SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
ใบความรู้ เรื่องสมบัติของจานวนนับ
จานวนที่นักเรียนรู้จักและนามาใช้แสดงจานวนของสิ่งต่างๆ ในชีวิตประจาวัน ได้แก่1, 2,3, 4, 5, ...
เรื่อยๆ ไปไม่มีสิ้นสุด เรียกจานวนเหล่านี้ว่า จานวนนับ หรือ จานวนธรรมชาติ หรือจานวนเต็มบวก
ตัวประกอบของจานวนนับ
ตัวประกอบของจำนวนนับใดๆ คือจำนวนนับที่หำรจำนวนนับนั้นได้ลงตัว
1, 2, 3, 4, 6, 12 เป็นตัวประกอบของ 12 เพราะ หาร 12ได้ลงตัวทุกจานวน
1, 2, 4, 5, 10, 20 เป็นตัวประกอบของ 20 เพราะ หาร 20 ได้ลงตัวทุกจานวน
จานวนเฉพาะ
จานวนนับที่มากกว่า 1 และมีตัวกอบเพียง 2 ตัว คือ 1และ ตัวมันเอง เรียกว่า จานวนเฉพาะ
การแยกตัวประกอบของจานวนนับใดๆ
คือ ประโยคที่แสดงการเขียนจานวนนับนั้นรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ
ตัวอย่างที่ 1จงแยกตัวประกอบของ 30
วิธีทา 30= 5 × 6
30= 5× 2× 3
ตัวอย่างที่ 2จงแยกตัวประกอบของ 36
วิธีทา 36= 4 × 9
36= 2× 2× 3× 3
ตัวหารร่วมมากที่สุด (ห.ร.ม)
ตัวหารร่วมมากที่สุด (ห.ร.ม) คือ ตัวหารร่วมที่มีค่ามากที่สุดของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไป
และอาจกล่าวว่า ตัวหารร่วมมากที่สุด (ห.ร.ม) ก็คือ ตัวประกอบร่วมที่มีค่ามากที่สุดของจานวนเหล่านั้น
นั่งเองสามารถหาตัวหารร่วมมากที่สุด (ห.ร.ม) ได้3 วิธี ดังนี้
วิธีที่ 1ใช้วิธีหาตัวร่วมหรือตัวประกอบร่วม
วิธีที่ 2ใช้วิธีการแยกตัวประกอบ
วิธีที่ 3โดยวิธีหาร
การหาตัวหารร่วมมากของ 36และ 48
วิธีที่ 1 โดยการพิจารณาตัวประกอบ
ตัวประกอบทั้งหมดของ 36 ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 9, 12, 18 และ 36
ตัวประกอบทั้งหมดของ 48 ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 8, 12, 16, 24 และ 48
ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด(ตัวหารร่วมมากหรือห.ร.ม.) ของ 36และ 48 ได้แก่ 12
ดังนั้น ตัวหารร่วมมาก(ห.ร.ม.)ของ 36และ 48 คือ 12
วิธีที่ 2 โดยการแยกตัวประกอบ
36 = 2  2  3  3
48 = 2 2  2  3
ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด(ตัวหารร่วมมากหรือห.ร.ม.) ของ 36และ 48 ได้แก่ 2 2  3 =12
ดังนั้น ตัวหารร่วมมาก(ห.ร.ม.) ของ 36 และ 48 คือ 12
วิธีที่ 3โดยการตั้งหาร
2 36 48
2 18 24
3 9 12
3 4
ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด(ตัวหารร่วมมากหรือห.ร.ม.) ของ 36และ 48 ได้แก่ 2 2  3 =12
ดังนั้น ตัวหารร่วมมาก(ห.ร.ม.)ของ 36และ 48 คือ 12
กำรนำควำมรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. ไปใช้
มีเชือกยาวอยู่ 3 เส้น 84, 108และ 156 เมตร และต้องตัดเชือกแต่ละเส้นเป็นเส้นสั้นๆ
ให้เชือกแต่ละเส้นที่ตัดยาวเท่าๆกัน และยาวมากที่สุดเท่าที่จะยาวได้
วิธีทำ ความยาวเชือกเส้นสั้นๆ ที่ยาวเท่ากันและยาวมากที่สุด หาได้จากการหาจานวนนับที่มากที่สุด
ที่นาไปหาร 84, 108และ 156 ลงตัว ซึ่งต้องหา ห.ร.ม.ของ 84, 108และ 156
2 84 108 156
2 42 54 78
3 21 27 39
7 9 13
ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) ของ 84, 108และ 156 ได้แก่2 2 3= 12
จะได้เชือกที่ตัดแล้วยาวที่สุดเส้นละ 12เมตร
เชือกเส้นแรกยาว 84เมตร ตัดเป็นเส้นสั้นๆ เส้นละ 12 เมตร ได้7 เส้น
เชือกเส้นสองยาว 108 เมตร ตัดเป็นเส้นสั้นๆ เส้นละ 12 เมตร ได้9 เส้น
เชือกเส้นแรกยาว 156 เมตร ตัดเป็นเส้นสั้นๆ เส้นละ 12 เมตร ได้13เส้น
จะได้เชือกทั้งหมด 7+ 9+ 13= 29 เส้น
ดังนั้น เชือกยาวเส้นละ 12เมตร และได้เชือก 29 เส้น
ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น)
ค.ร.น. ของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไป เป็นการหาพหุคูณร่วม
ที่น้อยที่สุดของจานวนนับเหล่านั้น เราจึงอาศัยการหาพหุคูณร่วมในการหา ค.ร.น. ของจานวนนับ
โดยวิธีต่างๆ ดังนี้
วิธีที่ 1โดยการพิจารณาพหุคูณ
วิธีที่ 2โดยการแยกตัวประกอบ
วิธีที่ 3โดยการตั้งหารสั้น
จงหา ค.ร.น ของ 5 และ 10
วิธีที่ 1 โดยกำรพิจำรณำพหุคูณ
พหุคูณของ 5ได้แก่ 5, 10, 15, 20, 25, …
พหุคูณของ 5ได้แก่ 10 , 20, 30, 40, 50, …
พหุคูณร่วมของ 5และ 10 ได้แก่ 10, 20, …
พหุคูณร่วมน้อยที่สุด(ค.ร.น.)ของ 5 และ 10คือ10
ดังนั้น ตัวคูณร่วมน้อยของ 5 และ 10 คือ 10
วิธีที่2โดยกำรแยกตัวประกอบ
5 = 5
10 = 2  5
พหุคูณร่วมน้อยที่สุด(ค.ร.น.)ของ 5 และ 10คือ 2  5= 10
ดังนั้น ตัวคูณร่วมน้อยของ 5 และ 10 คือ 10
วิธีที่3โดยกำรตั้งหำร
5 5 10
1 2
พหุคูณร่วมน้อยที่สุด(ค.ร.น.)ของ 5 และ 10คือ5  2 =10
ดังนั้น ตัวคูณร่วมน้อยของ 5 และ 10 คือ 10
กำรนำควำมรู้เกี่ยวกับ ค.ร.น. ไปใช้
ถ้าต้องการแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน หรือ 8คน หรือ 10คน
จะต้องมีนักเรียนอย่างน้อยที่สุดกี่คน จึงจะแบ่งนักเรียนแต่ละกลุ่มได้หมดพอดี
วิธีทำ ต้องการแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน
หรือ กลุ่มละ 8 คน
หรือ กลุ่มละ 10 คน
ค.ร.น. ของ 6, 8 และ 10 คือ 120
ดังนั้น ต้องมีนักเรียนอย่างน้อยที่สุด 120 คน
ตอบ ต้องมีนักเรียนอย่างน้อยที่สุด 120 คน

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นsawed kodnara
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.kanjana2536
 
ใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมkanjana2536
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าkanjana2536
 
การประมาณค่า
การประมาณค่าการประมาณค่า
การประมาณค่าJiraprapa Suwannajak
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557ครู กรุณา
 
ค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าJiraprapa Suwannajak
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560ครู กรุณา
 
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับpairtean
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนkanjana2536
 
Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)masakonatty
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนkanjana2536
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์sawed kodnara
 

What's hot (19)

ใบงานบทที่
ใบงานบทที่ใบงานบทที่
ใบงานบทที่
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 
ใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรม
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่า
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
การประมาณค่า
การประมาณค่าการประมาณค่า
การประมาณค่า
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
ค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่า
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
 
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
 
Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
 
O net math3 y55
O net math3 y55O net math3 y55
O net math3 y55
 

Similar to 1ใบความรู้ เรื่องสมบัติของจานวนนับ

เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1pumtuy3758
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3คุณครูพี่อั๋น
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1Manas Panjai
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1Tangkwa Dong
 

Similar to 1ใบความรู้ เรื่องสมบัติของจานวนนับ (16)

เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
เฉลย.pdf
เฉลย.pdfเฉลย.pdf
เฉลย.pdf
 
Math Prathom 6
Math Prathom 6Math Prathom 6
Math Prathom 6
 

More from kanjana2536

ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันkanjana2536
 
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันkanjana2536
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์kanjana2536
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์kanjana2536
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มkanjana2536
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นkanjana2536
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆkanjana2536
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12kanjana2536
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90kanjana2536
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานkanjana2536
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9kanjana2536
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8kanjana2536
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุมkanjana2536
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุมkanjana2536
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้kanjana2536
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมkanjana2536
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดkanjana2536
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดkanjana2536
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลังkanjana2536
 

More from kanjana2536 (20)

ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
 
ใบ'งาน4
ใบ'งาน4ใบ'งาน4
ใบ'งาน4
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
 

1ใบความรู้ เรื่องสมบัติของจานวนนับ

  • 1. ใบความรู้ เรื่องสมบัติของจานวนนับ จานวนที่นักเรียนรู้จักและนามาใช้แสดงจานวนของสิ่งต่างๆ ในชีวิตประจาวัน ได้แก่1, 2,3, 4, 5, ... เรื่อยๆ ไปไม่มีสิ้นสุด เรียกจานวนเหล่านี้ว่า จานวนนับ หรือ จานวนธรรมชาติ หรือจานวนเต็มบวก ตัวประกอบของจานวนนับ ตัวประกอบของจำนวนนับใดๆ คือจำนวนนับที่หำรจำนวนนับนั้นได้ลงตัว 1, 2, 3, 4, 6, 12 เป็นตัวประกอบของ 12 เพราะ หาร 12ได้ลงตัวทุกจานวน 1, 2, 4, 5, 10, 20 เป็นตัวประกอบของ 20 เพราะ หาร 20 ได้ลงตัวทุกจานวน จานวนเฉพาะ จานวนนับที่มากกว่า 1 และมีตัวกอบเพียง 2 ตัว คือ 1และ ตัวมันเอง เรียกว่า จานวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบของจานวนนับใดๆ คือ ประโยคที่แสดงการเขียนจานวนนับนั้นรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ ตัวอย่างที่ 1จงแยกตัวประกอบของ 30 วิธีทา 30= 5 × 6 30= 5× 2× 3 ตัวอย่างที่ 2จงแยกตัวประกอบของ 36 วิธีทา 36= 4 × 9 36= 2× 2× 3× 3 ตัวหารร่วมมากที่สุด (ห.ร.ม) ตัวหารร่วมมากที่สุด (ห.ร.ม) คือ ตัวหารร่วมที่มีค่ามากที่สุดของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไป และอาจกล่าวว่า ตัวหารร่วมมากที่สุด (ห.ร.ม) ก็คือ ตัวประกอบร่วมที่มีค่ามากที่สุดของจานวนเหล่านั้น นั่งเองสามารถหาตัวหารร่วมมากที่สุด (ห.ร.ม) ได้3 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1ใช้วิธีหาตัวร่วมหรือตัวประกอบร่วม วิธีที่ 2ใช้วิธีการแยกตัวประกอบ วิธีที่ 3โดยวิธีหาร
  • 2. การหาตัวหารร่วมมากของ 36และ 48 วิธีที่ 1 โดยการพิจารณาตัวประกอบ ตัวประกอบทั้งหมดของ 36 ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 9, 12, 18 และ 36 ตัวประกอบทั้งหมดของ 48 ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 8, 12, 16, 24 และ 48 ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด(ตัวหารร่วมมากหรือห.ร.ม.) ของ 36และ 48 ได้แก่ 12 ดังนั้น ตัวหารร่วมมาก(ห.ร.ม.)ของ 36และ 48 คือ 12 วิธีที่ 2 โดยการแยกตัวประกอบ 36 = 2  2  3  3 48 = 2 2  2  3 ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด(ตัวหารร่วมมากหรือห.ร.ม.) ของ 36และ 48 ได้แก่ 2 2  3 =12 ดังนั้น ตัวหารร่วมมาก(ห.ร.ม.) ของ 36 และ 48 คือ 12 วิธีที่ 3โดยการตั้งหาร 2 36 48 2 18 24 3 9 12 3 4 ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด(ตัวหารร่วมมากหรือห.ร.ม.) ของ 36และ 48 ได้แก่ 2 2  3 =12 ดังนั้น ตัวหารร่วมมาก(ห.ร.ม.)ของ 36และ 48 คือ 12 กำรนำควำมรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. ไปใช้ มีเชือกยาวอยู่ 3 เส้น 84, 108และ 156 เมตร และต้องตัดเชือกแต่ละเส้นเป็นเส้นสั้นๆ ให้เชือกแต่ละเส้นที่ตัดยาวเท่าๆกัน และยาวมากที่สุดเท่าที่จะยาวได้ วิธีทำ ความยาวเชือกเส้นสั้นๆ ที่ยาวเท่ากันและยาวมากที่สุด หาได้จากการหาจานวนนับที่มากที่สุด ที่นาไปหาร 84, 108และ 156 ลงตัว ซึ่งต้องหา ห.ร.ม.ของ 84, 108และ 156 2 84 108 156 2 42 54 78 3 21 27 39 7 9 13 ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) ของ 84, 108และ 156 ได้แก่2 2 3= 12 จะได้เชือกที่ตัดแล้วยาวที่สุดเส้นละ 12เมตร เชือกเส้นแรกยาว 84เมตร ตัดเป็นเส้นสั้นๆ เส้นละ 12 เมตร ได้7 เส้น เชือกเส้นสองยาว 108 เมตร ตัดเป็นเส้นสั้นๆ เส้นละ 12 เมตร ได้9 เส้น
  • 3. เชือกเส้นแรกยาว 156 เมตร ตัดเป็นเส้นสั้นๆ เส้นละ 12 เมตร ได้13เส้น จะได้เชือกทั้งหมด 7+ 9+ 13= 29 เส้น ดังนั้น เชือกยาวเส้นละ 12เมตร และได้เชือก 29 เส้น ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น) ค.ร.น. ของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไป เป็นการหาพหุคูณร่วม ที่น้อยที่สุดของจานวนนับเหล่านั้น เราจึงอาศัยการหาพหุคูณร่วมในการหา ค.ร.น. ของจานวนนับ โดยวิธีต่างๆ ดังนี้ วิธีที่ 1โดยการพิจารณาพหุคูณ วิธีที่ 2โดยการแยกตัวประกอบ วิธีที่ 3โดยการตั้งหารสั้น จงหา ค.ร.น ของ 5 และ 10 วิธีที่ 1 โดยกำรพิจำรณำพหุคูณ พหุคูณของ 5ได้แก่ 5, 10, 15, 20, 25, … พหุคูณของ 5ได้แก่ 10 , 20, 30, 40, 50, … พหุคูณร่วมของ 5และ 10 ได้แก่ 10, 20, … พหุคูณร่วมน้อยที่สุด(ค.ร.น.)ของ 5 และ 10คือ10 ดังนั้น ตัวคูณร่วมน้อยของ 5 และ 10 คือ 10 วิธีที่2โดยกำรแยกตัวประกอบ 5 = 5 10 = 2  5 พหุคูณร่วมน้อยที่สุด(ค.ร.น.)ของ 5 และ 10คือ 2  5= 10 ดังนั้น ตัวคูณร่วมน้อยของ 5 และ 10 คือ 10 วิธีที่3โดยกำรตั้งหำร 5 5 10 1 2 พหุคูณร่วมน้อยที่สุด(ค.ร.น.)ของ 5 และ 10คือ5  2 =10 ดังนั้น ตัวคูณร่วมน้อยของ 5 และ 10 คือ 10
  • 4. กำรนำควำมรู้เกี่ยวกับ ค.ร.น. ไปใช้ ถ้าต้องการแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน หรือ 8คน หรือ 10คน จะต้องมีนักเรียนอย่างน้อยที่สุดกี่คน จึงจะแบ่งนักเรียนแต่ละกลุ่มได้หมดพอดี วิธีทำ ต้องการแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน หรือ กลุ่มละ 8 คน หรือ กลุ่มละ 10 คน ค.ร.น. ของ 6, 8 และ 10 คือ 120 ดังนั้น ต้องมีนักเรียนอย่างน้อยที่สุด 120 คน ตอบ ต้องมีนักเรียนอย่างน้อยที่สุด 120 คน