SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
ประกอบรายวิชา IS1 โดย นางสาวปรียาภรณ์ เนื่องโนราช.
. เลขที่28 ห้องม.5/2
คานา
ประเทศบรูไนเป็นประเทศที่น่าสนใจมากๆอีกประเทศหนึ่งเลย
ทีเดียวมีเรื่องในศึกษามากมายไม่ว่าจะเป็น ประวัติความเป็นมา
ชุดประจาชาติ ดอกไม้ประจาชาติ อาหารประจาชาติ ธงชาติ
รวมถึงตราประจาแผนดิน
สารบัณ
1. ประวัติของประเทศ หน้าที่1
2. ความเป็นมาของประเทศ หน้าที่3
3. ดอกไม้ประจาชาติ หน้าที่6
4. ชุดประจาชาติ หน้าที่7
5. อาหารประจาชาติ หน้าที่8
6. สถานที่ท่องเที่ยว หน้าที่9
7. เทศการของต่างๆ หน้าที่12
8. ตราประจาแผนดิน หน้าที่13
ประวัติประเทศ บรูไน
บรูไน (มลายู: Brunei) หรือ เนอการาบรูไนดารุซซาลาม (Negara
Brunei Darussalam, ยาวี: ‫دارالسالم‬ ‫بروني‬ ‫نڬارا‬‎
‎)เป็นรัฐ
เอกราชบนเกาะบอร์เนียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชายฝั่ง
ทางด้านเหนือจรดทะเลจีนใต้ พรมแดนทางบกที่เหลือจากนั้นถูก
ล้อมรอบด้วยรัฐซาราวักของมาเลเซียตะวันออก บรูไนเป็นประเทศเดียวที่
มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่บนเกาะบอร์เนียว ส่วนพื้นที่ที่เหลือของเกาะถูกแบ่งเป็น
ของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ประเทศบรูไนมีประชากรประมาณ
423,196 คนใน พ.ศ. 2560ประเทศบรูไนเจริญถึงขีดสุดในสมัยสุลต่าน
โบลเกียห์ที่ปกครองจักรวรรดิบรูไนช่วง พ.ศ. 2028-พ.ศ. 2071 โดยกล่าว
กันว่าสามารถควบคุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะบอร์เนียวได้ อาทิพื้นที่ใน
ปัจจุบันของรัฐซาราวัก รัฐซาบะฮ์ กลุ่มเกาะซูลูทางตะวันออกเฉียงเหนือ
ของเกาะบอร์เนียว มะนิลาและหมู่เกาะที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของ
เกาะบอร์เนียว ต่อมาใน ค.ศ. 1521 เฟอร์ดินานด์ มาเจลลันมาพบกับ
บรูไน และใน ค.ศ. 1578 บรูไนต่อสู้กับสเปนในสงครามกัสติเลียน
ลักษระประเทศ จากแผนที่
ในช่วงศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิบรูไนเริ่มเสื่อมอานาจ สุลต่าน
ยอมยกซาราวัก (กูชิง) ให้เจมส์ บรูก และแต่งตั้งให้เป็นรายา
แห่งซาราวัก จากนั้นซาราวักก็ตกเป็นของบริษัทบริษัทเอ็นบีซีซี
ของอังกฤษ ใน พ.ศ. 2431 บรูไนได้กลายเป็นรัฐในอารักขาของ
อังกฤษและได้รับมอบหมายให้เป็นพลเมืองอังกฤษในฐานะ
ผู้บริหารอาณานิคมใน พ.ศ. 2449 หลังจากนั้นในช่วง
สงครามโลกครั้งที่สองญี่ปุ่นได้บุกเข้ายึดครองบรูไน พ.ศ. 2502
มีการเขียนกฎหมายสูงสุดฉบับใหม่ขึ้น และใน พ.ศ. 2505 การ
ประท้วงขนาดเล็กที่ต่อต้านระบอบกษัตริย์สิ้นสุดลงด้วยความ
ช่วยเหลือของอังกฤษ[6]
บรูไนเป็นประเทศผู้ส่งออกน้ามันเป็นสินค้าหลัก (ปริมาณการ
ผลิตน้ามันประมาณ 180,000 บาเรล/วัน)
ความเป็นมา ต่างๆ
บรูไนเป็นที่รู้จักและมีอานาจมากในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16
โดยมีอาณาเขตครอบครองส่วนใหญ่ของเกาะบอร์เนียวและส่วนหนึ่งของหมู่เกาะ
ซูลู มีชื่อเสียงทางการค้า สินค้าส่งออกที่สาคัญในสมัยนั้น ได้แก่ การบูร พริกไทย
และทองคา
หลังจากนั้นบรูไนเสียดินแดนและเสื่อมอานาจลงเนื่องจากสเปน และเนเธอร์แลนด์
ได้แผ่อานาจเข้ามา
จนถึงสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในปี พ.ศ. 2431 (ค.ศ. 1888) ด้วยความวิตกว่า
จะต้องเสียดินแดนต่อไปอีก บรูไนจึงได้ยินยอมเข้าอยู่ภายใต้อารักขาของอังกฤษ
และต่อมาในปี พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) บรูไนได้ลงนามในสนธิสัญญายินยอมอยู่
เป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษอย่างเต็มรูปแบบ
ในปี พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929) บรูไนสารวจพบน้ามันและแก๊สธรรมชาติที่เมืองเซรี
อา ทาให้บรูไนมีฐานะมั่งคั่งในเวลาต่อมา
ในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ได้มีการเลือกตั้ง ซึ่งพรรคประชาชนบอร์เนียว
(Borneo People’s Party) ได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น แต่ถูกกีดกันไม่ให้
จัดตั้งรัฐบาล ต่อมาจึงได้ยึดอานาจจากสุลต่าน แต่สุลต่านทรงได้รับความ
ช่วยเหลือจากกองทหารกูรข่าที่กองทัพบกอังกฤษส่งมาจากสิงคโปร์ หลังจากนั้น
ได้มีการประกาศภาวะฉุกเฉิน และต่ออายุทุก ๆ 2 ปี เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
หลังจากที่อยู่ภายใต้อารักขาของอังกฤษมาถึง 95 ปี บรูไนก็ได้รับเอกราชเมื่อวันที่
1 มกราคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984)
นโยบายหลักของบรูไน ได้แก่การสร้างความเป็นปึกแผ่นภายในชาติ และดารง
ความเป็นอิสระของประเทศ ทั้งนี้บรูไนมีที่ตั้งที่ถูกโอบล้อมโดยมาเลเซีย และมี
อินโดนีเซียซึ่งเป็นประเทศมุสลิมขนาดใหญ่อยู่ทางใต้ บรูไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด
กับสิงคโปร์เนื่องจากมีเงื่อนไขคล้ายคลึงกันหลายประการ อาทิ เป็นประเทศเล็ก
และมีอาณาเขตติดกับประเทศมุสลิมขนาดใหญ่
นับจากการพยายามยึดอานาจเมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลได้ประกาศกฎอัยการศึก
ส่งผลให้ไม่มีการเลือกตั้ง รวมทั้งบทบาทพรรคการเมืองได้ถูกจากัดอย่างมาก จน
ปัจจุบันพรรคการเมือง ได้แก่ Parti Perpaduan Kebangsaan
Brunei (PPKB) และ Parti Kesedaran Rakyat (PAKAR) ไม่มี
บทบาทมากนัก เนื่องจากรัฐบาลควบคุมด้วยมาตรการต่าง ๆ อาทิ กฎหมายความ
มั่นคงภายในประเทศ (Internal Security Act (ISA)) ห้ามการชุมนุม
ทางการเมือง และสามารถถอดถอนการจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองได้
ตลอดจนห้ามข้าราชการ (ซึ่งมีเป็นจานวนกว่าครึ่งของประชากรบรูไนทั้งหมด) เป็น
สมาชิกพรรคการเมือง นอกจากนี้รัฐบาลเห็นว่าพรรคการเมืองไม่มีความจาเป็น
เนื่องจากประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นหรือขอความช่วยเหลือจาก
ข้าราชการของสุลต่านได้อยู่แล้ว
เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2547 ได้มีการจัดการประชุมของสภาเป็นครั้งแรก ตั้งแต่
บรูไนประกาศเอกราช
ความเป็นมาของธงชาติ
ประเทศบรูไน เริ่มมีธงชาติของตนเองใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 29 กันยายน
พ.ศ. 2502 ซึ่งขณะนั้นบรูไนยังเป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษ (สหราชอาณาจักร)
ต่อมาภายหลังจึงได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2527 ภายใต้ชื่อประเทศ
"บรูไนดารุสซาลาม"(แปลว่า นครแห่งสันติสุข)เดิมรัฐสุลต่านบรูไนใช้ธงสีเหลือง
เป็นสัญลักษณ์ของรัฐมาโดยตลอดแม้อยู่ในช่วงของการเป็นรัฐในอารักขาของส
หราชอาณาจักร ต่อมาจึงได้มีการเพิ่มแถบสี คาดสีขาว-ดา ลงบนธงในปี พ.ศ.
2449 เพื่อให้เกิดความแตกต่างจากธงอื่นที่ใช้สีเหลืองชัดเจนขึ้น และได้มีการแก้ไข
แบบธงอีกครั้งโดยการเพิ่มรูปตราแผ่นดินลงบนกลางธงในปี พ.ศ. 2509 ดัง
ลักษณะที่ปรากฏในปัจจุบันนี้
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สีเหลืองจะใช้เป็นสีประจาสถาบันพระมหากษัตริย์
และเป็นสีของธงประจาพระองค์ยังดี เปอร์ตวน อากง แห่งสมาพันธ์มาเลเซีย และ
ธงมหาราชของราชอาณาจักรไทย รวมถึงสีธงประจาตาแหน่งประธานาธิบดีแห่ง
สาธารณรัฐอินโดนีเซียอีกด้วย
ธงของสุลต่านแห่งบรูไนดารุสซาลาม ธงกองทัพ
ดอกไม้ประจาชาติ บรูไน
ดอก ซิมปอร์(Simpor)
ดอก ซิมปอร์(Simpor) หรือที่รู้จักกันในชื่อ
ดอกส้านชะวา (Dillenia) ดอกไม้ประจา
ท้องถิ่นบรูไน ที่มีกลีบขนาดใหญ่สีเหลือง หากบาน
เต็มที่แล้วกลีบดอกจะมีลักษณะคล้ายร่ม พบเห็น
ได้ตามแม่น้าทั่วไปของบรูไน มีสรรพคุณช่วยรักษา
บาดแผล หากใครแวะไปเยือนบรูไน จะพบเห็นได้
จากธนบัตรใบละ 1 ดอลลาร์ของประเทศบรูไน
และในงานศิลปะพื้นเมืองอีกด้วย
ชุดประจาชาติของประเทศ บรูไน
บาจู มลายู และบาจูกุรุง ชุดประจาชาติของบรูไนคล้ายกับชุดประจาชาติของผู้ชาย
ประเทศมาเลเซีย เรียกว่า บาจู มลายู
ส่วนชุดของผู้หญิงเรียกว่า บาจูกุรุง (Baju Kurung) แต่
ผู้หญิงบรูไนจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าที่มีสีสันสดใส
โดยมากมักจะเป็นเสื้อผ้าที่คลุมร่างกาย ตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า
ส่วนผู้ชายจะแต่งกายด้วยเสื้อแขนยาว
ตัวเสื้อยาวถึงเข่า นุ่งกางเกง ขายาวแล้วนุ่งโสร่ง เป็น
การสะท้อนวัฒนธรรมสังคม แบบอนุรักษ์นิยม
เพราะบรูไนเป็นประเทศมุสสิม จึงต้องแต่งกายมิดชิด
และสุภาพเรียบร้อย
อาหารประจาชาติ
อัมบูยัต (Ambuyat) อัมบูยัต(Ambuyat)
มีลักษณะเด่นคือ เหนียวข้นคล้ายข้าวต้มหรือโจ๊ก ไม่มีรสชาติ มีแป้งสาคู
เป็นส่วนผสมหลัก
วิธีทาน
จะใช้แท่งไม้ไผ่ 2 ขาซึ่งเรียกว่า chandas ม้วนแป้งรอบ ๆ แล้วจุ่มใน
ซอสผลไม้เปรี้ยวที่เรียกว่า cacah
หรือซอสที่เรียกว่า cencalu ซึ่งทาจากกะปิทานคู่กับเครื่องเคียงอีก
2-3 ชนิด เช่น เนื้อห่อใบตองย่าง เนื้อทอด
เป็นต้น การรับประทานอัมบูยัตให้ได้รสชาติต้องทานร้อน ๆ และกลืน
โดยไม่ต้องเคี้ยว
สุดยอดสถานที่ท่องเที่ยวใน บรูไน
Sultan Omar Ali Saifuddin
เริ่มต้นกันด้วยที่แรกซึ่งห้ามพลาดเด็ดขาดกับหนึ่งในมัสยิดที่สวยที่สุดของโลก
อย่าง “มัสยิดสุลต่าน โอมาร์ อาลี ไซฟุดดิน” หรือมัสยิดที่ใครหลายคนเรียกกันว่า
มินิทัชมาฮาล ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางเมืองกรุงบันดาร์เซอรีเบอกาวัน เมืองหลวงของ
ประเทศบรูไน ซึ่งถูกออกแบบและดาเนินการสร้างโดยสุลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟัด
ดินที่ 3 สุลต่านองค์ที่ 28 ของบรูไน และเป็นที่มาของชื่อมัสยิดแห่งนี้ภายในมัสยิด
ประดับตกแต่งด้วยหินอ่อนจากอิตาลี โคมคริสตัลจากประเทศอังกฤษ และพรม
เส้นใยพิเศษทอจากประเทศซาอุดิอาระเบีย ซึ่งถูกผสมผสานกับสถาปัตยกรรม
แบบอิสลาม ภายนอกจะเห็นเป็นโดมทองคาโดดเด่นชวนให้มองด้วยความสูงที่
มากถึง 52 เมตร ซึ่งถูกสร้างจากคาบริสุทธิ์มากถึง 3.3 ล้านแผ่น และด้านหน้ายังมี
ทะเลสาบที่ถูกขุดไว้ เพื่อสะท้อนความงดงามของมัสยิดออกมาทั้งในยามกลางวัน
รวมถึงยามกลางคืน และเป็นที่ตั้งของเรือจาลองพระราชพิธีด้วย
Royal Regalia Museum
สัมผัสความยิ่งใหญ่ของราชวงศ์และประวัติขององค์สุลต่าน กับพิพิพิธภัณฑ์
รอยัลเรกกาเลีย พิพิธภัณฑ์ที่ถูกยกย่องว่ามีสมบัติล้าค่า และน่าชื่นชมที่สุดในทวีป
เอเชีย ตั้งอยู่ใจกรุงบันดาร์เซอรีเบอกาวันเช่นกัน ซึ่งเป็นสถานที่ที่รวบรวมข้าวของ
เครื่องใช้ของสุลต่านองค์ปัจจุบันซึ่งล้วนแล้วแต่ไม่สามารถประเมินค่าออกมาได้
หรือถ้าจะให้ประเมินก็คงต้องมีคนช็อกไปตามๆกันแน่ๆ โดยทุกอย่างในนี้ล้วนทา
ขึ้น หรือประกอบด้วยทองคา เช่น ราชรถทองคา ฉลองพระองค์ทองคา เครื่องทรง
ทองคา หรือแม้แต่อาวุธก็ยังเป็นทองคา รวมทั้งยังมีเครื่องราชบรรณาการจาก
ประเทศต่างๆ ที่มีความงดงาม และหาดูได้ยาก เช่น คริสตัล หยก งาช้าง เป็นต้น
ใครที่ได้มารับรองจะรู้สึกไม่อยากออกไปไหนเลยทีเดียว
The Istana Nurul Iman Palace
งกว่าอลังการงานสร้าง ก็อลังการพระราชวังสร้าง กับ “อิสตานา นูรุล อิมาน”
พระราชวังที่ได้รับการยกย่องว่าใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งใหญ่กว่าพระราชวังบักกิ้งแฮม
3 เท่า และพระราชวังแวร์ซาย 4 เท่า ภายในถูกตกแต่งด้วยความประณีตงดงาม
จากวัสดุชั้นเลิศและของที่ขาดไม่ได้อย่างทองคา ซึ่งประกอบไปด้วยห้องต่างๆ
1,788 ห้อง, ห้องน้า 257 ห้อง และสระน้า 5 สระ นอกจากนี้ยังมีห้องจัดเลี้ยง
ขนาดใหญ่ซึ่งบรรจุคนได้มากถึง 5,000 คน ยัง ยัง ไม่จบที่นี่ยังมี Ferrari และ
Rolls Royces ที่สั่งทาพิเศษคันเดียวในโลก, เครื่องบินโบอิ้ง 747-400 มูลค่า
กว่า 200 ล้านดอลลาร์,เครื่องบินส่วนพระองค์อีก 6 ลา และคอกม้าติดแอร์สาหรับ
ม้าแข่งโปโลขององค์สุลต่าน 200 ตัว ไม่ตาร้อนตอนนี้จะให้ตาร้อนตอนไหน แต่ใคร
ที่ร้อนใจอยากไปดูตอนนี้เราขอให้ใจเย็นก่อน เพราะพระราชวังแห่งนี้จะเปิดให้เข้า
ชมเพียงปีละครั้งหลังเดือนรอมฎอน หรือหลังพิธีถือศีลอดเป็นต้นไปเท่านั้น
Ulu Temburong National Park
พักสายตาจากแสงทองของทองคาเปลี่ยนมาชมแสงของธรรมชาติที่มีมูลค่าไม่แพ้
กันบ้าง ผ่านอุทยานแห่งชาติอูลู เทมบูรง ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น “มงกุฎสีเขียว
แห่งบรูไน” ใครที่เป็นสายธรรมชาติบอกเลยว่าไม่ควรพลาด เพราะเราจะได้อยู่
ท่ามกลางภูเขา น้าตก ทะเลสาบ และลาธารใสสะอาดที่สามารถมองเห็นสัตว์ใต้
น้า ซึ่งภายในอุทยานก็จะมีกิจกรรมต่างๆให้เราทามากมายจนไม่รู้สึกเบื่อ อีกด้วย
ไม่ว่าจะเป็นการตกปลา แคมป์ ปิ้ง ล่องเรือ หรือส่องสัตว์หาชมยากอย่างลิงจมูก
ยาว หรือผีเสื้อราชาถุงทองบรุค เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีไฮไลต์สุดเด็ดที่พร้อมพิชิต
ใจนักท่องเที่ยวอย่าง Canopy Walkway ทางเดินลอยฟ้าที่จะให้เราได้เห็น
วิวธรรมชาติจากมุมสูงอย่างเต็มตา และได้สูดอากาศบริสุทธิ์อย่างเต็มปอดกันไป
เลย
Kampong Ayer
สัมผัสวิถีชีวิตชาวบรูไนแบบดั้งเดิม ผ่านหมู่บ้านกัมปงไอเยอร์ หมู่บ้านกลางน้าที่
ใหญ่ที่สุดในโลก (ที่สุดในโลกอีกแล้ววว) ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้าบรูไน ซึ่งชาว
ยุโรปยุคแรกๆที่เข้ามา เรียกหมู่บ้านกลางน้าแห่งนี้ว่า เวนิชแห่งตะวันออก ภายใน
แบ่งออกเป็นหมู่บ้านเล็กๆ อีก 42 หมู่บ้าน เชื่อมต่อกันเป็นระยะทางกว่า 30
กิโลเมตร และมีประชากรอาศัยอยู่กว่า 30,000 คน โดยเราสามารถเยี่ยมชมวิถี
ชีวิต และการคมนาคมซึ่งสัญจรกันโดยใช้เรือพาย หรือชมสถาปัตยกรรมโบราณ
จากบ้านเรือนนับพันบนแม่น้าบรูไนที่ใช้เสาไม้ค้ายันเป็นหลักอยู่ด้านล่าง นอก
จากนึ้ยังได้รับประทานของท้องถิ่น และน้าชาแสนอร่อยอีกด้วย
เทศกาลของ บรูไน
เทศกาลเมาลิด เป็นคานามเกี่ยวกับเวลาและสถานที่ซึ่งจะแปลความหมายเป็น
เวลา หรือสถานที่นั้นย่อมขึ้นอยู่กับส่วนขยายภายในประโยค ดังนั้น เมาลิด
หมายถึง สถานที่เกิดของท่านนบีอย่างแน่นอน นักวิชาการต่างมีความเห็นตรงกัน
ว่า นบีมุฮัมหมัด (ซ.ล.) เกิดในวันจันทร์เดือน รอบีอุลเอาวัล ปีช้าง เพราะท่าน อิ
มามมุสลิมได้บันทึกหะดีษไว้ในหนังสือ ซ่อเฮียหของท่านจาก อบีกอตาดะฮรฎิฯ
ว่าท่านร่อซูลศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ถูกถามเกี่ยวกับ การถือศีลอดในวัน
จันทร์ท่านกล่าวว่า “นั่นคือวันที่ฉันเกิด วันที่ฉันได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนบี และ
เป็นวันที่อัลกรุอานได้ถูกประทาน มายังฉัน” แต่จะตรงกับวันที่เท่าไหร่นั้น
นักวิชาการมีความเห็นแตกต่างกัน ท่านอิบนุอิสหาก ผู้บันทึกชีวประวัติของท่านน
บีคนแรกมีความเห็นว่า ท่านนบีมุฮัมหมัด (ซ.ล.) เกิดในวันที่ 12 เดือนรอบีอุล
เอาวัล ท่านอิบนุฮิชาม ได้รายงานอยู่ในหนังสือชีวประวัติของท่านนบีมุฮัมหมัด
เทศกาลกาไว ดายัค คือ เทศกาลเก็บเกี่ยวของชนเผ่า
พื้นเมือง โดยเฉพาะชาวอิบันและบิดายูห์ ซึ่งจะสวมชุด
ประจาเผ่าของตนมาเข้าร่วมงานเฉลิมฉลอง ทาพิธีบูชาเทพ
แห่งข้าวและเทพแห่งความร่ารวย และถวายอาหารพื้นเมือง
หลายชนิดและตูอัค (เหล้าที่หมักจากข้าว) นี่คือเทศกาลที่
นักท่องเที่ยวทั้งชาวมาเลเซียและชาวต่างชาติ ‘ไม่ควรพลาด
ตราแผ่นดิน บรูไน ตราแผ่นดินของบรูไน (มลายู: ‫األسلحة‬ ‫من‬ ‫معطف‬
‫بروناي‬
‎). ใช้เครื่องหมายอย่างเดียวกับที่ปรากฏในธงชาติ
บรูไน เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2475 ประกอบด้วยสัญลักษณ์ 5
อย่าง คือ ราชธวัช (ธง) พระกลด (ร่ม) ปีกนก 4 ขน มือสอง
ข้าง และซีกวงเดือนหรือพระจันทร์เสี้ยว ภายในวงเดือนซึ่ง
หงายขึ้นนั้น มีข้อความภาษาอาหรับจารึกไว้ ซึ่งแปลความได้
ว่า "น้อมรับใช้ตามแนวทางของพระอัลเลาะห์เสมอ"
("Always in service with God's
guidance") เบื้องล่างสุดมีแพรแถบจารึกชื่อประเทศไว้
ว่า บรูไนดารุสซาลาม (มลายู: ‫السالم‬ ‫دار‬ ‫بروناي‬
‎)
แปลว่า นครแห่งสันติ
ค.ศ. 1932–1950
(พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2493)
ค.ศ. 1950–1959 (พ.ศ.
2493 - พ.ศ. 2502)
บรรณานุกรม
วิกิพีเดีย. “ชุดประจาชาติบรูไน. “ประเทศบรูไน. 26ส.ค 2564
<https://travelblog.expedia.co.th> ส.ค 2564.
“ประเทศบรูไน. 26ส.ค 2564
<yingpookhttps://www.yingpook.com>ส.ค 2564

More Related Content

Similar to ปรียาภรณ์ เนื่องโนราช

Similar to ปรียาภรณ์ เนื่องโนราช (10)

อาหารอาเซียนลงบล๊อค
อาหารอาเซียนลงบล๊อคอาหารอาเซียนลงบล๊อค
อาหารอาเซียนลงบล๊อค
 
สรไกร
สรไกรสรไกร
สรไกร
 
math
mathmath
math
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
ธงชาติ
ธงชาติธงชาติ
ธงชาติ
 
Pattaraporn .17
Pattaraporn .17Pattaraporn .17
Pattaraporn .17
 
ชนาธิป 23
ชนาธิป 23ชนาธิป 23
ชนาธิป 23
 
Flower
FlowerFlower
Flower
 
Asean national flowers
Asean national flowersAsean national flowers
Asean national flowers
 
Asean national flowers
Asean national flowersAsean national flowers
Asean national flowers
 

ปรียาภรณ์ เนื่องโนราช

  • 1. ประกอบรายวิชา IS1 โดย นางสาวปรียาภรณ์ เนื่องโนราช. . เลขที่28 ห้องม.5/2
  • 2. คานา ประเทศบรูไนเป็นประเทศที่น่าสนใจมากๆอีกประเทศหนึ่งเลย ทีเดียวมีเรื่องในศึกษามากมายไม่ว่าจะเป็น ประวัติความเป็นมา ชุดประจาชาติ ดอกไม้ประจาชาติ อาหารประจาชาติ ธงชาติ รวมถึงตราประจาแผนดิน สารบัณ 1. ประวัติของประเทศ หน้าที่1 2. ความเป็นมาของประเทศ หน้าที่3 3. ดอกไม้ประจาชาติ หน้าที่6 4. ชุดประจาชาติ หน้าที่7 5. อาหารประจาชาติ หน้าที่8 6. สถานที่ท่องเที่ยว หน้าที่9 7. เทศการของต่างๆ หน้าที่12 8. ตราประจาแผนดิน หน้าที่13
  • 3. ประวัติประเทศ บรูไน บรูไน (มลายู: Brunei) หรือ เนอการาบรูไนดารุซซาลาม (Negara Brunei Darussalam, ยาวี: ‫دارالسالم‬ ‫بروني‬ ‫نڬارا‬‎ ‎)เป็นรัฐ เอกราชบนเกาะบอร์เนียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชายฝั่ง ทางด้านเหนือจรดทะเลจีนใต้ พรมแดนทางบกที่เหลือจากนั้นถูก ล้อมรอบด้วยรัฐซาราวักของมาเลเซียตะวันออก บรูไนเป็นประเทศเดียวที่ มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่บนเกาะบอร์เนียว ส่วนพื้นที่ที่เหลือของเกาะถูกแบ่งเป็น ของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ประเทศบรูไนมีประชากรประมาณ 423,196 คนใน พ.ศ. 2560ประเทศบรูไนเจริญถึงขีดสุดในสมัยสุลต่าน โบลเกียห์ที่ปกครองจักรวรรดิบรูไนช่วง พ.ศ. 2028-พ.ศ. 2071 โดยกล่าว กันว่าสามารถควบคุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะบอร์เนียวได้ อาทิพื้นที่ใน ปัจจุบันของรัฐซาราวัก รัฐซาบะฮ์ กลุ่มเกาะซูลูทางตะวันออกเฉียงเหนือ ของเกาะบอร์เนียว มะนิลาและหมู่เกาะที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของ เกาะบอร์เนียว ต่อมาใน ค.ศ. 1521 เฟอร์ดินานด์ มาเจลลันมาพบกับ บรูไน และใน ค.ศ. 1578 บรูไนต่อสู้กับสเปนในสงครามกัสติเลียน
  • 4. ลักษระประเทศ จากแผนที่ ในช่วงศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิบรูไนเริ่มเสื่อมอานาจ สุลต่าน ยอมยกซาราวัก (กูชิง) ให้เจมส์ บรูก และแต่งตั้งให้เป็นรายา แห่งซาราวัก จากนั้นซาราวักก็ตกเป็นของบริษัทบริษัทเอ็นบีซีซี ของอังกฤษ ใน พ.ศ. 2431 บรูไนได้กลายเป็นรัฐในอารักขาของ อังกฤษและได้รับมอบหมายให้เป็นพลเมืองอังกฤษในฐานะ ผู้บริหารอาณานิคมใน พ.ศ. 2449 หลังจากนั้นในช่วง สงครามโลกครั้งที่สองญี่ปุ่นได้บุกเข้ายึดครองบรูไน พ.ศ. 2502 มีการเขียนกฎหมายสูงสุดฉบับใหม่ขึ้น และใน พ.ศ. 2505 การ ประท้วงขนาดเล็กที่ต่อต้านระบอบกษัตริย์สิ้นสุดลงด้วยความ ช่วยเหลือของอังกฤษ[6] บรูไนเป็นประเทศผู้ส่งออกน้ามันเป็นสินค้าหลัก (ปริมาณการ ผลิตน้ามันประมาณ 180,000 บาเรล/วัน)
  • 5. ความเป็นมา ต่างๆ บรูไนเป็นที่รู้จักและมีอานาจมากในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 โดยมีอาณาเขตครอบครองส่วนใหญ่ของเกาะบอร์เนียวและส่วนหนึ่งของหมู่เกาะ ซูลู มีชื่อเสียงทางการค้า สินค้าส่งออกที่สาคัญในสมัยนั้น ได้แก่ การบูร พริกไทย และทองคา หลังจากนั้นบรูไนเสียดินแดนและเสื่อมอานาจลงเนื่องจากสเปน และเนเธอร์แลนด์ ได้แผ่อานาจเข้ามา จนถึงสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในปี พ.ศ. 2431 (ค.ศ. 1888) ด้วยความวิตกว่า จะต้องเสียดินแดนต่อไปอีก บรูไนจึงได้ยินยอมเข้าอยู่ภายใต้อารักขาของอังกฤษ และต่อมาในปี พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) บรูไนได้ลงนามในสนธิสัญญายินยอมอยู่ เป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษอย่างเต็มรูปแบบ ในปี พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929) บรูไนสารวจพบน้ามันและแก๊สธรรมชาติที่เมืองเซรี อา ทาให้บรูไนมีฐานะมั่งคั่งในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ได้มีการเลือกตั้ง ซึ่งพรรคประชาชนบอร์เนียว (Borneo People’s Party) ได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น แต่ถูกกีดกันไม่ให้ จัดตั้งรัฐบาล ต่อมาจึงได้ยึดอานาจจากสุลต่าน แต่สุลต่านทรงได้รับความ ช่วยเหลือจากกองทหารกูรข่าที่กองทัพบกอังกฤษส่งมาจากสิงคโปร์ หลังจากนั้น ได้มีการประกาศภาวะฉุกเฉิน และต่ออายุทุก ๆ 2 ปี เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน หลังจากที่อยู่ภายใต้อารักขาของอังกฤษมาถึง 95 ปี บรูไนก็ได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984)
  • 6. นโยบายหลักของบรูไน ได้แก่การสร้างความเป็นปึกแผ่นภายในชาติ และดารง ความเป็นอิสระของประเทศ ทั้งนี้บรูไนมีที่ตั้งที่ถูกโอบล้อมโดยมาเลเซีย และมี อินโดนีเซียซึ่งเป็นประเทศมุสลิมขนาดใหญ่อยู่ทางใต้ บรูไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด กับสิงคโปร์เนื่องจากมีเงื่อนไขคล้ายคลึงกันหลายประการ อาทิ เป็นประเทศเล็ก และมีอาณาเขตติดกับประเทศมุสลิมขนาดใหญ่ นับจากการพยายามยึดอานาจเมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลได้ประกาศกฎอัยการศึก ส่งผลให้ไม่มีการเลือกตั้ง รวมทั้งบทบาทพรรคการเมืองได้ถูกจากัดอย่างมาก จน ปัจจุบันพรรคการเมือง ได้แก่ Parti Perpaduan Kebangsaan Brunei (PPKB) และ Parti Kesedaran Rakyat (PAKAR) ไม่มี บทบาทมากนัก เนื่องจากรัฐบาลควบคุมด้วยมาตรการต่าง ๆ อาทิ กฎหมายความ มั่นคงภายในประเทศ (Internal Security Act (ISA)) ห้ามการชุมนุม ทางการเมือง และสามารถถอดถอนการจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองได้ ตลอดจนห้ามข้าราชการ (ซึ่งมีเป็นจานวนกว่าครึ่งของประชากรบรูไนทั้งหมด) เป็น สมาชิกพรรคการเมือง นอกจากนี้รัฐบาลเห็นว่าพรรคการเมืองไม่มีความจาเป็น เนื่องจากประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นหรือขอความช่วยเหลือจาก ข้าราชการของสุลต่านได้อยู่แล้ว เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2547 ได้มีการจัดการประชุมของสภาเป็นครั้งแรก ตั้งแต่ บรูไนประกาศเอกราช
  • 7. ความเป็นมาของธงชาติ ประเทศบรูไน เริ่มมีธงชาติของตนเองใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2502 ซึ่งขณะนั้นบรูไนยังเป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษ (สหราชอาณาจักร) ต่อมาภายหลังจึงได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2527 ภายใต้ชื่อประเทศ "บรูไนดารุสซาลาม"(แปลว่า นครแห่งสันติสุข)เดิมรัฐสุลต่านบรูไนใช้ธงสีเหลือง เป็นสัญลักษณ์ของรัฐมาโดยตลอดแม้อยู่ในช่วงของการเป็นรัฐในอารักขาของส หราชอาณาจักร ต่อมาจึงได้มีการเพิ่มแถบสี คาดสีขาว-ดา ลงบนธงในปี พ.ศ. 2449 เพื่อให้เกิดความแตกต่างจากธงอื่นที่ใช้สีเหลืองชัดเจนขึ้น และได้มีการแก้ไข แบบธงอีกครั้งโดยการเพิ่มรูปตราแผ่นดินลงบนกลางธงในปี พ.ศ. 2509 ดัง ลักษณะที่ปรากฏในปัจจุบันนี้ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สีเหลืองจะใช้เป็นสีประจาสถาบันพระมหากษัตริย์ และเป็นสีของธงประจาพระองค์ยังดี เปอร์ตวน อากง แห่งสมาพันธ์มาเลเซีย และ ธงมหาราชของราชอาณาจักรไทย รวมถึงสีธงประจาตาแหน่งประธานาธิบดีแห่ง สาธารณรัฐอินโดนีเซียอีกด้วย ธงของสุลต่านแห่งบรูไนดารุสซาลาม ธงกองทัพ
  • 8. ดอกไม้ประจาชาติ บรูไน ดอก ซิมปอร์(Simpor) ดอก ซิมปอร์(Simpor) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ดอกส้านชะวา (Dillenia) ดอกไม้ประจา ท้องถิ่นบรูไน ที่มีกลีบขนาดใหญ่สีเหลือง หากบาน เต็มที่แล้วกลีบดอกจะมีลักษณะคล้ายร่ม พบเห็น ได้ตามแม่น้าทั่วไปของบรูไน มีสรรพคุณช่วยรักษา บาดแผล หากใครแวะไปเยือนบรูไน จะพบเห็นได้ จากธนบัตรใบละ 1 ดอลลาร์ของประเทศบรูไน และในงานศิลปะพื้นเมืองอีกด้วย
  • 9. ชุดประจาชาติของประเทศ บรูไน บาจู มลายู และบาจูกุรุง ชุดประจาชาติของบรูไนคล้ายกับชุดประจาชาติของผู้ชาย ประเทศมาเลเซีย เรียกว่า บาจู มลายู ส่วนชุดของผู้หญิงเรียกว่า บาจูกุรุง (Baju Kurung) แต่ ผู้หญิงบรูไนจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าที่มีสีสันสดใส โดยมากมักจะเป็นเสื้อผ้าที่คลุมร่างกาย ตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า ส่วนผู้ชายจะแต่งกายด้วยเสื้อแขนยาว ตัวเสื้อยาวถึงเข่า นุ่งกางเกง ขายาวแล้วนุ่งโสร่ง เป็น การสะท้อนวัฒนธรรมสังคม แบบอนุรักษ์นิยม เพราะบรูไนเป็นประเทศมุสสิม จึงต้องแต่งกายมิดชิด และสุภาพเรียบร้อย
  • 10. อาหารประจาชาติ อัมบูยัต (Ambuyat) อัมบูยัต(Ambuyat) มีลักษณะเด่นคือ เหนียวข้นคล้ายข้าวต้มหรือโจ๊ก ไม่มีรสชาติ มีแป้งสาคู เป็นส่วนผสมหลัก วิธีทาน จะใช้แท่งไม้ไผ่ 2 ขาซึ่งเรียกว่า chandas ม้วนแป้งรอบ ๆ แล้วจุ่มใน ซอสผลไม้เปรี้ยวที่เรียกว่า cacah หรือซอสที่เรียกว่า cencalu ซึ่งทาจากกะปิทานคู่กับเครื่องเคียงอีก 2-3 ชนิด เช่น เนื้อห่อใบตองย่าง เนื้อทอด เป็นต้น การรับประทานอัมบูยัตให้ได้รสชาติต้องทานร้อน ๆ และกลืน โดยไม่ต้องเคี้ยว
  • 11. สุดยอดสถานที่ท่องเที่ยวใน บรูไน Sultan Omar Ali Saifuddin เริ่มต้นกันด้วยที่แรกซึ่งห้ามพลาดเด็ดขาดกับหนึ่งในมัสยิดที่สวยที่สุดของโลก อย่าง “มัสยิดสุลต่าน โอมาร์ อาลี ไซฟุดดิน” หรือมัสยิดที่ใครหลายคนเรียกกันว่า มินิทัชมาฮาล ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางเมืองกรุงบันดาร์เซอรีเบอกาวัน เมืองหลวงของ ประเทศบรูไน ซึ่งถูกออกแบบและดาเนินการสร้างโดยสุลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟัด ดินที่ 3 สุลต่านองค์ที่ 28 ของบรูไน และเป็นที่มาของชื่อมัสยิดแห่งนี้ภายในมัสยิด ประดับตกแต่งด้วยหินอ่อนจากอิตาลี โคมคริสตัลจากประเทศอังกฤษ และพรม เส้นใยพิเศษทอจากประเทศซาอุดิอาระเบีย ซึ่งถูกผสมผสานกับสถาปัตยกรรม แบบอิสลาม ภายนอกจะเห็นเป็นโดมทองคาโดดเด่นชวนให้มองด้วยความสูงที่ มากถึง 52 เมตร ซึ่งถูกสร้างจากคาบริสุทธิ์มากถึง 3.3 ล้านแผ่น และด้านหน้ายังมี ทะเลสาบที่ถูกขุดไว้ เพื่อสะท้อนความงดงามของมัสยิดออกมาทั้งในยามกลางวัน รวมถึงยามกลางคืน และเป็นที่ตั้งของเรือจาลองพระราชพิธีด้วย
  • 12. Royal Regalia Museum สัมผัสความยิ่งใหญ่ของราชวงศ์และประวัติขององค์สุลต่าน กับพิพิพิธภัณฑ์ รอยัลเรกกาเลีย พิพิธภัณฑ์ที่ถูกยกย่องว่ามีสมบัติล้าค่า และน่าชื่นชมที่สุดในทวีป เอเชีย ตั้งอยู่ใจกรุงบันดาร์เซอรีเบอกาวันเช่นกัน ซึ่งเป็นสถานที่ที่รวบรวมข้าวของ เครื่องใช้ของสุลต่านองค์ปัจจุบันซึ่งล้วนแล้วแต่ไม่สามารถประเมินค่าออกมาได้ หรือถ้าจะให้ประเมินก็คงต้องมีคนช็อกไปตามๆกันแน่ๆ โดยทุกอย่างในนี้ล้วนทา ขึ้น หรือประกอบด้วยทองคา เช่น ราชรถทองคา ฉลองพระองค์ทองคา เครื่องทรง ทองคา หรือแม้แต่อาวุธก็ยังเป็นทองคา รวมทั้งยังมีเครื่องราชบรรณาการจาก ประเทศต่างๆ ที่มีความงดงาม และหาดูได้ยาก เช่น คริสตัล หยก งาช้าง เป็นต้น ใครที่ได้มารับรองจะรู้สึกไม่อยากออกไปไหนเลยทีเดียว The Istana Nurul Iman Palace งกว่าอลังการงานสร้าง ก็อลังการพระราชวังสร้าง กับ “อิสตานา นูรุล อิมาน” พระราชวังที่ได้รับการยกย่องว่าใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งใหญ่กว่าพระราชวังบักกิ้งแฮม 3 เท่า และพระราชวังแวร์ซาย 4 เท่า ภายในถูกตกแต่งด้วยความประณีตงดงาม จากวัสดุชั้นเลิศและของที่ขาดไม่ได้อย่างทองคา ซึ่งประกอบไปด้วยห้องต่างๆ 1,788 ห้อง, ห้องน้า 257 ห้อง และสระน้า 5 สระ นอกจากนี้ยังมีห้องจัดเลี้ยง ขนาดใหญ่ซึ่งบรรจุคนได้มากถึง 5,000 คน ยัง ยัง ไม่จบที่นี่ยังมี Ferrari และ Rolls Royces ที่สั่งทาพิเศษคันเดียวในโลก, เครื่องบินโบอิ้ง 747-400 มูลค่า กว่า 200 ล้านดอลลาร์,เครื่องบินส่วนพระองค์อีก 6 ลา และคอกม้าติดแอร์สาหรับ ม้าแข่งโปโลขององค์สุลต่าน 200 ตัว ไม่ตาร้อนตอนนี้จะให้ตาร้อนตอนไหน แต่ใคร ที่ร้อนใจอยากไปดูตอนนี้เราขอให้ใจเย็นก่อน เพราะพระราชวังแห่งนี้จะเปิดให้เข้า ชมเพียงปีละครั้งหลังเดือนรอมฎอน หรือหลังพิธีถือศีลอดเป็นต้นไปเท่านั้น
  • 13. Ulu Temburong National Park พักสายตาจากแสงทองของทองคาเปลี่ยนมาชมแสงของธรรมชาติที่มีมูลค่าไม่แพ้ กันบ้าง ผ่านอุทยานแห่งชาติอูลู เทมบูรง ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น “มงกุฎสีเขียว แห่งบรูไน” ใครที่เป็นสายธรรมชาติบอกเลยว่าไม่ควรพลาด เพราะเราจะได้อยู่ ท่ามกลางภูเขา น้าตก ทะเลสาบ และลาธารใสสะอาดที่สามารถมองเห็นสัตว์ใต้ น้า ซึ่งภายในอุทยานก็จะมีกิจกรรมต่างๆให้เราทามากมายจนไม่รู้สึกเบื่อ อีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นการตกปลา แคมป์ ปิ้ง ล่องเรือ หรือส่องสัตว์หาชมยากอย่างลิงจมูก ยาว หรือผีเสื้อราชาถุงทองบรุค เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีไฮไลต์สุดเด็ดที่พร้อมพิชิต ใจนักท่องเที่ยวอย่าง Canopy Walkway ทางเดินลอยฟ้าที่จะให้เราได้เห็น วิวธรรมชาติจากมุมสูงอย่างเต็มตา และได้สูดอากาศบริสุทธิ์อย่างเต็มปอดกันไป เลย Kampong Ayer สัมผัสวิถีชีวิตชาวบรูไนแบบดั้งเดิม ผ่านหมู่บ้านกัมปงไอเยอร์ หมู่บ้านกลางน้าที่ ใหญ่ที่สุดในโลก (ที่สุดในโลกอีกแล้ววว) ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้าบรูไน ซึ่งชาว ยุโรปยุคแรกๆที่เข้ามา เรียกหมู่บ้านกลางน้าแห่งนี้ว่า เวนิชแห่งตะวันออก ภายใน แบ่งออกเป็นหมู่บ้านเล็กๆ อีก 42 หมู่บ้าน เชื่อมต่อกันเป็นระยะทางกว่า 30 กิโลเมตร และมีประชากรอาศัยอยู่กว่า 30,000 คน โดยเราสามารถเยี่ยมชมวิถี ชีวิต และการคมนาคมซึ่งสัญจรกันโดยใช้เรือพาย หรือชมสถาปัตยกรรมโบราณ จากบ้านเรือนนับพันบนแม่น้าบรูไนที่ใช้เสาไม้ค้ายันเป็นหลักอยู่ด้านล่าง นอก จากนึ้ยังได้รับประทานของท้องถิ่น และน้าชาแสนอร่อยอีกด้วย
  • 14. เทศกาลของ บรูไน เทศกาลเมาลิด เป็นคานามเกี่ยวกับเวลาและสถานที่ซึ่งจะแปลความหมายเป็น เวลา หรือสถานที่นั้นย่อมขึ้นอยู่กับส่วนขยายภายในประโยค ดังนั้น เมาลิด หมายถึง สถานที่เกิดของท่านนบีอย่างแน่นอน นักวิชาการต่างมีความเห็นตรงกัน ว่า นบีมุฮัมหมัด (ซ.ล.) เกิดในวันจันทร์เดือน รอบีอุลเอาวัล ปีช้าง เพราะท่าน อิ มามมุสลิมได้บันทึกหะดีษไว้ในหนังสือ ซ่อเฮียหของท่านจาก อบีกอตาดะฮรฎิฯ ว่าท่านร่อซูลศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ถูกถามเกี่ยวกับ การถือศีลอดในวัน จันทร์ท่านกล่าวว่า “นั่นคือวันที่ฉันเกิด วันที่ฉันได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนบี และ เป็นวันที่อัลกรุอานได้ถูกประทาน มายังฉัน” แต่จะตรงกับวันที่เท่าไหร่นั้น นักวิชาการมีความเห็นแตกต่างกัน ท่านอิบนุอิสหาก ผู้บันทึกชีวประวัติของท่านน บีคนแรกมีความเห็นว่า ท่านนบีมุฮัมหมัด (ซ.ล.) เกิดในวันที่ 12 เดือนรอบีอุล เอาวัล ท่านอิบนุฮิชาม ได้รายงานอยู่ในหนังสือชีวประวัติของท่านนบีมุฮัมหมัด เทศกาลกาไว ดายัค คือ เทศกาลเก็บเกี่ยวของชนเผ่า พื้นเมือง โดยเฉพาะชาวอิบันและบิดายูห์ ซึ่งจะสวมชุด ประจาเผ่าของตนมาเข้าร่วมงานเฉลิมฉลอง ทาพิธีบูชาเทพ แห่งข้าวและเทพแห่งความร่ารวย และถวายอาหารพื้นเมือง หลายชนิดและตูอัค (เหล้าที่หมักจากข้าว) นี่คือเทศกาลที่ นักท่องเที่ยวทั้งชาวมาเลเซียและชาวต่างชาติ ‘ไม่ควรพลาด
  • 15. ตราแผ่นดิน บรูไน ตราแผ่นดินของบรูไน (มลายู: ‫األسلحة‬ ‫من‬ ‫معطف‬ ‫بروناي‬ ‎). ใช้เครื่องหมายอย่างเดียวกับที่ปรากฏในธงชาติ บรูไน เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2475 ประกอบด้วยสัญลักษณ์ 5 อย่าง คือ ราชธวัช (ธง) พระกลด (ร่ม) ปีกนก 4 ขน มือสอง ข้าง และซีกวงเดือนหรือพระจันทร์เสี้ยว ภายในวงเดือนซึ่ง หงายขึ้นนั้น มีข้อความภาษาอาหรับจารึกไว้ ซึ่งแปลความได้ ว่า "น้อมรับใช้ตามแนวทางของพระอัลเลาะห์เสมอ" ("Always in service with God's guidance") เบื้องล่างสุดมีแพรแถบจารึกชื่อประเทศไว้ ว่า บรูไนดารุสซาลาม (มลายู: ‫السالم‬ ‫دار‬ ‫بروناي‬ ‎) แปลว่า นครแห่งสันติ ค.ศ. 1932–1950 (พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2493) ค.ศ. 1950–1959 (พ.ศ. 2493 - พ.ศ. 2502)
  • 16. บรรณานุกรม วิกิพีเดีย. “ชุดประจาชาติบรูไน. “ประเทศบรูไน. 26ส.ค 2564 <https://travelblog.expedia.co.th> ส.ค 2564. “ประเทศบรูไน. 26ส.ค 2564 <yingpookhttps://www.yingpook.com>ส.ค 2564