SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
1
เมืองยะลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เทศบาลนครยะลา เมืองอันเป็นศูนย์กลางความเจริญ การบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้
การศึกษาขั้นสูง อีกทั้งยังเป็นเมืองที่มีการวางผังที่สวยงามและเป็นระเบียบอีกด้วย มีพื้นที่ 19 ตาราง
กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตาบลสะเตง อาเภอเมือง จังหวัดยะลา ปัจจุบันมีประชากร 62,3191
คน ความ
หนาแน่นประชากรในเมือง 3,280 คนต่อตารางกิโลเมตร
1. การขยายตัวของเมือง
เทศบาลนครยะลามีความยาวถนนรวมทั้งสิ้น 257.82 กิโลเมตร เมื่อนามาคานวณการประมาณ
ค่าความหนาแน่นแบบเคอร์เนล พบว่าเมืองยะลามีความหนาแน่นของถนนเฉลี่ย 1.47 เมตรต่อตางราง
เมตร ความหนาแน่นสูงสุด 23.51211548 เมตรต่อตางรางเมตร บริเวณที่มีความหนาแน่นสูงสุดนั้นอยู่
บริเวณใจกลางเทศบาลนครยะลา (ตาบลสะเตง) ค่าการกระจายของถนน (ค่าความแปรปรวน:Varian)
ของถนนในเขตเมืองยะลาคิดเป็น 0.0076 (ภาพที่ 3)
ภาพที่ 3 แผนที่โครงข่ายถนนของเมืองยะลา
ปัจจุบัน ตัวเมืองยะลาได้แผ่ขยายไปทางทิศตะวันออกจนครอบคลุมบางส่วนของเทศบาลเมือง
สะเตงนอก ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากทางตะวันตกของเมืองยะลามีแม่น้าปัตตานีไหลผ่าน เป็นเสมือนแนวกัน
ชนธรรมชาติไม่ให้เมืองขยายไปทิศดังกล่าว อนึ่ง ลักษณะการขยายตัวของเมืองยะลานั้นแผ่ขยาย
ออกไปจากศูนย์กลางของเมืองอย่างต่อเนื่อง โดยไม่ปรากฏศูนย์กลางความเจริญใหม่ที่แยก
ออกจากศูนย์เดิม (ภาพที่ 4)
1
ข้อมูลประชากร 2557 กรมการปกครอง
2
ภาพที่ 4 แผนที่แสดงความหนาแน่นของถนนของเมืองยะลา
อาเภอเมืองยะลามีเมืองทั้งหมด 6 เมือง โดยเมืองยะลามีความยาวถนนมากที่สุดรองลงมาคือ
เมืองสะเตงนอก อันเป็นพื้นที่ที่รองรับการขยายตัวของเมืองยะลา เมื่อเปรียบเทียบค่าความหนาแน่น
ของถนนกับค่าการกระจาย(ค่าความแปรปรวน:Varian)2
ของถนนนั้นปรากฏว่ามีผลคล้อยตามกัน
กล่าวคือ ในเทศบาลทั้งสองแห่งมีความยาวถนนมากและอยู่กระจุกตัวกันหนาแน่นมากกว่าตาบลอื่นๆ
ซึ่งถือว่าเป็นพื้นที่ที่มีความเจริญน้อยกว่าเทศบาลทั้งสอง (ภาพที่ 5) ( ภาพที่ 6)
ภาพที่ 5 แผนภูมิความยาวของถนนของถนนตาบลต่างๆในอาเภอเมืองยะล
2
ค่าความแปรปรวน (Varian) เป็นสถิติที่วัดการกระจายของข้อมูล ดังนั้นในที่นี้จึงใช้คาว่า การกระจายของถนน เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย
ขึ้น คือ บริเวณใดที่มีค่าค่าความแปรปรวนน้อย บริเวณนั้นก็จะมีการกระจุกตัวของถนนมาก ในทางตรงข้ามกัน บริเวณใดที่มีค่าความ
แปรปรวนมาก บริเวณนั้นก็จะมีการกระจุกตัวน้อย
0
50
100
150
200
250
300
ตาเซะ
ท.ต.ท่าสาป
บันนังสาเรง
ท.ต.บุดี
เปาะเส้ง
พร่อน
ยะลา
ท.ต.ยุโป
ลาพะยา
ท.ต.ลาใหม่
ลิดล
ท.น.ยะลา
ท.ม.สะเตงนอก
หน้าถ้า
ความยาวถนนSum_Road_l
กิโลเมตร
ทิศทางการขยายตัว
3
ภาพที่ 6 แผนภูมิค่าการกระจาย(Varian) ของถนนตาบลต่างๆในอาเภอเมืองยะลา
2. พื้นที่สีเขียวภายในเมืองยะลา
เมืองยะลา มีพื้นที่สีเขียวครอบคลุมพื้นที่ 10.259 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 54 ของพื้นที่
ทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนของประชากรต่อพื้นที่สีเขียวจะพบว่ายะลามีอัตราส่วน 6,075 คนต่อ
ตารางกิโลเมตร พื้นที่สีเขียวกระจายอยู่ทั่วบริเวณ ส่วนใหญ่อยู่กระจัดกระจายทั่วเมืองสลับกับพื้นที่สิ่ง
ปลูกสร้างจากใจกลางเมือง อันเป็นผลมากจากการการปลูกต้นไม้ตลอดสองฝั่งถนนทั่วทั้งเมืองยะลา
(ภาพที่ 7)
ภาพที่ 7 แสดงพื้นที่สีเขียวภายในเมืองยะลา
0
0.1
0.2
0.3
0.4
0.5
ตาเซะ
ท.ต.ท่าสาป
บันนังสาเรง
ท.ต.บุดี
เปาะเส้ง
พร่อน
ยะลา
ท.ต.ยุโป
ลาพะยา
ท.ต.ลาใหม่
ลิดล
ท.น.ยะลา
ท.ม.สะเตงนอก
หน้าถ้า
ค่าการกระจายของถนน(Varian)
Var_Road_l
ศูนย์กลางเมือง (ศาลหลักเมืองยะลา)

More Related Content

More from FURD_RSU

เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

เมืองยะลา การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว

  • 1. 1 เมืองยะลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว เทศบาลนครยะลา เมืองอันเป็นศูนย์กลางความเจริญ การบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้ การศึกษาขั้นสูง อีกทั้งยังเป็นเมืองที่มีการวางผังที่สวยงามและเป็นระเบียบอีกด้วย มีพื้นที่ 19 ตาราง กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตาบลสะเตง อาเภอเมือง จังหวัดยะลา ปัจจุบันมีประชากร 62,3191 คน ความ หนาแน่นประชากรในเมือง 3,280 คนต่อตารางกิโลเมตร 1. การขยายตัวของเมือง เทศบาลนครยะลามีความยาวถนนรวมทั้งสิ้น 257.82 กิโลเมตร เมื่อนามาคานวณการประมาณ ค่าความหนาแน่นแบบเคอร์เนล พบว่าเมืองยะลามีความหนาแน่นของถนนเฉลี่ย 1.47 เมตรต่อตางราง เมตร ความหนาแน่นสูงสุด 23.51211548 เมตรต่อตางรางเมตร บริเวณที่มีความหนาแน่นสูงสุดนั้นอยู่ บริเวณใจกลางเทศบาลนครยะลา (ตาบลสะเตง) ค่าการกระจายของถนน (ค่าความแปรปรวน:Varian) ของถนนในเขตเมืองยะลาคิดเป็น 0.0076 (ภาพที่ 3) ภาพที่ 3 แผนที่โครงข่ายถนนของเมืองยะลา ปัจจุบัน ตัวเมืองยะลาได้แผ่ขยายไปทางทิศตะวันออกจนครอบคลุมบางส่วนของเทศบาลเมือง สะเตงนอก ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากทางตะวันตกของเมืองยะลามีแม่น้าปัตตานีไหลผ่าน เป็นเสมือนแนวกัน ชนธรรมชาติไม่ให้เมืองขยายไปทิศดังกล่าว อนึ่ง ลักษณะการขยายตัวของเมืองยะลานั้นแผ่ขยาย ออกไปจากศูนย์กลางของเมืองอย่างต่อเนื่อง โดยไม่ปรากฏศูนย์กลางความเจริญใหม่ที่แยก ออกจากศูนย์เดิม (ภาพที่ 4) 1 ข้อมูลประชากร 2557 กรมการปกครอง
  • 2. 2 ภาพที่ 4 แผนที่แสดงความหนาแน่นของถนนของเมืองยะลา อาเภอเมืองยะลามีเมืองทั้งหมด 6 เมือง โดยเมืองยะลามีความยาวถนนมากที่สุดรองลงมาคือ เมืองสะเตงนอก อันเป็นพื้นที่ที่รองรับการขยายตัวของเมืองยะลา เมื่อเปรียบเทียบค่าความหนาแน่น ของถนนกับค่าการกระจาย(ค่าความแปรปรวน:Varian)2 ของถนนนั้นปรากฏว่ามีผลคล้อยตามกัน กล่าวคือ ในเทศบาลทั้งสองแห่งมีความยาวถนนมากและอยู่กระจุกตัวกันหนาแน่นมากกว่าตาบลอื่นๆ ซึ่งถือว่าเป็นพื้นที่ที่มีความเจริญน้อยกว่าเทศบาลทั้งสอง (ภาพที่ 5) ( ภาพที่ 6) ภาพที่ 5 แผนภูมิความยาวของถนนของถนนตาบลต่างๆในอาเภอเมืองยะล 2 ค่าความแปรปรวน (Varian) เป็นสถิติที่วัดการกระจายของข้อมูล ดังนั้นในที่นี้จึงใช้คาว่า การกระจายของถนน เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย ขึ้น คือ บริเวณใดที่มีค่าค่าความแปรปรวนน้อย บริเวณนั้นก็จะมีการกระจุกตัวของถนนมาก ในทางตรงข้ามกัน บริเวณใดที่มีค่าความ แปรปรวนมาก บริเวณนั้นก็จะมีการกระจุกตัวน้อย 0 50 100 150 200 250 300 ตาเซะ ท.ต.ท่าสาป บันนังสาเรง ท.ต.บุดี เปาะเส้ง พร่อน ยะลา ท.ต.ยุโป ลาพะยา ท.ต.ลาใหม่ ลิดล ท.น.ยะลา ท.ม.สะเตงนอก หน้าถ้า ความยาวถนนSum_Road_l กิโลเมตร ทิศทางการขยายตัว
  • 3. 3 ภาพที่ 6 แผนภูมิค่าการกระจาย(Varian) ของถนนตาบลต่างๆในอาเภอเมืองยะลา 2. พื้นที่สีเขียวภายในเมืองยะลา เมืองยะลา มีพื้นที่สีเขียวครอบคลุมพื้นที่ 10.259 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 54 ของพื้นที่ ทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนของประชากรต่อพื้นที่สีเขียวจะพบว่ายะลามีอัตราส่วน 6,075 คนต่อ ตารางกิโลเมตร พื้นที่สีเขียวกระจายอยู่ทั่วบริเวณ ส่วนใหญ่อยู่กระจัดกระจายทั่วเมืองสลับกับพื้นที่สิ่ง ปลูกสร้างจากใจกลางเมือง อันเป็นผลมากจากการการปลูกต้นไม้ตลอดสองฝั่งถนนทั่วทั้งเมืองยะลา (ภาพที่ 7) ภาพที่ 7 แสดงพื้นที่สีเขียวภายในเมืองยะลา 0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 ตาเซะ ท.ต.ท่าสาป บันนังสาเรง ท.ต.บุดี เปาะเส้ง พร่อน ยะลา ท.ต.ยุโป ลาพะยา ท.ต.ลาใหม่ ลิดล ท.น.ยะลา ท.ม.สะเตงนอก หน้าถ้า ค่าการกระจายของถนน(Varian) Var_Road_l ศูนย์กลางเมือง (ศาลหลักเมืองยะลา)