SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
ต้องปรับขนาดของชิ้นให้เท่ากันก่อนที่จะนามาบวกกัน การ ปรับขนาดของชิ้นให้เท่ากันคือการทาตัวส่วนให้เท่ากัน 
หั่นชิ้นใหญ่แต่ละชิ้นเป็นชิ้นเล็ก 2 ชิ้นเท่าๆกัน 
แปลงตัวส่วนจาก "4" เป็น "8" โดย คูณทั้งเศษและส่วนด้วย 2 
เนื่องจาก 
= 
ดังนั้น 
+ 
+ 
= 
= 
= 
1 
-23- 
คานา 
เศษส่วน คือความสัมพันธ์ตาม สัดส่วนระหว่างชิ้นส่วนของวัตถุหนึ่งเมื่อ เทียบกับวัตถุทั้งหมด เศษส่วน ประกอบด้วยตัวเศษ หมายถึงจานวน ชิ้นส่วนของวัตถุที่มี และตัวส่วน หมายถึง จานวนชิ้นส่วนทั้งหมดของวัตถุนั้น สมุดเล่มเล็กนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้ที่ สนใจได้ศึกษาหาความรู้ หากมีอะไรขาด ตกบกพร่องต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยครับ
สารบัญ 
1, ความหมายของเศษส่วน 
2. เปรียบเทียบเศษส่วน 
3. เศษส่วนแท้ 
4. เศษเกิน และจานวนคละ 
5. บวกเศษส่วน 
หัวข้อ 
หน้า 
1 
4 
10 
12 
18 
บวกเศษส่วนด้วย เศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน 
+ 
= ? 
เศษส่วน 2 จานวนนี้บวกกันโดยตรงไม่ได้ เพราะตัวส่วนไม่ เท่ากัน บอกให้รู้ว่าเนื้อหมูแต่ละชิ้นมีขนาดไม่เท่ากัน 
+ 
= ? 
นาเนื้อหมู 2 ชิ้นใหญ่ ไปบวกกับเนื้อหมู 4 ชิ้นเล็ก ได้เนื้อหมูทั้งหมดเท่าใด ? 
2 + 4 = 6 ? 
แม้ว่าจะสามารถหาผลบวกของ 2 + 4 = 6 แต่เลข 6 ไม่สื่อ ความหมาย เพราะไม่ใช่ 6 ชิ้นใหญ่ และไม่ใช่ 6 ชิ้นเล็ก 
-22-
บวกเศษส่วน ด้วยเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน 
+ 
= ? 
+ 
= 
+ 
= 
เศษส่วนทั้ง 2 จานวน มีตัวส่วนเท่ากัน แสดงว่าเนื้อหมูแต่ ละชิ้นที่อยู่ในไม้ที่ 1 และ ไม้ที่ 2 มีขนาดเท่ากัน นาเนื้อหมู 2 ชิ้นจากไม้ที่ 1 และนาเนื้อหมู 1 ชิ้นจากไม้ที่ 2 มาเสียบรวมกันไว้ในไม้ที่ 3 ไม้ที่ 3 มีเนื้อหมู 2 + 1 = 3 ชิ้น 
ภาพนี้แสดงให้เห็นว่า การบวกเลขเศษส่วนจะบวกเฉพาะตัวเศษ ตัวส่วน ทาหน้าที่เพียงบอกขนาดของชิ้นเนื้อหมู ไม่ถูกใช้ในการคานวณ 
-21- 
1. ความหมายของเศษส่วน 
เศษส่วน 
เราใช้จานวนนับสาหรับนับสิ่งของในชีวิตประจาวัน เช่น นับหมูปิ้ง 
หมูปิ้ง 1 ไม้ 
หมูปิ้ง 2 ไม้ 
หมูปิ้ง 3 ไม้ 
จานวนนับคือจานวนเต็มตั้งแต่ 1 เป็นต้นไป 1, 2, 3, . . . 
ถ้าสิ่งของที่ต้องการนับไม่ใช่ จานวนเต็มจะนับอย่างไร ? 
-1-
หมูปิ้งไม้ที่ 1 
หมูปิ้งไม้ที่ 2 
หมูปิ้งไม้ที่ 3 
หมูปิ้งไม้ที่ 4 
หมูปิ้งไม้ที่ 1 เป็นจานวนเต็มเพราะมีหมูปิ้งเต็มไม้ หมูปิ้งไม้ที่ 2, 3 และ 4 ไม่ใช่จานวนเต็มเพราะมีหมูปิ้ง ไม่เต็มไม้ จาเป็นต้องมีตัวเลขที่เขียนขึ้นเพื่อสื่อให้รู้ว่าหมูปิ้งไม้ที่ 2, 3 และ 4 เป็นหมูปิ้งที่ไม่เต็มไม้ นอกจากนี้ยังต้องบอกปริมาณเนื้อหมูที่เสียบอยู่บนไม้ได้ด้วย เช่น บอกให้รู้ว่าหมูปิ้งไม้ที่ 3 มีเนื้อหมูมากกว่าหมูปิ้งไม้ที่ 4 
นาเนื้อหมู 1 ไม้มาหั่นเป็น 4 ชิ้น เท่าๆกัน 
หยิบเนื้อหมูออกจากไม้ 1 ชิ้น เหลือเนื้อหมูอยู่บนไม้เพียง 3 ชิ้น 
-2- 
= 
2 + 3 = 5 
ได้น้าส้ม 5 ขวด 
+ 
? 
= 
2 + 3 = ? 
น้าส้ม 2 แก้ว บวกกับ น้าส้ม 3 ขวด ได้น้าส้มเท่าใด ? 
2 + 3 = 5 ? 
ตัวตั้งมีหน่วยเป็น "แก้ว" ตัวบวกมีหน่วย เป็น "ขวด" ผลบวกมีหน่วยเป็นอะไร ? 
-19-
5. บวกเศษส่วน 
+ 
= 
น้าส้ม 2 แก้ว บวกกับ น้าส้ม 3 แก้ว 
2 + 3 = 5 
ได้น้าส้ม 5 แก้ว 
2 + 3 = 5 
น้าส้ม 2 ขวด บวกกับ น้าส้ม 3 ขวด 
2 + 3 = 5 
+ 
-18- 
มีเนื้อหมูอยู่บนไม้ 3 ชิ้นจากทั้งหมด 4 ชิ้น 
ใช้สัญลักษณ์ 
บอกให้รู้ว่ามีเนื้อหมูอยู่บนไม้ 3 ชิ้นจากทั้งหมด 4 ชิ้น 
เรียก 
ว่า "เศษส่วน" 
เศษส่วน ประกอบด้วยเลข 2 จานวนซึ่งถูกคั่นด้วยเส้นตรง เลขจานวนหนึ่งอยู่เหนือเส้นตรงเรียกว่า "เศษ" เลขอีกจานวนหนึ่งอยู่ใต้เส้นตรงเรียกว่า "ส่วน" 
อ่านว่า "เศษ 3 ส่วน 4" 
เรียก "3" ว่า "เศษ" เรียก "4" ว่า "ส่วน" "เศษ" คือจานวนเนื้อหมูที่อยู่บนไม้ "ส่วน" คือจานวนเนื้อหมูทั้งหมด 
-3-
2. เปรียบเทียบเศษส่วน 
เปรียบเทียบ 
และ 
ทุกจานวนมี "ส่วน" เป็น 4 หมายถึงเนื้อหมูทุกไม้ถูกหั่นเป็น 4 ชิ้น ดังนั้น ขนาดของชิ้นในแต่ละไม้จะเท่ากัน จึงเปรียบเทียบได้โดยนับจานวนชิ้น 
มีเนื้อหมู 3 ชิ้น 
มีเนื้อหมู 2 ชิ้น 
เนื่องจาก 3 > 2 ดังนั้น 
> 
การเปรียบเทียบเศษส่วน เมื่อตัวส่วนเท่ากัน ให้พิจารณาที่ตัวเศษ โดยนาตัวเศษมาเปรียบเทียบกัน 
-4- 
+ 
เปลี่ยนหน่วยจาก "ขวด" (หน่วยใหญ่) เป็น "แก้ว" (หน่วยเล็ก) เทน้าส้ม 3 ขวดใส่แก้ว ได้น้าส้ม 6 แก้ว น้าส้มทั้งหมด = 2 แก้ว + 6 แก้ว = 8 แก้ว 
+ 
เปลี่ยนหน่วยจาก "แก้ว" (หน่วยเล็ก) เป็น "ขวด" (หน่วยใหญ่) เทน้าส้ม 2 แก้วใส่ขวด ได้น้าส้ม 1 ขวด น้าส้มทั้งหมด = 1 ขวด + 3 ขวด = 4 ขวด 
-17-
เนื่องจากตัวตั้งและตัวบวกมีหน่วยต่างกัน ในทาง คณิตศาสตร์แม้จะสามารถหาผลบวกของ 2 + 3 ได้ 5 แต่ไม่สามารถระบุหน่วยของผลบวก เพราะไม่ใช่ 5 
ถ้าต้องการให้ผลบวกมีความหมายว่า "น้าส้มทั้งหมด" ตัวตั้งและตัวบวกต้องมีหน่วยเหมือนกัน 
น้าส้ม 1 ขวด เทใส่แก้วได้ 2 แก้ว 
-16- 
เปรียบเทียบ 
กับ 
แม้ว่า 5 จะมากกว่า 3 แต่สรุปว่า 
> 
เพราะตัวส่วนไม่เท่ากัน แสดงว่าเนื้อหมูแต่ละชิ้นมีขนาดไม่เท่ากัน 
มี "ส่วน" เป็น 4 หมายถึง เนื้อหมู 1 ไม้ถูกหั่นเป็น 4 ชิ้น 
มี "ส่วน" เป็น 8 หมายถึง เนื้อหมู 1 ไม้ถูกหั่นเป็น 8 ชิ้น 
ยิ่งหั่นจานวนชิ้นมาก ขนาดของชิ้นยิ่งเล็กลง หั่น 8 ชิ้น แต่ละชิ้นมีขนาดเล็กกว่า หั่น 4 ชิ้น 
= 
= 
-5-
> 
หรือไม่ ? 
เนื้อหมู 5 ชิ้นเล็ก มีปริมาณมากกว่า เนื้อหมู 3 ชิ้นใหญ่หรือไม่ ? 
เนื่องจากขนาดของชิ้นไม่เท่ากัน จึงนาจานวนชิ้นมาเปรียบเทียบไม่ได้ 
ถ้าต้องการเปรียบเทียบจากจานวนชิ้น ต้องหั่นขนาดของชิ้นให้เท่ากัน 
นา 
มาหั่นอีกครั้ง โดยนาชิ้นใหญ่แต่ละชิ้นมาหั่น เป็นชิ้นเล็ก 2 ชิ้นเท่าๆกัน จากชิ้นใหญ่ 3 ชิ้น กลายเป็นชิ้นเล็ก 3 x 2 = 6 ชิ้น 
= 
-6- 
มีความหมายว่า ได้หมูปิ้ง 5 ไม้เต็มและ มีเศษเหลืออีก 3 ชิ้นจากไม้ละ 4 ชิ้น 
แปลงจานวนคละเป็นเศษเกิน 
ตัวอย่าง 
แปลง 
เป็นเศษเกินมีความหมายว่า "หมูปิ้ง 5 ไม้เต็ม แต่ละไม้มีเนื้อ หมู 4 ชิ้น และมีเศษอยู่อีก 3 ชิ้น คิดเป็นเนื้อหมูทั้งหมดกี่ชิ้น" 
หมูปิ้ง 5 ไม้เต็ม แต่ละไม้มีเนื้อหมู 4 ชิ้น คิดเป็นเนื้อหมูกี่ชิ้น ? ปริมาณเนื้อหมู = 5 x 4 = 20 ชิ้น 
มีเศษอีก 3 ชิ้น ปริมาณเนื้อหมูทั้งหมด = 20 + 3 = 23 ชิ้น 
= 
= 
ตัวเศษของเศษเกิน = (จานวนเต็ม x ตัวส่วนของ เศษส่วนแท้) + ตัวเศษของเศษส่วนแท้ 
ตัวส่วนของเศษเกิน = ตัวส่วนของเศษส่วนแท้ 
-15-
แปลงเศษเกินเป็นจานวนคละ 
แปลง เศษเกิน เป็น จานวนคละ โดยนาตัวส่วนไปหารตัวเศษ ผลหารเป็นจานวนเต็ม เศษที่เหลือจากการหารคือตัวเศษ ตัวหารคือตัวส่วน 
ตัวอย่าง 
มีความหมายว่า "เนื้อหมู 23 ชิ้น จากหมูปิ้งไม้ละ 4 ชิ้น" 
แปลง 
เป็นจานวนคละ มีความหมายว่า "นาเนื้อหมู 23 ชิ้น มาเสียบไม้ ไม้ละ 4 ชิ้น เสียบได้กี่ไม้ ? " 
เป็นจานวนคละ โดยนา 4 ไปหาร 23 
แปลง 
-14- 
เนื่องจากเนื้อหมูแต่ละชิ้นของ 
ถูกหั่นเป็น 2 ชิ้น ขนาดของแต่ละชิ้นเล็กลง แต่จานวนชิ้นเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า 
ดังนั้น 
= 
= 
เปรียบเทียบ 
กับ 
ได้ เพราะตัวส่วนเท่ากัน 
แสดงว่าเนื้อหมูแต่ละชิ้นมีขนาดเท่ากัน 
> 
เพราะ 6 > 5 
เนื่องจาก 
= 
ดังนั้น 
> 
-7-
จากตัวอย่างนี้ สรุปได้ว่า 
สามารถเปลี่ยนตัวเศษและตัวส่วนได้ โดยคูณทั้งเศษและส่วนด้วยตัวเลขตัวเดียวกัน โดยที่ค่าของเศษส่วนยังคงเท่าเดิม 
เทคนิคการเปรียบเทียบเศษส่วน 
สามารทาตัวส่วนของทั้งสองจานวนให้เท่ากับผลคูณของตัวส่วน โดยนาตัวส่วนของจานวนหนึ่งไปคูณทั้งเศษ และส่วนของอีกจานวนหนึ่ง เรียกหลักการนี้ว่า "คูณไขว้" 
ตัวอย่าง 
= 
= 
= 
= 
-8- 
เศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากับตัวส่วน จะมีค่าเป็น 1 เสมอ 
ตัวอย่าง 
= 1 
เพราะ 4 ÷ 4 = 1 นาเนื้อหมู 4 ชิ้นมาเสียบรวมกัน เป็นหมูปิ้ง 1 ไม้ 
มีน้าตาลทรายอยู่ทั้งหมด 28 กิโลกรัม ครึ่ง แบ่งน้าตาลทรายออกเป็นถุงเล็ก ๆ ถุงละครึ่งกิโลกรัม อยากทราบว่าจะได้ น้าตาลทรายทั้งหมดกี่ถุง ? 
ได้เท่าไรเอ่ย ?! 
-13-
4. เศษเกิน และจานวนคละ 
จานวนคละ คือจานวนที่ประกอบด้วยจานวนเต็มและเศษส่วนแท้ 
+ 
= 
+ 
= 
นาเนื้อหมู 3 ชิ้นมาจากไม้ที่ 1 และนาเนื้อหมู 2 ชิ้นมาจากไม้ที่ 2 ได้เนื้อหมู 3 + 2 = 5 ชิ้น 
นาเนื้อหมู 5 ชิ้นนี้ไปเสียบไม้ ไม้ละ 4 ชิ้น 
เสียบได้กี่ไม้ ? 
-12- 
หลังจากคูณไขว้ทุกครั้งจะได้ตัวส่วนเท่ากันเสมอ ดังนั้นการเปรียบเทียบจึงพิจารณาเฉพาะผลคูณของเศษ ดังนี้ 
ผลคูณของเศษเท่ากัน สรุปได้ว่า เศษส่วนสองจานวนนี้เท่ากัน 
ดังนั้น 
= 
เรียงเศษส่วน 4 จานวนต่อไปนี้ จากน้อยไปมาก 
, 
, 
, 
!!! ลองทาดูนะ !!! 
-9-
3. เศษส่วนแท้ 
ตัวเลขเศษส่วนปรกติใช้สื่อความหมายถึงสิ่งของที่ไม่เต็มหน่วย เช่น 
หมูปิ้งไม่เต็มไม้ เลขเศษส่วนจึงมีค่าน้อยกว่า 1 แต่มากกว่า 0 
< 
< 
0 
1 
< 
< 
0 
1 
< 
< 
< 
< 
-10- 
0 
1 
< 
< 
< 
< 
ถ้า ตัวเศษ < ตัวส่วน เช่น 1 < 4 หรือ 2 < 4 หรือ 3 < 4 หมายถึงมีเนื้อหมูไม่เต็มไม้ 
เรียกเศษส่วนที่ ตัวเศษ < ตัวส่วน ว่า "เศษส่วนแท้" 
เป็นเศษส่วนแท้ 
และ 
, 
จากตัวอย่าง 
-11-

More Related Content

More from Dee Arna'

บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Dee Arna'
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3Dee Arna'
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Dee Arna'
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Dee Arna'
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาDee Arna'
 

More from Dee Arna' (12)

บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Perfect
PerfectPerfect
Perfect
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 

เศษส่วน

  • 1.
  • 2.
  • 3. ต้องปรับขนาดของชิ้นให้เท่ากันก่อนที่จะนามาบวกกัน การ ปรับขนาดของชิ้นให้เท่ากันคือการทาตัวส่วนให้เท่ากัน หั่นชิ้นใหญ่แต่ละชิ้นเป็นชิ้นเล็ก 2 ชิ้นเท่าๆกัน แปลงตัวส่วนจาก "4" เป็น "8" โดย คูณทั้งเศษและส่วนด้วย 2 เนื่องจาก = ดังนั้น + + = = = 1 -23- คานา เศษส่วน คือความสัมพันธ์ตาม สัดส่วนระหว่างชิ้นส่วนของวัตถุหนึ่งเมื่อ เทียบกับวัตถุทั้งหมด เศษส่วน ประกอบด้วยตัวเศษ หมายถึงจานวน ชิ้นส่วนของวัตถุที่มี และตัวส่วน หมายถึง จานวนชิ้นส่วนทั้งหมดของวัตถุนั้น สมุดเล่มเล็กนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้ที่ สนใจได้ศึกษาหาความรู้ หากมีอะไรขาด ตกบกพร่องต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยครับ
  • 4. สารบัญ 1, ความหมายของเศษส่วน 2. เปรียบเทียบเศษส่วน 3. เศษส่วนแท้ 4. เศษเกิน และจานวนคละ 5. บวกเศษส่วน หัวข้อ หน้า 1 4 10 12 18 บวกเศษส่วนด้วย เศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน + = ? เศษส่วน 2 จานวนนี้บวกกันโดยตรงไม่ได้ เพราะตัวส่วนไม่ เท่ากัน บอกให้รู้ว่าเนื้อหมูแต่ละชิ้นมีขนาดไม่เท่ากัน + = ? นาเนื้อหมู 2 ชิ้นใหญ่ ไปบวกกับเนื้อหมู 4 ชิ้นเล็ก ได้เนื้อหมูทั้งหมดเท่าใด ? 2 + 4 = 6 ? แม้ว่าจะสามารถหาผลบวกของ 2 + 4 = 6 แต่เลข 6 ไม่สื่อ ความหมาย เพราะไม่ใช่ 6 ชิ้นใหญ่ และไม่ใช่ 6 ชิ้นเล็ก -22-
  • 5. บวกเศษส่วน ด้วยเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน + = ? + = + = เศษส่วนทั้ง 2 จานวน มีตัวส่วนเท่ากัน แสดงว่าเนื้อหมูแต่ ละชิ้นที่อยู่ในไม้ที่ 1 และ ไม้ที่ 2 มีขนาดเท่ากัน นาเนื้อหมู 2 ชิ้นจากไม้ที่ 1 และนาเนื้อหมู 1 ชิ้นจากไม้ที่ 2 มาเสียบรวมกันไว้ในไม้ที่ 3 ไม้ที่ 3 มีเนื้อหมู 2 + 1 = 3 ชิ้น ภาพนี้แสดงให้เห็นว่า การบวกเลขเศษส่วนจะบวกเฉพาะตัวเศษ ตัวส่วน ทาหน้าที่เพียงบอกขนาดของชิ้นเนื้อหมู ไม่ถูกใช้ในการคานวณ -21- 1. ความหมายของเศษส่วน เศษส่วน เราใช้จานวนนับสาหรับนับสิ่งของในชีวิตประจาวัน เช่น นับหมูปิ้ง หมูปิ้ง 1 ไม้ หมูปิ้ง 2 ไม้ หมูปิ้ง 3 ไม้ จานวนนับคือจานวนเต็มตั้งแต่ 1 เป็นต้นไป 1, 2, 3, . . . ถ้าสิ่งของที่ต้องการนับไม่ใช่ จานวนเต็มจะนับอย่างไร ? -1-
  • 6. หมูปิ้งไม้ที่ 1 หมูปิ้งไม้ที่ 2 หมูปิ้งไม้ที่ 3 หมูปิ้งไม้ที่ 4 หมูปิ้งไม้ที่ 1 เป็นจานวนเต็มเพราะมีหมูปิ้งเต็มไม้ หมูปิ้งไม้ที่ 2, 3 และ 4 ไม่ใช่จานวนเต็มเพราะมีหมูปิ้ง ไม่เต็มไม้ จาเป็นต้องมีตัวเลขที่เขียนขึ้นเพื่อสื่อให้รู้ว่าหมูปิ้งไม้ที่ 2, 3 และ 4 เป็นหมูปิ้งที่ไม่เต็มไม้ นอกจากนี้ยังต้องบอกปริมาณเนื้อหมูที่เสียบอยู่บนไม้ได้ด้วย เช่น บอกให้รู้ว่าหมูปิ้งไม้ที่ 3 มีเนื้อหมูมากกว่าหมูปิ้งไม้ที่ 4 นาเนื้อหมู 1 ไม้มาหั่นเป็น 4 ชิ้น เท่าๆกัน หยิบเนื้อหมูออกจากไม้ 1 ชิ้น เหลือเนื้อหมูอยู่บนไม้เพียง 3 ชิ้น -2- = 2 + 3 = 5 ได้น้าส้ม 5 ขวด + ? = 2 + 3 = ? น้าส้ม 2 แก้ว บวกกับ น้าส้ม 3 ขวด ได้น้าส้มเท่าใด ? 2 + 3 = 5 ? ตัวตั้งมีหน่วยเป็น "แก้ว" ตัวบวกมีหน่วย เป็น "ขวด" ผลบวกมีหน่วยเป็นอะไร ? -19-
  • 7. 5. บวกเศษส่วน + = น้าส้ม 2 แก้ว บวกกับ น้าส้ม 3 แก้ว 2 + 3 = 5 ได้น้าส้ม 5 แก้ว 2 + 3 = 5 น้าส้ม 2 ขวด บวกกับ น้าส้ม 3 ขวด 2 + 3 = 5 + -18- มีเนื้อหมูอยู่บนไม้ 3 ชิ้นจากทั้งหมด 4 ชิ้น ใช้สัญลักษณ์ บอกให้รู้ว่ามีเนื้อหมูอยู่บนไม้ 3 ชิ้นจากทั้งหมด 4 ชิ้น เรียก ว่า "เศษส่วน" เศษส่วน ประกอบด้วยเลข 2 จานวนซึ่งถูกคั่นด้วยเส้นตรง เลขจานวนหนึ่งอยู่เหนือเส้นตรงเรียกว่า "เศษ" เลขอีกจานวนหนึ่งอยู่ใต้เส้นตรงเรียกว่า "ส่วน" อ่านว่า "เศษ 3 ส่วน 4" เรียก "3" ว่า "เศษ" เรียก "4" ว่า "ส่วน" "เศษ" คือจานวนเนื้อหมูที่อยู่บนไม้ "ส่วน" คือจานวนเนื้อหมูทั้งหมด -3-
  • 8. 2. เปรียบเทียบเศษส่วน เปรียบเทียบ และ ทุกจานวนมี "ส่วน" เป็น 4 หมายถึงเนื้อหมูทุกไม้ถูกหั่นเป็น 4 ชิ้น ดังนั้น ขนาดของชิ้นในแต่ละไม้จะเท่ากัน จึงเปรียบเทียบได้โดยนับจานวนชิ้น มีเนื้อหมู 3 ชิ้น มีเนื้อหมู 2 ชิ้น เนื่องจาก 3 > 2 ดังนั้น > การเปรียบเทียบเศษส่วน เมื่อตัวส่วนเท่ากัน ให้พิจารณาที่ตัวเศษ โดยนาตัวเศษมาเปรียบเทียบกัน -4- + เปลี่ยนหน่วยจาก "ขวด" (หน่วยใหญ่) เป็น "แก้ว" (หน่วยเล็ก) เทน้าส้ม 3 ขวดใส่แก้ว ได้น้าส้ม 6 แก้ว น้าส้มทั้งหมด = 2 แก้ว + 6 แก้ว = 8 แก้ว + เปลี่ยนหน่วยจาก "แก้ว" (หน่วยเล็ก) เป็น "ขวด" (หน่วยใหญ่) เทน้าส้ม 2 แก้วใส่ขวด ได้น้าส้ม 1 ขวด น้าส้มทั้งหมด = 1 ขวด + 3 ขวด = 4 ขวด -17-
  • 9. เนื่องจากตัวตั้งและตัวบวกมีหน่วยต่างกัน ในทาง คณิตศาสตร์แม้จะสามารถหาผลบวกของ 2 + 3 ได้ 5 แต่ไม่สามารถระบุหน่วยของผลบวก เพราะไม่ใช่ 5 ถ้าต้องการให้ผลบวกมีความหมายว่า "น้าส้มทั้งหมด" ตัวตั้งและตัวบวกต้องมีหน่วยเหมือนกัน น้าส้ม 1 ขวด เทใส่แก้วได้ 2 แก้ว -16- เปรียบเทียบ กับ แม้ว่า 5 จะมากกว่า 3 แต่สรุปว่า > เพราะตัวส่วนไม่เท่ากัน แสดงว่าเนื้อหมูแต่ละชิ้นมีขนาดไม่เท่ากัน มี "ส่วน" เป็น 4 หมายถึง เนื้อหมู 1 ไม้ถูกหั่นเป็น 4 ชิ้น มี "ส่วน" เป็น 8 หมายถึง เนื้อหมู 1 ไม้ถูกหั่นเป็น 8 ชิ้น ยิ่งหั่นจานวนชิ้นมาก ขนาดของชิ้นยิ่งเล็กลง หั่น 8 ชิ้น แต่ละชิ้นมีขนาดเล็กกว่า หั่น 4 ชิ้น = = -5-
  • 10. > หรือไม่ ? เนื้อหมู 5 ชิ้นเล็ก มีปริมาณมากกว่า เนื้อหมู 3 ชิ้นใหญ่หรือไม่ ? เนื่องจากขนาดของชิ้นไม่เท่ากัน จึงนาจานวนชิ้นมาเปรียบเทียบไม่ได้ ถ้าต้องการเปรียบเทียบจากจานวนชิ้น ต้องหั่นขนาดของชิ้นให้เท่ากัน นา มาหั่นอีกครั้ง โดยนาชิ้นใหญ่แต่ละชิ้นมาหั่น เป็นชิ้นเล็ก 2 ชิ้นเท่าๆกัน จากชิ้นใหญ่ 3 ชิ้น กลายเป็นชิ้นเล็ก 3 x 2 = 6 ชิ้น = -6- มีความหมายว่า ได้หมูปิ้ง 5 ไม้เต็มและ มีเศษเหลืออีก 3 ชิ้นจากไม้ละ 4 ชิ้น แปลงจานวนคละเป็นเศษเกิน ตัวอย่าง แปลง เป็นเศษเกินมีความหมายว่า "หมูปิ้ง 5 ไม้เต็ม แต่ละไม้มีเนื้อ หมู 4 ชิ้น และมีเศษอยู่อีก 3 ชิ้น คิดเป็นเนื้อหมูทั้งหมดกี่ชิ้น" หมูปิ้ง 5 ไม้เต็ม แต่ละไม้มีเนื้อหมู 4 ชิ้น คิดเป็นเนื้อหมูกี่ชิ้น ? ปริมาณเนื้อหมู = 5 x 4 = 20 ชิ้น มีเศษอีก 3 ชิ้น ปริมาณเนื้อหมูทั้งหมด = 20 + 3 = 23 ชิ้น = = ตัวเศษของเศษเกิน = (จานวนเต็ม x ตัวส่วนของ เศษส่วนแท้) + ตัวเศษของเศษส่วนแท้ ตัวส่วนของเศษเกิน = ตัวส่วนของเศษส่วนแท้ -15-
  • 11. แปลงเศษเกินเป็นจานวนคละ แปลง เศษเกิน เป็น จานวนคละ โดยนาตัวส่วนไปหารตัวเศษ ผลหารเป็นจานวนเต็ม เศษที่เหลือจากการหารคือตัวเศษ ตัวหารคือตัวส่วน ตัวอย่าง มีความหมายว่า "เนื้อหมู 23 ชิ้น จากหมูปิ้งไม้ละ 4 ชิ้น" แปลง เป็นจานวนคละ มีความหมายว่า "นาเนื้อหมู 23 ชิ้น มาเสียบไม้ ไม้ละ 4 ชิ้น เสียบได้กี่ไม้ ? " เป็นจานวนคละ โดยนา 4 ไปหาร 23 แปลง -14- เนื่องจากเนื้อหมูแต่ละชิ้นของ ถูกหั่นเป็น 2 ชิ้น ขนาดของแต่ละชิ้นเล็กลง แต่จานวนชิ้นเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ดังนั้น = = เปรียบเทียบ กับ ได้ เพราะตัวส่วนเท่ากัน แสดงว่าเนื้อหมูแต่ละชิ้นมีขนาดเท่ากัน > เพราะ 6 > 5 เนื่องจาก = ดังนั้น > -7-
  • 12. จากตัวอย่างนี้ สรุปได้ว่า สามารถเปลี่ยนตัวเศษและตัวส่วนได้ โดยคูณทั้งเศษและส่วนด้วยตัวเลขตัวเดียวกัน โดยที่ค่าของเศษส่วนยังคงเท่าเดิม เทคนิคการเปรียบเทียบเศษส่วน สามารทาตัวส่วนของทั้งสองจานวนให้เท่ากับผลคูณของตัวส่วน โดยนาตัวส่วนของจานวนหนึ่งไปคูณทั้งเศษ และส่วนของอีกจานวนหนึ่ง เรียกหลักการนี้ว่า "คูณไขว้" ตัวอย่าง = = = = -8- เศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากับตัวส่วน จะมีค่าเป็น 1 เสมอ ตัวอย่าง = 1 เพราะ 4 ÷ 4 = 1 นาเนื้อหมู 4 ชิ้นมาเสียบรวมกัน เป็นหมูปิ้ง 1 ไม้ มีน้าตาลทรายอยู่ทั้งหมด 28 กิโลกรัม ครึ่ง แบ่งน้าตาลทรายออกเป็นถุงเล็ก ๆ ถุงละครึ่งกิโลกรัม อยากทราบว่าจะได้ น้าตาลทรายทั้งหมดกี่ถุง ? ได้เท่าไรเอ่ย ?! -13-
  • 13. 4. เศษเกิน และจานวนคละ จานวนคละ คือจานวนที่ประกอบด้วยจานวนเต็มและเศษส่วนแท้ + = + = นาเนื้อหมู 3 ชิ้นมาจากไม้ที่ 1 และนาเนื้อหมู 2 ชิ้นมาจากไม้ที่ 2 ได้เนื้อหมู 3 + 2 = 5 ชิ้น นาเนื้อหมู 5 ชิ้นนี้ไปเสียบไม้ ไม้ละ 4 ชิ้น เสียบได้กี่ไม้ ? -12- หลังจากคูณไขว้ทุกครั้งจะได้ตัวส่วนเท่ากันเสมอ ดังนั้นการเปรียบเทียบจึงพิจารณาเฉพาะผลคูณของเศษ ดังนี้ ผลคูณของเศษเท่ากัน สรุปได้ว่า เศษส่วนสองจานวนนี้เท่ากัน ดังนั้น = เรียงเศษส่วน 4 จานวนต่อไปนี้ จากน้อยไปมาก , , , !!! ลองทาดูนะ !!! -9-
  • 14. 3. เศษส่วนแท้ ตัวเลขเศษส่วนปรกติใช้สื่อความหมายถึงสิ่งของที่ไม่เต็มหน่วย เช่น หมูปิ้งไม่เต็มไม้ เลขเศษส่วนจึงมีค่าน้อยกว่า 1 แต่มากกว่า 0 < < 0 1 < < 0 1 < < < < -10- 0 1 < < < < ถ้า ตัวเศษ < ตัวส่วน เช่น 1 < 4 หรือ 2 < 4 หรือ 3 < 4 หมายถึงมีเนื้อหมูไม่เต็มไม้ เรียกเศษส่วนที่ ตัวเศษ < ตัวส่วน ว่า "เศษส่วนแท้" เป็นเศษส่วนแท้ และ , จากตัวอย่าง -11-