงานน้า ซึ่งส่งออกไปยังอินเดียประเทศ
ภูฏาน เป็นประเทศที่ประกาศว่า จะไม่สนใจ GDP (GDP
- Gross Domestic Product หรือ ผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภายในประเทศ) แต่จะสนใจ GDH แทน (GDH Gross
Domestic Happiness หรือ ความสุขรวมภายในประเทศ)
สกุลเงินของภูฏาน
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศภูฏาน
ภูฏานเป็นประเทศที่มีสถานที่ท่องเที่ยวสวยงาม
มากมาย โดยเฉพาะสถาปัตยกรรมการก่อสร้างวัดและ
อาคารบ้านเรือนต่างๆ และสถานที่ท่องเที่ยวทาง
ธรรมชาติที่มีฉากหลังเป็นเทือกเขาหิมาลัย เมืองที่มี
สถานที่ท่องเที่ยวหลักๆ ตั้งอยู่คือเมืองทิมพูเมืองพูนาคา
และเมืองพาโร สาหรับสถานที่ท่องเที่ยวหลักๆ ที่ห้าม
พลาดในประเทศภูฏานภูฏานเป็นประเทศที่อยู่บนภูเขา
สูง สถานที่ท่องเที่ยวส่วนใหญ่ต้องอาศัยการเดินหรือปีน
เขาขึ้นไปชม ความสูงโดยเฉลี่ยในเส้นทางท่องเที่ยว
หลักๆ ของภูฏานคือ 2,300 เมตรจากระดับน้าทะเล และ
อาจสูงไปถึง 5,400 เมตรจากระดับน้าทะเลในบาง
สถานที่เลยทีเดียว ดังนั้นการเตรียมสภาพร่างกายก่อน
ขึ้นที่สูงจึงเป็นเรื่องสาคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่
วางแผนจะไปในเส้นทางที่ต้องปีนเขาเป็นหลัก Expedia
แนะนาว่าควรพบแพทย์เพื่อปรึกษาขอคาแนะนาและเช็ค
โอกาสในการเป็นโรคแพ้ความสูงของตัวเองก่อน
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศภูฏาน
วัดถ้าเสือ (Taksang Monastery)
วัดถ้าเสือ (Taksang Monastery) วัด
สถาปัตยกรรมทิเบตที่ตั้งอยู่ริมหน้าผาสูงจาก
ระดับน้าทะเลถึง 3,120 เมตรในเมืองพาโร
สร้างขึ้นในสมัยศตวรรษที่ 8 ซึ่งครั้งหนึ่ง
บริเวณปากถ้าเคยเป็นที่บาเพ็ญภาวนาของ
ท่านกูรูรินโปเช ลามะชื่อดังผู้เข้ามาเผยแผ่
ศาสนาพุทธในประเทศภูฏาน
ป้อมปราการตรงซา ซอง
ตรงซา ซอง (Trongsa Dzong) คือป้อมปราการ
ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศภูฏาน ตั้งอยู่ในเมือง
ตรงซา สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1648 บนแนวเขาที่
สูงชันตามสถาปัตยกรรมและศิลปะแบบภูฏาน
เจดีย์อนุสรณ์สถาน
เจดีย์อนุสรณ์สถาน สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2517
เพื่อถวายพระเกียรติแด่สมเด็จพระราชาธิ
บดีจิกมี ดอร์จิ วังชุก เป็นสถานที่สาคัญทาง
ศาสนาของภูฏาน ประกอบด้วยภาพ
จิตรกรรมฝาผนัง เป็นพุทธประวัติและ
พระพุทธรูปต่างๆ
พระพุทธรูปดอร์เดนมะ
ยิ่งใหญ่พระพุทธรูป Dordenmaเป็นยักษ์
ศากยมุนีพระพุทธรูปรูปปั้นในภูเขาของ
ภูฏานฉลองครบรอบ 60 ปีของ
พระมหากษัตริย์ที่สี่Jigme Singye
Wangchuckพระรูปนี้มีพระพุทธรูปองค์
เล็กกว่าหนึ่งแสนองค์ซึ่งแต่ละองค์เหมือน
พระดอร์เดนมาองค์ใหญ่
ประเพณีและวัฒนธรรมในประเทศภูฏาน
ขนบธรรมเนียมประเพณี ชาวภูฏาน มีหลายสิ่ง
หลายอย่างที่ชาวภูฏานประพฤติปฏิบัติไม่เหมือนกับชาติ
ใดในโลก ขนบธรรมเนียมวิถีชีวิตประจาวันนั้นมี
พื้นฐานมาจากวิถีชาวพุทธ แบบมหายานสายตันตระ
การให้ความสาคัญของหน่วยงานดูแลวัฒนธรรมของ
ชาติ รณรงค์ร่วมมือกับราษฎรทุกภาคส่วน ทั้งชนบท
และในเมือง เพื่อรักษาจิตวิญญาณของความเป็นภูฏาน
ไว้ดั่งที่เคยเป็นมายาวนานนับพันปี
ศาสนา ขนบประเพณี และการบูชาบรรพบุรุษประกอบ
กันขึ้นเป็นธรรมเนียมปฏิบัติแบบภูฏาน ซึ่งเห็นได้
เด่นชัดที่สุดในแง่ของการให้ความเคารพนับถือองค์กร
ศาสนา และการสวมใส่ชุดประจาชาติ (ไม่ว่าเดินทางเข้า
สู่ เขตอาราม เขตซ่ง เพื่อกิจราชการ จาเป็นต้องใส่ชุด
ประจาชาติ) โดยรัฐบาลกาหนดเป็นนโยบายหลัก ควบคู่
ไปกับการดูแลสังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเพณีและวัฒนธรรมในประเทศภูฏาน
ขนบธรรมเนียมประเพณีชาวภูฏาน การกราบไหว้พระ
ประเทศที่นับถือศาสนาพุทธ มักจะมีวัฒนธรรม
การไหว้มาจากประเทศอินเดีย ชาวภูฏานจะไหว้อย่าง
อ่อนน้อมถ่อมตน ส่วนการไหว้พระพุทธรูปและสิ่ง
ศักดิ์สิทธิ์เป็นการกราบแบบ “อัษฎางคประดิษฐ์” ซึ่งเป็น
การกราบเหมือนกับ การกราบไหว้ทางทิเบต คือต้อง
เหยียดตัวราบลงไปให้อวัยวะ 8 อย่างแตะพื้น คือ
หน้าผาก แขน จมูก ฝ่ามือ ข้อศอก ลาตัว หัวเข่า และ
ปลายเท้า แล้วลุกขึ้นมาใหม่โดยไม่ยกเท้าจากพื้นกราบ
แบบอัษฎางคประดิษฐ์ของชาวภูฏาน
การกราบไหว้พระ
วัฒนธรรมสถาบันพระมหากษัตริย์
พระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวภูฏาน
ดั่งเช่นประเทศไทย เพิ่งมีการปกครองด้วยระบอบ
ประชาธิปไตยเมื่อสมัยรัชกาลองค์ปัจจุบัน สมเด็จ
พระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก โดยมีกษัตริย์
เป็นประมุข แต่เดิมนั้นภูฏานปกครองด้วยระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ชาวภูฏานให้ความเคารพรัก
กษัตริย์ของตนมาก พระองค์ทรงมีความเป็นกันเอง และ
ใกล้ชิดพสกนิกร เสด็จเยี่ยมเยียนราษฎรโดยตลอด ไม่ว่า
ใกล้หรือไกล ไม่ว่าการเดินทางจะยากลาบากแค่ไหน
ทรงเข้าถึงทุกพื้นที่ที่ห่างไกลหรือกันดาร
วัฒนธรรมสถาบันพระมหากษัตริย์
วัฒนธรรมภาษา
ภูฏานมีภาษาราชการหรือภาษาประจาชาติเรียกว่า
ภาษาซงคา หรือ ฌงฆะ หรือ ซองคา (Dzongkha) ก่อน
หน้านั้นเป็นภาษาถิ่นใช้กันในแถบตะวันตก อักขรวิธี
และการออกเสียงคล้ายภาษาทิเบต มีแบบอย่างมาจากเท
วนาครีของสันสกฤต ซงคา คล้ายภาษาภาคกลางของ
ทิเบต ซง หรือ ซอง แปลว่า ป้อมปราการที่อยู่ของเจ้า
เมือง ซองคา หมายถึง ชาวป้อมปราการ เป็นภาษาที่ชาว
ชาชฮอปใช้กันมาก
อย่างไรก็ตามคนภาคตะวันออกจะพูดภาษา ชาชฮอป
(Sharchop) หรือ ฮาชังลา ทางตอนใต้เป็นพลเมืองเชื้อ
สายเนปาลที่อพยพเข้ามาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่19
จะพูดเป็นภาษาเนปาลี หรือ อินโดอารยัน ส่วน
ตอนกลางของประเทศ ตามหมู่บ้านเล็กๆ ที่อยู่ห่างไกล
เมืองใช้ภาษาท้องถิ่น ด้วยเหตุนี้ ภาษาอังกฤษจึงเป็น
ภาษากลางในภูฏานที่ใช้ได้เกือบทุกภาค
วัฒนธรรมภาษา
การแสดงและดนตรี
การแสดงและดนตรีภูฏาน มีรากเหง้ามาจากศาสนา
พุทธตันตระ ครั้งที่ท่านคุรุ รินโปเชนาศาสนาพุทธเข้ามา
ในดินแดนนี้ ท่านต้องต่อสู้กับภูตผีปีศาจที่ชาวพื้นเมือง
นับถืออยู่ก่อนแล้ว ท่านจึงคิดกุศโลบายผนวกเอาภูติผี
ปีศาจทั้งหลายมาเป็นธรรมบาลในพุทธศาสนาให้
ชาวบ้านเห็นว่าศาสนาพุทธมีอานาจเหนือกว่าวิญญาณ
ชั่วร้าย การทาพิธีทางศาสนาพุทธในภูฏานจึงต้องมีการ
ร่ายราของเหล่าภูตผีปีศาจ จนพัฒนากลายมาเป็นระบา
เช่น ระบากลอง และระบาหน้ากากเซชูที่นักท่องเที่ยว
ทั่วโลกอยากมาชมให้เห็นกับตา โดยจะจัดเป็นเทศกาล
ยิ่งใหญ่ประจาปี แสดงโดยพระและฆราวาส
มีเนื้อหาเกี่ยวกับการสั่งสอนศีลธรรม เล่าเรื่องราวใน
พระพุทธศาสนา ปกป้องคุ้มครองหมู่บ้านหรือเมืองจาก
วิญญาณร้ายและประกาศชัยชนะของท่านคุรุ รินโปเช
ใช้เครื่องดนตรีฉาบ แตรงอน และกลอง
การแสดงและดนตรี
บรรณานุกรม
วิกิพีเดีย. “ประวัติประเทศภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 30 กรกฎาคม 2564.
<https://th.wikipedia.org> 8 สิงหาคม 2564.
Thaifly Travel. “ความเป็นมาประเทศภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 8 สิงหาคม 2564.
<https://www.thaifly.com > 8 สิงหาคม 2564.
ผกานุช บุตรอินทร์. “ความหมายของธงชาติภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 8 สิงหาคม 2564.
<https://sites.google.com> 8 สิงหาคม 2564.
Wow Together Travel. “ดอกไม้และต้นไม้ประจาชาติภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 26 สิงหาคม 2561.
<https://www.wowtogethertravel.com > 8 สิงหาคม 2564.
เที่ยวภูฏานกับพานพบสุข. “เครื่องแต่งกายประจาชาติ,” ประเทศภูฏาน. 10 ตุลาคม 2560.
<http://www.panpopsooktour.com > 8 สิงหาคม 2564.
บริษัท พรีมา คอนเนคชั่น จากัด. “อาหารประจาชาติภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 8 สิงหาคม 2564
<https://www.primaconnection.com > 8 สิงหาคม 2564.
บรรณานุกรม
หนังสือคู่มือนักเดินทางฉบับพกพา "ภูฏาน“. “สกุลเงินของภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 8 สิงหาคม 2564.
<https://www.tripdeedee.com > 8 สิงหาคม 2564.
บริษัท ชิล สแควร์ ทราเวล จากัด. “สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 22 เมษายน 2562.
<https://chill.co.th> 8 สิงหาคม 2564.
นิตยา ใสแสง. “ประเพณีและวัฒนธรรมในประเทศภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 8 สิงหาคม 2564.
<https://nittaya166.wordpress.com > 8 สิงหาคม 2564.
ณัฎฐณิชา

More Related Content

Similar to ณัฎฐณิชา

Asean national flowers
Asean national flowersAsean national flowers
Asean national flowers
Tew Nararit
 
Asean national flowers
Asean national flowersAsean national flowers
Asean national flowers
Tew Nararit
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
Wichai Likitponrak
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
Krittamook Sansumdang
 
Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
Wichai Likitponrak
 

Similar to ณัฎฐณิชา (11)

Asean national flowers
Asean national flowersAsean national flowers
Asean national flowers
 
Asean national flowers
Asean national flowersAsean national flowers
Asean national flowers
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
ปรียาภรณ์ เนื่องโนราช
ปรียาภรณ์ เนื่องโนราชปรียาภรณ์ เนื่องโนราช
ปรียาภรณ์ เนื่องโนราช
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
การดูแลดอกกุหลาบ
การดูแลดอกกุหลาบการดูแลดอกกุหลาบ
การดูแลดอกกุหลาบ
 
25510901 Induan Shot
25510901 Induan Shot25510901 Induan Shot
25510901 Induan Shot
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
 
Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 
ส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนตส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนต
 
จอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจรจอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจร
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
 

ณัฎฐณิชา

  • 1. ประกอบรายวิชา IS1 โดย นางสาวณัฎฐณิชา บุญมาวงษา เลขที่ 6 ห้อง ม.5/1
  • 2. คานา ประเทศภูฏานมีสิ่งที่น่าสนใจมากมายมีทั้งสถานที่ ท่องเที่ยวชุดประประจาชาติและย้งมีอาหารและ ความหมายของชาติ สกุลเงิน ต้นไม้และดอกไม้และยังมี สถานที่ท่องเที่ยวและวัฒนธรรมประเพณีที่สวยงามใน ประเทศภูฏาน จัดทาโดย นางสาวณัฎฐณิชา บุญมาวงษา ม.5/1 เลขที่ 6 สารบัญ เนื้อหา หน้าที่ ประวัติประเทศภูฏาน 3 ความเป็นมาประเทศภูฏาน 5 ความหมายของธงชาติภูฏาน 7 ดอกไม้และต้นไม้ประจาชาติภูฏาน 8 เครื่องแต่งกายประจาชาติ 9 อาหารประจาชาติภูฏาน 10 สกุลเงินของภูฏาน 11 สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศภูฏาน 12 ประเพณีและวัฒนธรรมในประเทศภูฏาน 15 บรรณานุกรม 20
  • 3. ในปี พ.ศ. 2173 ดรุกปา ลามะ ลี้ภัยจากทิเบตสู่ ภูฏาน ต่อมาได้ตั้งตัวขึ้นเป็น ธรรมราชา ปกครองครอง ดินแดนด้วยระบบศาสนเทวราช มีคณะรัฐมนตรีช่วย 4 ตาแหน่ง แม้ภูฏานจะพยายามแยกตัวอยู่อย่างโดดเดี่ยว แต่ต่อมาก็ถูกรุกรานจากประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะ ทิเบตอยู่หลายครั้งในช่วงพุทธศตวรรษที่ 22 ถึง 23 ใน ระยะต่อมาก็ยังถูกรุกรานโดยอังกฤษซึ่งมีอานาจอยู่ใน อินเดียก่อนที่จะได้เจรจาสงบศึกกันในปี พ.ศ. 2453 ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศคือ Druk Yul แปลว่า "ดินแดนของมังกรสายฟ้า (Land of the Thunder Dragon)" นอกจากนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Druk Tsendhen และชื่อเพลงชาติ เนื่องจากที่ภูฏาน เสียง สายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของมังกร ส่วนชื่อ ภูฏาน (Bhutan) มาจากคาสมาสในภาษาบาลี ภู-อุฏฺฏาน อันมี ความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง" (ในภาษาฮินดี สะกด भूटान ถอดเป็นตัวอักษรคือ ภูฏาน) ประวัติประเทศภูฏาน
  • 4. ภูฎานอาจมาจากรากศัพท์ภาษาสันสกฤตว่า โภ-ฏาน หมายถึง ปลายสุดของทิเบต หรือมาจากคาว่า ภู-อัฏฏาน แปลว่า ดินแดนบนที่สูง และบ้างก็อ้างว่านักสารวจ ชาวตะวันตกยุคโบราณเรียกดินแดนแถบนี้ว่า โภ-ฏัน หมายถึง ดินแดนคนโภเทียส หรือ คนที่มาจากภูสูงทิเบต ชื่อเหล่านี้อาจจะถูกกัดกร่อนควบกล้ามาเป็น ภูฏาน หรือ บุทัน ในที่สุดภูฏานมีเนื้อที่ประมาณ 46,500 ตาราง กิโลเมตร หรือเท่ากับพื้นที่ของ 6 จังหวัดเหนือสุดของ ประเทศไทย คือ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน น่าน ลาปาง และแพร่ รวมกัน ชนชาติประเทศภูฏาน ภูฏาน ประกอบด้วยชนชาติ 3 เชื้อชาติใหญ่ คือ ชาชฮอป คนพื้นเมืองเดิม ส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออก งาลอป ชนเชื้อสายทิเบต ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคตะวันตก ลาร์ทเชมส์ ชนเชื้อสายเนปาล อยู่ทางใต้เป็นพวกที่ อพยพมาเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังมีชนชาติอื่นๆ อีกหลายชนเผ่า มีภาษาแยก ย่อยออกไปอีกราว 19 ภาษา
  • 5. ตามตานานเล่าว่า ขณะที่ Tsangpa Gyare Yeshe Diorje (ค.ศ.1161-1211) กาลังประกอบพิธีสถาปนาวัดลา มะแห่งหนึ่งในทิเบตกลาง ท่านได้ยินเสียงร้องซึ่งเชื่อกัน ว่าเป็นเสียงของมังกร จึงได้ให้ชื่อวัดแห่งนี้ว่า "Druk"(มังกร) และให้นามสานักที่ท่านตั้งขึ้นว่า "Drukpa" ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศภูฎานคือ Druk Yul (อ่านว่า ดรุก ยุล) แปลว่า "ดินแดนของมังกรสายฟ้า (Land of the Thunder Dragon)นอกจากนี้ภูฎานยังเรียก อีกอย่างหนึ่งว่า Druk Tsendhenเนื่องจากที่ภูฏานเสียง สายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของมังกร ส่วนชื่อ ภูฏาน (Bhutan) มาจากคาสมาสในภาษาสันสกฤต ภู-อุฏฺฏาน อันมีความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง“ ธงชาติภูฏาน ท่านมายุม โชยิง วังโม โดร์จี ได้คิด ประดิษฐ์ธงชาติภูฏานขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1947 และในปี ค.ศ. 1956 ก็ได้ปรับเปลี่ยนธงใหม่จนมีรูปลักษณ์ดังเช่นใน ปัจจุบัน ความเป็นมาประเทศภูฏาน
  • 6. ธงชาติภูฏาน มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมพื้นผ้ากว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นสองส่วนตามแนวทแยง มุม จากมุมธงด้านปลายธงบนมายังมุมธงด้านต้นธงล่าง ครึ่งบนเป็นพื้นสีเหลือง ครึ่งล่างเป็นพื้นสีส้มกลางธง ระหว่างเส้นทแยงมุมมีรูปมังกรสายฟ้าสีขาวหรือดรุก หันหน้าไปทางด้านปลายธง ต้นแบบของธงนี้เริ่มใช้ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 ก่อนจะเปลี่ยนแปลงมาเป็นธง รูปแบบปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2512 ตราแผ่นดินภูฏาน ตราแผ่นดินของภูฏานเป็นรูปวงกลม ทาเป็นรูปดอกบัวรองรับวัชระและดวงแก้ว สองข้าง ขนาบด้วยมังกรสองตัว วัชระเป็นสัญลักษณ์แทนสมดุล ทางอานาจระหว่างศาสนจักรและอาณาจักร ซึ่งอุบัติขึ้น ได้เพราะมีพุทธศาสนาสายวัชรยานคอยค้าจุน ดอกบัว เป็นตัวแทนของความบริสุทธิ์ดีงาม ดวงแก้ว หมายถึง พระราชอานาจอันเปี่ยมล้นของพระมหากษัตริย์มังกรคู่ (ตัวผู้กับตัวเมีย) เป็นที่มาของชื่อดรุ๊กยุล (แผ่นดินมังกร สายฟ้า) ซึ่งเป็นชื่อของประเทศภูฏานในภาษาซงคา ธงชาติในอดีต พ.ศ. 2492 - 2499 พ.ศ. 2499 - 2512
  • 7. ความหมายของธงชาติของภูฏานมีดังนี้ สีเหลือง ครึ่งบนของธงชาติ หมายถึง พระราชอานาจ แห่งพระมหากษัตริย์เป็นสีที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรือง ทั้งทางโลกและทางธรรม สีส้ม ครึ่งล่างของธงชาติ หมายถึง การปฏิบัติธรรมและ ความเสื่อมใสและศรัทธาของชาวภูฏานที่มีต่อศาสนา พุทธ มังกร ที่อยู่ตรงกลางของธงชาติ หมายถึง ประเทศดรุก ยุล มีความหมายว่าดินแดนแห่งมังกรสายฟ้า ซึ่งเป็นชื่อ ของประเทศภูฏานในภาษาฌงฆะ ตัวมังกรมีสีขาว บริสุทธิ์ แสดงออกถึงความจงรักภักดีของคนทุกเชื้อชาติ ทุกภาษาที่อยู่ในประเทศนี้ ท่าทีที่มังกรกาลังอ้าปาก คารามนั้น สื่อถึงความมีอานาจน่าเกรงขามของเหล่าพระ ผู้เป็นเจ้าทั้งชายและหญิงที่ปกป้องภูฏาน ความหมายของธงชาติภูฏาน
  • 8. ดอกป๊ อปปี้สีฟ้า เป็นดอกไม้ป่าที่พบตามเขตภูเขาสูงกว่า ระดับน้าทะเล 1,000 เมตรขึ้นไป ออกดอกปีละครั้ง ตอนต้นฤดูมรสุม (ระหว่างปลายเดือนพฤษภาคม- กรกฎาคม) เมื่อออกดอกให้เมล็ดแล้วต้นจะตายไป เมล็ด ดอกป๊อปปี้ สีฟ้ามีน้ามันมาก ถิ่นที่พบอยู่ในบริเวณทิศ ตะวันออกของภูฏานไปจนทิศตะวันตกของภูฏาน ต้นไม้ประจาชาติภูฏาน ต้นสนไซปรัส นิยมปลูกอยู่ตามวัดต่างๆ จานวนมาก เพราะต้นสนไซปรัส เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นตรงดูสง่างาม เข้มแข็งแต่อ่อนน้อม และเป็นต้นไม้ที่เจริญงอกงามได้ ทุกสภาพอากาศ ชาวภูฏานได้ชื่อว่าซื่อตรงและแข็งแกร่ง เฉกเช่นเดียวกับสนไซปรัส ที่ยืนหยัดและงอกงามได้แม้ ในดินที่หาความอุดมสมบูรณ์ไม่ได้เลย ดอกไม้และต้นไม้ประจาชาติภูฏาน
  • 9. เครื่องแต่งกายประจาชาติ เครื่องแต่งกายประจาชาติของชาวภูฏานสาหรับ ผู้ชายก็คือ "โฆ" (Gho) มีความเป็นมาย้อนหลังไปได้ถึง ราวศตวรรษที่ 17 เป็นเสื้อตัวหลวมใหญ่มีลวดลาย พื้นเมืองตัวยาวถึงเข่าผู้ชายภูฏานจะสวมใส่ชุดโฆกัน ทั่วไป โดยพันเฉียงจากไหล่ซ้ายมายังลาตัวด้านขวา ผ้าแถบดังกล่าวนี้ยังใช้บอกสถานะของบุคคลด้วย เช่น พระมหากษัตริย์และพระสังฆราชจะทรงผ้าสีเหลืองที่ ย้อมจากหญ้าฝรั่น (Saffron) ผ้าสีแดงสาหรับพระ ราชวงศ์ ผ้าสีส้มสาหรับรัฐมนตรี ผ้าสีเขียวสาหรับผู้ พิพากษา ส่วนสามัญชนจะใช้ผ้าสีขาว ส่วนเครื่องแต่งกายสาหรับผู้หญิงจะเรียกว่า คีรา (Khira) เป็นผ้าทอพื้นเมืองขนาดประมาณ 2.5x1.5 เมตร นามา ยึดติดกันด้วยเข็มกลัดเงิน จากนั้นจึงใช้พันรอบตัวให้ คลุมถึงข้อเท้า รัดด้วยเข็มขัด สวมทับด้วยเสื้อตัวนอกที่ เรียกว่า วงชู (Wonju) อีกทีหนึ่ง เครื่องแต่งกายประจาชาติ
  • 10. อาหารประจาชาติภูฏาน อาหารพื้นบ้านเป็นอาหารเรียบง่าย อาหารหลักเป็น ทั้งข้าว บะหมี่ ข้าวโพด ยังนิยมเคี้ยวหมากอยู่อาหาร ส่วนใหญ่ประกอบด้วยพริก ผักและมันหมู อาหาร ประจาชาติคือ เอมาดัทชิ (Ema Datshi) : เป็นอาหาร ประจาชาติภูฏาน ที่ผสมพริกกับชีสพื้นเมืองแสนอร่อย รู้จักในชื่อ ดัทชิ อันเป็นอาหารจานหลักเกือบทุกมื้อ และ สามารถพบเจอได้ทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ความแตกต่าง ของเอมา ดัทชิ ในแต่ละพื้นที่นั้นขึ้นอยู่กับการใส่ ถั่ว แขก, เฟิร์น, มันฝรั่ง, เห็ดหรือเปลี่ยนชีสธรรมดาเป็นชีส จากนมจามรี โมโมส (Momos) : นี่เป็นเกี๊ยวในแบบฉบับภูฏาน ใส่ไส้ หมู, เนื้อ หรือกระหล่าปลี และชีส มักรับประทานกันใน โอกาสพิเศษ เป็นรสชาติดั้งเดิมที่ชาวภูฏานโปรดปราน อาหารประจาชาติภูฏาน เอมาดัทชิ (Ema Datshi) โมโมส (Momos)
  • 11. สกุลเงินของภูฏาน คือ งุลตรัม (BTN) ซึ่งผูกค่าเงิน เป็นอัตราคงที่กับรูปีอินเดีย ซึ่งประมาณ 40 รูปี ต่อ 1 USD และเงินรูปียังสามารถใช้ชาระหนี้ได้ตามกฎหมาย อีกด้วยเศรษฐกิจ ของภูฏานแม้ว่าภูฏานจะเป็นหนึ่งใน ประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดเล็กที่สุดในโลก แต่ก็มีอัตรา การเติบโตที่สูงมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ในปี 2007 ภูฏานเป็นประเทศที่มีอัตราเติบโตสูงเป็นอันดับสองของ โลกโดยมีอัตราการเติบโต ทางเศรษฐกิจสูงถึงร้อยละ 22.4 ซึ่งเป็นผลจากการเริ่มใช้เขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าทา ลารายได้หลักของประเทศ มากกว่าร้อยละ 33 ของจีดีพี มาจากการเกษตร และประชากรกว่าร้อยละ 70 มีวิถีชีวิต ขึ้นอยู่กับผลิตผลทางการเกษตรด้วย สินค้าส่งออกสาคัญ คือไฟฟ้าจากพลังงานน้า ซึ่งส่งออกไปยังอินเดียประเทศ ภูฏาน เป็นประเทศที่ประกาศว่า จะไม่สนใจ GDP (GDP - Gross Domestic Product หรือ ผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ) แต่จะสนใจ GDH แทน (GDH Gross Domestic Happiness หรือ ความสุขรวมภายในประเทศ) สกุลเงินของภูฏาน
  • 12. สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศภูฏาน ภูฏานเป็นประเทศที่มีสถานที่ท่องเที่ยวสวยงาม มากมาย โดยเฉพาะสถาปัตยกรรมการก่อสร้างวัดและ อาคารบ้านเรือนต่างๆ และสถานที่ท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติที่มีฉากหลังเป็นเทือกเขาหิมาลัย เมืองที่มี สถานที่ท่องเที่ยวหลักๆ ตั้งอยู่คือเมืองทิมพูเมืองพูนาคา และเมืองพาโร สาหรับสถานที่ท่องเที่ยวหลักๆ ที่ห้าม พลาดในประเทศภูฏานภูฏานเป็นประเทศที่อยู่บนภูเขา สูง สถานที่ท่องเที่ยวส่วนใหญ่ต้องอาศัยการเดินหรือปีน เขาขึ้นไปชม ความสูงโดยเฉลี่ยในเส้นทางท่องเที่ยว หลักๆ ของภูฏานคือ 2,300 เมตรจากระดับน้าทะเล และ อาจสูงไปถึง 5,400 เมตรจากระดับน้าทะเลในบาง สถานที่เลยทีเดียว ดังนั้นการเตรียมสภาพร่างกายก่อน ขึ้นที่สูงจึงเป็นเรื่องสาคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่ วางแผนจะไปในเส้นทางที่ต้องปีนเขาเป็นหลัก Expedia แนะนาว่าควรพบแพทย์เพื่อปรึกษาขอคาแนะนาและเช็ค โอกาสในการเป็นโรคแพ้ความสูงของตัวเองก่อน สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศภูฏาน
  • 13. วัดถ้าเสือ (Taksang Monastery) วัดถ้าเสือ (Taksang Monastery) วัด สถาปัตยกรรมทิเบตที่ตั้งอยู่ริมหน้าผาสูงจาก ระดับน้าทะเลถึง 3,120 เมตรในเมืองพาโร สร้างขึ้นในสมัยศตวรรษที่ 8 ซึ่งครั้งหนึ่ง บริเวณปากถ้าเคยเป็นที่บาเพ็ญภาวนาของ ท่านกูรูรินโปเช ลามะชื่อดังผู้เข้ามาเผยแผ่ ศาสนาพุทธในประเทศภูฏาน ป้อมปราการตรงซา ซอง ตรงซา ซอง (Trongsa Dzong) คือป้อมปราการ ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศภูฏาน ตั้งอยู่ในเมือง ตรงซา สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1648 บนแนวเขาที่ สูงชันตามสถาปัตยกรรมและศิลปะแบบภูฏาน
  • 14. เจดีย์อนุสรณ์สถาน เจดีย์อนุสรณ์สถาน สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2517 เพื่อถวายพระเกียรติแด่สมเด็จพระราชาธิ บดีจิกมี ดอร์จิ วังชุก เป็นสถานที่สาคัญทาง ศาสนาของภูฏาน ประกอบด้วยภาพ จิตรกรรมฝาผนัง เป็นพุทธประวัติและ พระพุทธรูปต่างๆ พระพุทธรูปดอร์เดนมะ ยิ่งใหญ่พระพุทธรูป Dordenmaเป็นยักษ์ ศากยมุนีพระพุทธรูปรูปปั้นในภูเขาของ ภูฏานฉลองครบรอบ 60 ปีของ พระมหากษัตริย์ที่สี่Jigme Singye Wangchuckพระรูปนี้มีพระพุทธรูปองค์ เล็กกว่าหนึ่งแสนองค์ซึ่งแต่ละองค์เหมือน พระดอร์เดนมาองค์ใหญ่
  • 15. ประเพณีและวัฒนธรรมในประเทศภูฏาน ขนบธรรมเนียมประเพณี ชาวภูฏาน มีหลายสิ่ง หลายอย่างที่ชาวภูฏานประพฤติปฏิบัติไม่เหมือนกับชาติ ใดในโลก ขนบธรรมเนียมวิถีชีวิตประจาวันนั้นมี พื้นฐานมาจากวิถีชาวพุทธ แบบมหายานสายตันตระ การให้ความสาคัญของหน่วยงานดูแลวัฒนธรรมของ ชาติ รณรงค์ร่วมมือกับราษฎรทุกภาคส่วน ทั้งชนบท และในเมือง เพื่อรักษาจิตวิญญาณของความเป็นภูฏาน ไว้ดั่งที่เคยเป็นมายาวนานนับพันปี ศาสนา ขนบประเพณี และการบูชาบรรพบุรุษประกอบ กันขึ้นเป็นธรรมเนียมปฏิบัติแบบภูฏาน ซึ่งเห็นได้ เด่นชัดที่สุดในแง่ของการให้ความเคารพนับถือองค์กร ศาสนา และการสวมใส่ชุดประจาชาติ (ไม่ว่าเดินทางเข้า สู่ เขตอาราม เขตซ่ง เพื่อกิจราชการ จาเป็นต้องใส่ชุด ประจาชาติ) โดยรัฐบาลกาหนดเป็นนโยบายหลัก ควบคู่ ไปกับการดูแลสังคม และสิ่งแวดล้อม ประเพณีและวัฒนธรรมในประเทศภูฏาน
  • 16. ขนบธรรมเนียมประเพณีชาวภูฏาน การกราบไหว้พระ ประเทศที่นับถือศาสนาพุทธ มักจะมีวัฒนธรรม การไหว้มาจากประเทศอินเดีย ชาวภูฏานจะไหว้อย่าง อ่อนน้อมถ่อมตน ส่วนการไหว้พระพุทธรูปและสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์เป็นการกราบแบบ “อัษฎางคประดิษฐ์” ซึ่งเป็น การกราบเหมือนกับ การกราบไหว้ทางทิเบต คือต้อง เหยียดตัวราบลงไปให้อวัยวะ 8 อย่างแตะพื้น คือ หน้าผาก แขน จมูก ฝ่ามือ ข้อศอก ลาตัว หัวเข่า และ ปลายเท้า แล้วลุกขึ้นมาใหม่โดยไม่ยกเท้าจากพื้นกราบ แบบอัษฎางคประดิษฐ์ของชาวภูฏาน การกราบไหว้พระ
  • 17. วัฒนธรรมสถาบันพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวภูฏาน ดั่งเช่นประเทศไทย เพิ่งมีการปกครองด้วยระบอบ ประชาธิปไตยเมื่อสมัยรัชกาลองค์ปัจจุบัน สมเด็จ พระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก โดยมีกษัตริย์ เป็นประมุข แต่เดิมนั้นภูฏานปกครองด้วยระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ชาวภูฏานให้ความเคารพรัก กษัตริย์ของตนมาก พระองค์ทรงมีความเป็นกันเอง และ ใกล้ชิดพสกนิกร เสด็จเยี่ยมเยียนราษฎรโดยตลอด ไม่ว่า ใกล้หรือไกล ไม่ว่าการเดินทางจะยากลาบากแค่ไหน ทรงเข้าถึงทุกพื้นที่ที่ห่างไกลหรือกันดาร วัฒนธรรมสถาบันพระมหากษัตริย์
  • 18. วัฒนธรรมภาษา ภูฏานมีภาษาราชการหรือภาษาประจาชาติเรียกว่า ภาษาซงคา หรือ ฌงฆะ หรือ ซองคา (Dzongkha) ก่อน หน้านั้นเป็นภาษาถิ่นใช้กันในแถบตะวันตก อักขรวิธี และการออกเสียงคล้ายภาษาทิเบต มีแบบอย่างมาจากเท วนาครีของสันสกฤต ซงคา คล้ายภาษาภาคกลางของ ทิเบต ซง หรือ ซอง แปลว่า ป้อมปราการที่อยู่ของเจ้า เมือง ซองคา หมายถึง ชาวป้อมปราการ เป็นภาษาที่ชาว ชาชฮอปใช้กันมาก อย่างไรก็ตามคนภาคตะวันออกจะพูดภาษา ชาชฮอป (Sharchop) หรือ ฮาชังลา ทางตอนใต้เป็นพลเมืองเชื้อ สายเนปาลที่อพยพเข้ามาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่19 จะพูดเป็นภาษาเนปาลี หรือ อินโดอารยัน ส่วน ตอนกลางของประเทศ ตามหมู่บ้านเล็กๆ ที่อยู่ห่างไกล เมืองใช้ภาษาท้องถิ่น ด้วยเหตุนี้ ภาษาอังกฤษจึงเป็น ภาษากลางในภูฏานที่ใช้ได้เกือบทุกภาค วัฒนธรรมภาษา
  • 19. การแสดงและดนตรี การแสดงและดนตรีภูฏาน มีรากเหง้ามาจากศาสนา พุทธตันตระ ครั้งที่ท่านคุรุ รินโปเชนาศาสนาพุทธเข้ามา ในดินแดนนี้ ท่านต้องต่อสู้กับภูตผีปีศาจที่ชาวพื้นเมือง นับถืออยู่ก่อนแล้ว ท่านจึงคิดกุศโลบายผนวกเอาภูติผี ปีศาจทั้งหลายมาเป็นธรรมบาลในพุทธศาสนาให้ ชาวบ้านเห็นว่าศาสนาพุทธมีอานาจเหนือกว่าวิญญาณ ชั่วร้าย การทาพิธีทางศาสนาพุทธในภูฏานจึงต้องมีการ ร่ายราของเหล่าภูตผีปีศาจ จนพัฒนากลายมาเป็นระบา เช่น ระบากลอง และระบาหน้ากากเซชูที่นักท่องเที่ยว ทั่วโลกอยากมาชมให้เห็นกับตา โดยจะจัดเป็นเทศกาล ยิ่งใหญ่ประจาปี แสดงโดยพระและฆราวาส มีเนื้อหาเกี่ยวกับการสั่งสอนศีลธรรม เล่าเรื่องราวใน พระพุทธศาสนา ปกป้องคุ้มครองหมู่บ้านหรือเมืองจาก วิญญาณร้ายและประกาศชัยชนะของท่านคุรุ รินโปเช ใช้เครื่องดนตรีฉาบ แตรงอน และกลอง การแสดงและดนตรี
  • 20. บรรณานุกรม วิกิพีเดีย. “ประวัติประเทศภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 30 กรกฎาคม 2564. <https://th.wikipedia.org> 8 สิงหาคม 2564. Thaifly Travel. “ความเป็นมาประเทศภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 8 สิงหาคม 2564. <https://www.thaifly.com > 8 สิงหาคม 2564. ผกานุช บุตรอินทร์. “ความหมายของธงชาติภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 8 สิงหาคม 2564. <https://sites.google.com> 8 สิงหาคม 2564. Wow Together Travel. “ดอกไม้และต้นไม้ประจาชาติภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 26 สิงหาคม 2561. <https://www.wowtogethertravel.com > 8 สิงหาคม 2564. เที่ยวภูฏานกับพานพบสุข. “เครื่องแต่งกายประจาชาติ,” ประเทศภูฏาน. 10 ตุลาคม 2560. <http://www.panpopsooktour.com > 8 สิงหาคม 2564. บริษัท พรีมา คอนเนคชั่น จากัด. “อาหารประจาชาติภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 8 สิงหาคม 2564 <https://www.primaconnection.com > 8 สิงหาคม 2564.
  • 21. บรรณานุกรม หนังสือคู่มือนักเดินทางฉบับพกพา "ภูฏาน“. “สกุลเงินของภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 8 สิงหาคม 2564. <https://www.tripdeedee.com > 8 สิงหาคม 2564. บริษัท ชิล สแควร์ ทราเวล จากัด. “สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 22 เมษายน 2562. <https://chill.co.th> 8 สิงหาคม 2564. นิตยา ใสแสง. “ประเพณีและวัฒนธรรมในประเทศภูฏาน,” ประเทศภูฏาน. 8 สิงหาคม 2564. <https://nittaya166.wordpress.com > 8 สิงหาคม 2564.