SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
1
ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน
ประเทศเมียนม่าร์ (พม่า)
เสนอ
อาจารย์กัญจณ์ปภัสส์ สุวรรณวิหค
จัดทาโดย
๑. นางสาวทิพเนตร แม้นจิตร รหัสนักศึกษา ๕๗๐๐๓๑๒๖๐๑๙
๒. นางสาวชลันดา คล้ายขาดี รหัสนักศึกษา ๕๗๐๐๓๑๒๖๐๔๓
๓. นายชัยณรงค์ มะหารักษ์ รหัสนักศึกษา ๕๗๐๐๓๑๒๖๐๕๑
กลุ่ม คอมพิวเตอร์ศึกษา รหัส ๕๗๓๐๐๑๒๖๐๑
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาภาษาและวัฒนธรรมสาหรับครู (EED๑๐๑)
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๗
2
คานา
รายงานภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน ประเทศเมียนม่าร์ (พม่า) เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา
วิชาภาษาและวัฒนธรรมสาหรับครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ โดยขอบเขต
เนื้อหาของรายงานฉบับนี้ นาเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับข้อมูลที่สาคัญของประเทศ ภาษาที่ใช้ในประเทศ
และยังรวมถึงวัฒนธรรมประเพณีที่มีความโดดเด่นเป็นอย่างยิ่ง
ขอขอบคุณอาจารย์กัญจณ์ปภัสส์ สุวรรณวิหค ที่ให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะ และขอบคุณ
คณะผู้ร่วมทางานที่ให้ความร่วมมือ จนรายงานฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์
หวังว่ารายงานฉบับนี้ จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจ ได้ศึกษาเกี่ยวกับภาษาและ
วัฒนธรรมอาเซียน ประเทศเมียนม่าร์ (พม่า) ต่อไป
คณะผู้จัดทา
3
สารบัญ
หน้า
คานา ......................................................................................................................................ข
สารบัญ .................................................................................................................................. ค
ข้อมูลทั่วไป .............................................................................................................................1
การใช้ภาษา ............................................................................................................................7
วัฒนธรรมประเพณี .................................................................................................................9
การแต่งกาย ...........................................................................................................................9
อาหาร .................................................................................................................................10
ประเพณีสิบสองเดือน ..........................................................................................................11
ประเพณีปอยส่างลอง ..........................................................................................................16
อ้างอิง ..................................................................................................................................20
1
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนม่าร์ (Republic of the Union of the Myanmar)
เมืองหลวง : เนปิดอว์ (Nay Pyi Taw) (เมืองหลวงเดิม คือ ย่างกุ้ง)
ศาสนาประจาชาติ : ศาสนาพุทธ
วันชาติ : 4 มกราคม
วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน : 23 กรกฎาคม พ.ศ.2540
ธงประจาชาติ
มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวนอน ความกว้างเท่ากัน พื้นสี
เหลือง สีเขียว และสีแดง เรียงตามลาดับจากบนลงล่าง กลางธงมีรูปดาวห้าแฉกสีขาวขนาดใหญ่
ความหมายของสัญลักษณ์ในธงชาติประกอบด้วย
สีเขียว หมายถึง สันติภาพ ความสงบ และความอุดมสมบูรณ์ของพม่า
สีเหลือง หมายถึง ความสามัคคี
สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง เด็ดขาด
ดาวสีขาว หมายถึง สหภาพอันมั่นคงเป็นเอกภาพ
ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
ลักษณะของดวงตราประกอบด้วยรูปสิงห์แบบศิลปะพม่าจานวน 2 ตน อยู่ในท่านั่ง
รักษาการณ์ หันหลังให้ซึ่งกันและกัน ที่กลางตรานั้นมีภาพของแผนที่ประเทศพม่ารองรับด้วยช่อใบ
มะกอกคู่ ล้อมรอบด้วยลวดลายบุปผชาติตามแบบศิลปะพม่า ที่บนสุดของดวงตราเป็นรูปดาวห้าแฉก
ดวงหนึ่ง รูปเหล่านี้รองรับด้วยม้วนแพรแถบจารึกนามเต็มของประเทศด้วยใจความ “สาธารณรัฐแห่ง
สหภาพพม่า”
2
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
พม่ามีพื้นที่ประมาณ 657,740 ตารางกิโลเมตร
ภูมิประเทศ
 ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับจีนและทิเบต
 ทิศใต้และตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับลาวและไทย
 ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับอินเดียและบังกลาเทศ
 ทิศใต้ ติดกับทะเลอันดามันและอ่าวเบงกอล
ภูมิอากาศ
แบบมรสุมเขตร้อน มี 3 ฤดู คือ ร้อน ฝน และหนาว ซึ่งสภาพอากาศจะแตกต่างกันไปตาม
ภูมิประเทศ โดยพื้นที่สูงจะหนาวเย็น พื้นที่ภาคกลางจะแห้งแล้งกว่าแถบชายฝั่งทะเลตอนใต้
ประชากร
มีจานวนประชากรประมาณ 55 ล้านคน มีหลายเชื้อชาติ ส่วนใหญ่มีเชื้อชาติเมียนม่าร์
รองลงมา คือ ไทยใหญ่ มอญ ยะไข่ กะเหรี่ยง คะฉิ่น ไทยและชิน
3
การเมืองการปกครอง
มีรูปแบบการปกครองแบบสาธารณรัฐ โดยมีรัฐสภาซึ่งประกอบด้วย สภาประชาชน สภา
ชาติพันธุ์ และสภาท้องถิ่น สมาชิกรัฐสภามาจากการเลือกตั้ง โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขและ
หัวหน้ารัฐบาล แบ่งการปกครองเป็น 7 รัฐ ตามกลุ่มเชื้อชาติที่เป็นชนกลุ่มใหญ่ในแต่ละรัฐและ
แบ่งเป็น 7 ภาค ในเขตพื้นที่ราบลุ่มที่ประชากรเชื้อสายเมียนมาร์อาศัยเป็นส่วนใหญ่
การแบ่งเขตการปกครอง
ประเทศพม่าแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 รัฐ (states) และ 7 เขต (divisions) ดังนี้
• รัฐ (States)
1. รัฐชิน (Chin) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองฮะคา
2. รัฐกะฉิ่น (Kachin) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองมิตจีนา
3. รัฐกะเหรี่ยง (Kayin) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองปะอาน
4. รัฐกะยา (Kayah) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองหลอยก่อ
5. รัฐมอญ (Mon) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองมะละแหม่ง
6. รัฐยะไข่ (Rakhine) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองซิตตเว
7. รัฐฉานหรือไทใหญ่ (Shan) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองตองยี
• เขต (Divisions)
1. เขตอิรวดี (Ayeyarwady) มีเมืองเอกชื่อ เมืองพะสิม
2. เขตพะโค (Bago) มีเมืองเอกชื่อ เมืองพะโค
3. เขตมาเกว (Magway) มีเมืองเอกชื่อ เมืองมาเกว
4. เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay) มีเมืองเอกชื่อ เมืองมัณฑะเลย์
5. เขตสะกาย (Sagaing) มีเมืองเอกชื่อ เมืองสะกาย
6. เขตตะนาวศรี (Tanintharyi) มีเมืองเอกชื่อ เมืองทวาย
7. เขตย่างกุ้ง (Yangon) มีเมืองเอกชื่อ เมืองย่างกุ้ง
4
ประธานาธิบดี เป็นประมุขของประเทศ
คือ พลเอกอาวุโส ตาน ฉ่วย (Senior General Tan Shwe)
นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล
คือ พลเอก เต็ง เส่ง (General Thein Sein)
5
เศรษฐกิจและทรัพยากรที่สาคัญ
เมียนมาร์เป็นประเทศกาลังพัฒนาที่มีรายได้เฉลี่ยต่อบุคคลอยู่ในเกณฑ์ต่า การเกษตรกรรม
ถือเป็นอาชีพหลักของเมียนมาร์ ซึ่งมีการปลูกข้าวเจ้า ผัก และพืชเมืองร้อนหลายชนิด นอกจากนี้ยังมี
การขุดแร่และน้ามัน รวมทั้งมีเหมืองดีบุกอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคอุตสาหกรรมนั้น
อยู่ในขั้นกาลังพัฒนา โดยมีอุตสาหกรรมต่อเรือเดินสมุทรอยู่บริเวณเมืองย่างกุ้ง มะริด และทวาย
ทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญ ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ ป่าไม้ อัญมณี แร่ธาตุ และน้ามัน
สกุลเงินของประเทศเมียนม่าร์ คือ จ๊าด (Kyat)
* 26 จ๊าดเท่ากับประมาณ 1 บาทไทย
6
สัตว์ประจาชาติ
สัตว์ประจาชาติของเมียนม่าร์ คือ เสือโคร่ง (Tiger) นั้นเป็นสัตว์กินเนื้อตระกูลแมวที่มี
ขนาดใหญ่ที่สุด มีความดุร้าย ว่องไว ปราดเปรียว สามารถวิ่งได้เร็ว ว่ายน้าเก่ง ปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว
พบได้ทั่วไปในทวีปเอเชีย และพบมากในป่าของประเทศเมียนม่าร์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความอุดม
สมบูรณ์ของประเทศพม่าได้เป็นอย่างดี ดังที่มีผู้กล่าวไว้ว่า เสือคือดัชนีวัดความอุดมสมบูรณ์ของป่า
ดังนั้นเสือจึงถูกเลือกให้เป็นสัตว์ประจาชาติเมียนม่าร์
ดอกไม้ประจาชาติ
ดอกประดู่ ผลิดอกสีเหลืองทองและส่งกลิ่นหอมหลังฤดูฝนแรกของเดือนเมษายน ซึ่งเป็น
เวลาเดียวกับการเฉลิมฉลองปีใหม่ของประเทศพม่า เมื่อผลิดอก ต้นของดอกประดู่ จะเป็นสีทองตลอด
ทั้งคืน ชาวพม่าจึงถือว่าต้นประดู่ เป็นสัญลักษณ์ของความแข็งแรง และความทนทาน ดอกไม้ชนิดนี้ยัง
หมายถึงวัยหนุ่มสาว และความรัก ดอกประดู่ เป็นดอกไม้ที่ขาดไม่ได้ในงานประเพณีและพิธีทาง
ศาสนา จึงพบมากในประเทศพม่า นอกจากนี้ ลาต้นยังสมารถนาไปทาเครื่องเรือนได้อีกด้วย
7
การใช้ภาษา
ภาษาประจาชาติ และ ภาษาราชการ : ภาษาเมียนม่าร์
ภาษาพม่า เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์เหมือนภาษาไทย คือมีทั้งหมด 4 เสียงด้วยกัน ซึ่ง
วรรณยุกต์เหล่านี้ ล้วนดัดแปลงมาจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง ซึ่งถ้าเทียบกับวรรณยุกต์ไทยแล้ว มี
เพียงเสียง สามัญ เอก ตรี และเอกแบบคาตายเท่านั้น ส่วนตัวอักษรก็มีลักษณะคล้ายภาษาไทยตรงจุด
ที่ จะมีตัวอักษรเฉพาะคาที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ตัวอักษร ศ ษ ส ของไทย เป็นต้น
สาหรับตัวอักษรในพม่ามีทั้งหมด 33 ตัว สระจานวน 23 ตัว โดยแบ่งเป็นสระลอย (สระที่
ไม่ต้องนาไปประกอบกับพยัญชนะก็ออกเสียงได้) 11 ตัว และสระจม (สระที่ต้องนาไปประกอบกับ
พยัญชนะถึงออกเสียงได้) 12 ตัว ส่วนการจัดรูปประโยคของพม่า จะต่างจากไทยคือ อยู่ในรูป
ประธาน กรรม กริยา แล้วการพูดลงท้ายคาคุณศัพท์หรือกริยา จะต้องลงท้ายด้วย "เด่หรือเต่" เสมอ
แล้วแต่สถานการณ์ว่าจะต้องใช้คาใด
8
ตัวอย่าง ภาษาเมียนม่าร์
บริบทการทักทาย
คาศัพท์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
คาศัพท์เกี่ยวกับเชื้อชาติ
หมวดอาหาร
9
วัฒนธรรมประเพณี
วัฒนธรรมของพม่าได้รับอิทธิพลทั้งจากจีน อินเดีย และไทยมาช้านาน ดังสะท้อนให้เห็นใน
ด้านภาษา ดนตรี และอาหาร สาหรับศิลปะของพม่านั้นได้รับอิทธิพลจากวรรณคดีและ
พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มาตั้งแต่ครั้งโบราณ ในปัจจุบันนี้วัฒนธรรมพม่ายังได้รับอิทธิพลจาก
ตะวันตกมากขึ้น ซึ่งเห็นได้ชัดจากเขตชนบทของประเทศ
การแต่งกาย
เครื่องแต่งกาย ชาวพม่าทั้งหญิงและชายนิยมนุ่งโสร่ง ที่เรียกว่า “ลองยี” (Longeje) ซึ่งมี
ทั้งผ้าฝ้ายและไหมที่มีสีสด
ผู้หญิง จะมีลายเชิงด้านล่างและมีลวดลายเล็ก ๆ กระจายทั่ว ผืนผ้า ลวดลายของแต่ละ
ท้องถิ่นจะต่างกัน ผ้าที่ทอมาจากเมืองอมรปุระเป็นลวดลายดอกไม้ เครือไม้ หรือเป็นดอกเป็นลายตาม
ขวาง ไม่นิยมใช้เข็มขัด สวมเสื้อตัวสั้น คอกลม ผ่าอกติดกระดุม 5 เม็ด แขนกระบอกยาวจรดข้อมือ
บางครั้งเป็นแขนสั้น เลยไหล่ลงมาเล็กน้อย ผ้าตัดเสื้อนิยมใช้ ผ้าเนื้อบาง สีสด เช่น ผ้ามัสลิน ผ้าป่าน
หรือผ้าไนลอน สวมรองเท้าคีบรองเท้าแตะ ทั้งหญิง ชาย แต่ของหญิงจะเป็นสี มีลวดลายเป็นดอกดวง
ปักด้วยลูกปัด หรือดิ้น เงินดิ้น ทอง สะพายย่าม ซึ่งเป็นผ้าไหมสีสวยสดทอมาจากรัฐฉาน
ผม โดยทั่วไปไว้ผมยาวเกล้าสูง บางทีก็ปล่อยชายห้อยลงมาไว้ทางซ้ายบ้างขวางบ้าง มี
ดอกไม้แซมผม เครื่องประดับ นิยมหิน และพลอยที่มีค่าเช่น ทับทิม นิล และหยก
ผู้ชาย นุ่งโสร่งเช่นเดียวกับหญิงแต่สีไม่ฉูดฉาด เป็นลายตาราง โตบ้าง เล็กบ้าง หรือเป็น
ลายทางยาวบ้าง โดยทั่วไปใส่เสื้อขาว เมื่อมีพิธีจะสวมเสื้อคล้ายเสื้อจีนแขนยาว ถึงข้อมือ แบบหนึ่ง
เรียกว่า “กุยตั๋ง” เป็นเสื้อชายสั้น ๆ ติดดุมถักแบบจีนป้ายมาข้าง ๆ อีกแบบเรียกว่า “กุยเฮง” ตัวยาว
ถึงสะโพก และติดกระดุมตั้งแต่คอตรงมาจดชายเสื้อใช้สีสุภาพ เช่น ขาวดา หรือ นวล ถ้าอากาศหนาว
จะสวมเสื้อกัก ทอสักหลาดทับอีกชิ้น หนึ่ง จะสวมรองเท้าหุ้มส้นเมื่อมีพิธี
ผม ตัดผมสั้น ไม่นิยมสวมหมวก หรือโพกศีรษะตามประเพณีเดิม เมื่อมีพิธีจะมีผ้าหรือ
แพรโพกศีรษะทาเป็นกระจุกปล่อยชายทิ้งไว้ทางด้านขวา นิยมใช้สีชมพู
10
อาหารประเทศเมียนม่าร์
หล่าเพ็ด
หล่าเพ็ด เป็นอาหารยอดนิยมของพม่า คือใบชาหมักทานกับเครื่องเคียง เช่น
กระเทียมเจียว ถั่วชนิดต่าง ๆ งาคั่ว กุ้งแห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว จัดว่าเป็นอาหารว่างคล้ายกับยาเมี่ยงบ้าน
เรานั่นเอง
หล่าเพ็ด เป็นจานที่ขาดไม่ได้ในโอกาสพิเศษหรือเทศกาลสาคัญ ๆ ว่ากันว่าไม่มีงานเลี้ยง
หรืองานเฉลิมฉลองใดจะสมบูรณ์ได้หากไม่มี
ขนมจีนน้ายาพม่า
ขนมจีนน้ายาพม่า คือขนมจีนน้ายาที่ทาจากปลา ไม่มีกะทิ จะเรียกว่าน้ายาป่าก็ได้ ชาว
พม่าจะทานกันเป็นอาหารเช้าด้วย น้ายาจะใช้ปลาน้าจืดเป็นหลักพวก ปลาดุก ปลาช่อน ผักที่ใส่ใน
น้ายา ก็จะเป็น หยวกกล้วยและใช้พวกแป้งถั่ว หรือ ข้าวคั่วเพื่อทาให้น้าแกงข้น จากนั้นก็โรยหน้า
ด้วย ถั่วเหลืองทอด ไข่ต้ม ปลาเส้นทอด ปลาท่องโก๋ ผักชี ปรุงรสด้วยพริกป่น และมะนาว
11
ประเพณีสิบสองเดือน
นับแต่อดีตมา พม่ามีงานประเพณีของแต่ละเดือนในรอบปี เรียกว่า แซะนะล่ะหย่าตี่บะแว
หรือประเพณีสิบสองเดือน ในยุคราชวงศ์ของพม่ามีการกาหนดให้งานนี้เป็นพระราชพิธี แม้ว่าใน
ปัจจุบันพม่าจะยังคงสืบทอดงานประเพณีสิบสองเดือนไว้ แต่ก็มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมบ้าง
ประเพณีสิบสองเดือนของพม่าเป็นดังนี้ (เดือน 1 ของพม่า เท่ากับเดือน 5 ของไทย และเดือน 12
ไทย เท่ากับเดือน 8 พม่า)
ลาดับ
เดือน
เดือนพม่า เดือนสากล งานประเพณีประจาเดือน
1 ดะกู มี.ค. - เม.ย. งานฉลองสงกรานต์
2 กะโส่ง เม.ย. - พ.ค. งานรดน้าต้นโพธิ์
3 นะโหย่ง พ.ค. - มิ.ย. งานสอบพระธรรม ปัจจุบันย้ายไปจัดในเดือนดะกู
4 หว่าโส่ มิ.ย. - ก.ค. งานบวชพระเณร และ งานเข้าพรรษา
5 หว่าข่อง ก.ค. - ส.ค.
งานสลากภัต ปัจจุบันงานบูชานัตที่ต่องปะโยง เป็นที่สนใจ
มากขึ้น
6 ต่อดะลีง ส.ค. - ก.ย.
งานแข่งเรือ หรือ งานต่อดะลีงหรืองานติจ์ซีง ปัจจุบันไม่มี
การจัดงาน
7 ดะดีงจู๊ต ก.ย. - ต.ค.
งานจุดประทีป และ งานออกพรรษา นิยมปล่อยโคมลอยกัน
ในเดือนนี้
8 ดะส่องโมง ต.ค. - พ.ย. งานทอดกฐิน และ งานตามประทีป
9 นะด่อ พ.ย. - ธ.ค. งานบูชานัต ปัจจุบันจัดงานเทิดเกียรติกวี แทนงานบูชานัต
10 ปยาโต่ ธ.ค. - ม.ค. งานอัศวยุทธ ปัจจุบันไม่มีการจัดงาน
11 ดะโบ๊ะดแว ม.ค. - ก.พ. งานกวนข้าวทิพย์ และ งานหลัวไฟพระเจ้า
12 ดะบอง ก.พ. - มี.ค.
งานก่อเจดีย์ทราย หรือ งานดะบอง ปัจจุบันไม่นิยมจัดงาน
ก่อเจดีย์ทราย
12
เดือนหนึ่ง เรียกว่า เดือนดะกู (มี.ค.-เม.ย.) เป็นเดือนเริ่มศักราชใหม่ และเป็นเดือนต้นฤดู
ร้อน ประเพณีสาคัญของเดือนนี้คืองานฉลองสงกรานต์ พม่าถือเป็นงานฉลองวันส่งท้ายปีเก่าและย่างสู่
ปีใหม่ มีการเล่นสาดน้ากันตลอด 5 วัน ชาวพม่าถือว่าช่วงเวลานี้เป็นวันมงคล จึงนิยมเข้าวัดรักษาศีล
ช่วยกวาดลานวัดและลานเจดีย์ สรงน้าพระพุทธและเจดีย์ รดน้าดาหัวพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ตลอดจน
ครูบาอาจารย์ และสระผมให้ผู้เฒ่าผู้แก่ด้วยน้าส้มป่อย งดการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต บ้างสร้างกุศลด้วยการ
ปล่อยวัว ควาย และปลา กวีพม่าชื่อ อูบุญญะ บันทึกไว้ว่า ในยามเที่ยงตรงของเดือนดะกู จะเห็นเงา
ตนเองใกล้ตัวเพียงแค่ 3 ฝ่าเท้า หากเป็นเดือนอื่น จะเห็นได้ยาวสุดถึง 6 ฝ่าเท้า ฉะนั้นเดือนดะกูจึง
เป็นเดือนที่ตะวันยามเที่ยงอยู่ตรงศีรษะมากที่สุด เมื่อสิ้นวันสงกรานต์ ชาวพม่าจะนิยมจัดงานบวช
เณรให้บุตรและจัดงานเจาะหูให้ธิดา ดังนั้นในช่วงหลังสงกรานต์ จะพบเห็นขบวนแห่ลูกแก้วและลูก
หญิงไปตาม ท้องถนนและรอบลานองค์เจดีย์ ตามวัดต่างๆจึงมีสามเณรบวชใหม่อยู่กันเต็มแทบทุกวัด
เดือนสอง เรียกว่า เดือนกะโส่ง (เม.ย.-พ.ค.) พม่ามีสานวนว่า "ดะกูน้าลง กะโส่งน้าแล้ง"
เดือนกะโส่งจึงเป็นเดือนที่แห้งแล้ง ภาวะอากาศในเดือนนี้ออกจะร้อนอบอ้าวกว่าเดือนอื่นๆ ชาวพุทธ
พม่าจึงจัดงานรดน้าต้นโพธิ์กันในวันเพ็ญของเดือนกะโส่ง และถืออีกว่าวันนี้ตรงกับวันที่พระพุทธเจ้า
ทรงประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง พม่าได้กาหนดเรียกวันดังกล่าว
ว่า วันพุทธะ ในวันนี้ชาวพุทธพม่าจะนิยมปฏิบัติบูชาตามวัดและเจดีย์ ด้วยการรักษาศีลและเจริญ
ภาวนา วัดและเจดีย์จึงมีผู้คนไปทาบุญมากเป็นพิเศษ เดือนกะโส่งนับเป็นเดือนที่ฝนเริ่มตั้งเค้า ชาวนา
จะเริ่มลงนา เพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูก
เดือนสาม เรียกว่า เดือนนะโหย่ง (พ.ค.-มิ.ย.) เดือนนี้เป็นเดือนเริ่มการเพาะปลูก ฝนฟ้าเริ่ม
ส่อเค้าและโปรยปราย อากาศเริ่มคลายร้อน ต้นไม้ใบหญ้าเริ่มแตกยอด โรงเรียนต่างเริ่มเทอมใหม่
หลังจากปิดภาคฤดูร้อน เดือนนะโหย่งจึงนับเป็นเดือนเริ่มชีวิตใหม่หลังจากผ่านร้อนผ่านหนาวมา
หลาย เดือน ในสมัยราชวงศ์เคยจัดพิธีแรกนาขวัญในเดือนนี้ พม่าเรียกพิธีนี้ว่า "งานมงคลไถนา" ส่วน
ในทางศาสนา เคยเป็นเดือนสอบท่องหนังสือ พุทธธรรมสาหรับพระเณร กล่าวว่ามีมาตั้งแต่สมัยของ
พระเจ้าตาหลุ่นมีงตะยา แห่งอังวะยุคหลัง ในอดีตจะสอบเฉพาะท่องหนังสือด้วยปากเปล่า แต่ปัจจุบัน
มีทั้งการสอบเขียนและสอบท่อง และได้ย้ายไปจัดในเดือนดะกูซึ่งเป็นเดือนแรกของปี
เดือนสี่ เรียกว่า เดือนหว่าโส่ (มิ.ย.-ก.ค.) ถือเป็นเดือนสาคัญทางพุทธศาสนา ด้วยเป็น
เดือนเข้าพรรษา พม่ากาหนดให้วันเพ็ญเดือนหว่าโส่เป็นวันธรรมจักรเพื่อน้อมราลึกวันปฏิสนธิ วันออก
บวช และวันปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในวันนี้ชาวพุทธพม่าจะเข้าวัดทาบุญและนมัสการ
พุทธเจดีย์กันอย่างเนืองแน่น และถัดจากวันธรรมจักร คือ วันแรม 1 ค่าของเดือนหว่าโส่ จะเป็นวันที่
พระสงฆ์เริ่มจาพรรษาในเดือนนี้สาวๆพม่าในหมู่บ้านมักจะจับกลุ่ม ออกหาดอกไม้นานา เรียกรวมๆว่า
ดอกเข้าพรรษาซึ่งขึ้นอยู่ตามชายป่าใกล้หมู่บ้าน เพื่อนามาบูชาพุทธเจดีย์ นอกจากนี้ยังมีการถวายจีวร
และเทียนที่วัด กิจกรรมสาคัญอีกอย่างหนึ่งในเดือนหว่าโส่ คือ งานบวชพระ ด้วยถือว่าวันเพ็ญเดือน
13
หว่าโส่นั้น เป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้กับเบญจวัคคี ในอดีตนั้นพระมหากษัตริย์จะทรงเป็นองค์
อุปถัมภ์ การบวชพระและเณรสาหรับผู้สอบผ่านพุทธธรรมตามที่จัดสอบกันในเดือนนะโหย่งที่ ผ่านมา
ฤดูฝนจะเริ่มในเดือนหว่าโส่ และในเดือนหว่าโส่นี้ยังเป็นเดือนลงนาปลูกข้าว เล่ากันว่าชาวนาจะลง
แขกปักดาข้าวในนา พร้อมกับขับเพลงกันก้องท้องทุ่งนา
เดือนห้า เรียกว่า เดือนหว่าข่อง (ก.ค.-ส.ค.) เป็นเดือนกลางพรรษา และเป็นเดือนที่มีงาน
บุญสลากภัต พม่าเรียกว่า สะเยดั่งบแว แต่เดิมใช้การจับติ้ว ภายหลังหันมาใช้กระดาษม้วนเป็นสลาก
ปัจจุบันการจัดงานบุญสลากภัตมีกล่าวถึงกันน้อยลง แต่กลับมีงานที่เด่นดังระดับประเทศขึ้นมาแทน
คืองานบูชาผีนัตที่หมู่บ้านต่องปะโยง ณ ชานเมืองมัณฑะเล เดือนนี้เป็นเดือนที่ฝนมักตกหนักกว่า
เดือนอื่น
เดือนหก เรียกว่า เดือนต่อดะลีง (ส.ค.-ก.ย.) เป็นเดือนน้าหลาก น้าตามแม่น้าลาคลองจะ
ขึ้นเอ่อเต็มตลิ่ง หลายท้องถิ่นจะจัดงานแข่งเรือกันอย่างสนุกสนาน และในเดือนนี้เช่นกันจะพบเห็นแพ
ซุงล่องตามลาน้าเป็นทิวแถว โดยเฉพาะในแม่น้าอิระวดี แพซุงจะล่องจากเหนือสู่ปลายทาง ณ ท่าน้า
เมืองย่างกุ้ง และเดือนนี้อีกเช่นกันที่ชาวประมงจะเริ่มลงอวนจับปลา ด้วยเป็นเดือนที่มีปลาออกจะชุก
ชุมเป็นพิเศษ
เดือนเจ็ด เรียกว่า เดือนดะดีงจุ๊ต (ก.ย.-ต.ค.) ในวันเพ็ญของเดือนนี้จะมีการทาปวารณาใน
หมู่สงฆ์ ชาวพุทธพม่าเรียกวันนี้เป็นวันอภิธรรม ด้วยเป็นวันที่พระพุทธองค์เสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้น
ดาวดึงส์ หลังจากที่ทรงเทศนาพระอภิธรรมตลอด 3 เดือนในพรรษาที่ผ่านมา ชาวพุทธจะจัดงานจุด
ประทีปเพื่อสักการะบูชาพระพุทธเจ้า นอกจากนี้ยังมีงานลอยโคมไฟ บางที่จะทาโคมลอยขนาดใหญ่
เป็นรูปโพตู่ด่อ หรือปะขาว รูปช้าง และรูปเสือ เป็นอาทิ นัยว่าทาเพื่อบูชาพระธาตุจุฬามณี ซึ่งอยู่บน
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ นอกจากนี้ในรัฐฉานจะมีงานบูชาพระเจ้าผ่องด่ออูซึ่งเป็นพุทธรูป 5 องค์ ที่หมู่บ้าน
นันฮู) ณ กลางทะเลสาปอีงเล กล่าวกันว่าพระเจ้าผ่องด่ออูเป็นพระพุทธรูปที่มีมาแต่สมัยพระเจ้าอะ
ลองสี่ ตู่แห่งพุกาม ต่อจากวันอภิธรรมจะเป็นวันออกจากพรรษา ซึ่งตรงกับวันแรม 1 ค่า ของเดือนดะ
ดีงจุ๊ต ในเดือนดะดีงจุ๊ตนี้ยังจัดประเพณีไหว้ขมาต่อบิดามารดาและครูบาอาจารย์ นอกจากนี้ชาวพม่า
ยังเริ่มจัดงานมงคลสมรสกันในเดือนนี้ โดยเริ่มจัดนับแต่วันแรม 1 ค่า ของเดือนตะดีงจุ๊ต ด้วยเชื่อว่า
ช่วงในพรรษานั้น กามเทพหรือเทพสัตตะภาคะจาต้องพักผ่อน จึงต้องเลี่ยงจัดงานแต่งงานในช่วงเวลา
ดังกล่าว จนกว่าจะพ้นช่วงพรรษา
เดือนแปด เรียกว่า เดือนดะส่องโมง (ต.ค.-พ.ย.) เป็นเดือนเปลี่ยนฤดูจากหน้าฝนย่างเข้า
หน้าหนาว กล่าวคือครึ่งแรกของเดือนจะเป็นท้ายฤดูฝน และครึ่งหลังของเดือนจะเป็นช่วงต้นหนาว
ชาวนาจะเริ่มเก็บเกี่ยวข้าวกันในเดือนนี้ ในทางพุทธศาสนานั้น เดือนดะส่องโมงถือเป็นเดือนสาหรับ
งานทอดกฐิน ซึ่งที่จริงพม่ากาหนดช่วงเวลาจัดงานทอดกฐินเริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ากลางเดือนดะดีงจุ๊ต
จนถึงวันเพ็ญกลางเดือนดะส่องโมง รวมเวลาหนึ่งเดือนเต็ม ในงานกฐินนี้จะมีการแห่ครัวทานที่พม่า
14
เรียกว่า ปเดต่าบี่งหรือ ต้นกัลปพฤกษ์ และในวันสุดท้ายของฤดูกฐิน ซึ่งตรงกับวันเพ็ญของเดือนดะ
ส่องโมงนั้น ชาวพุทธพม่าจะมีการจัดงานจุลกฐิน พม่าเรียกจุลกฐินนี้ว่า มโตตี่งกาง แปลตามศัพท์ว่า
"จีวรไม่บูด" เทียบได้กับอาหารที่ไม่ทิ้งให้ค้างคืนจนเสีย มโตตี่งกางเป็นกฐินที่ต้องทาให้แล้วเสร็จ
ภายในวันเดียว เริ่มแต่ปั่นฝ้ายให้เป็นด้าย จากด้ายทอให้เป็นผืนผ้า แล้วย้อมตัดเย็บเป็นจีวร ในเดือนนี้
ยังมีพิธีตามประทีป และทอดผ้าบังสุกุล หรือปั้งดะกู่ อีกด้วย
เดือนเก้า เรียกว่า เดือนนะด่อ (พ.ย.-ธ.ค.) เป็นเดือนที่เก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว ชาวนา จะ
นวดข้าวและสงฟางสุมเป็นกอง เดิมเคยเป็นเพียงเดือนสาหรับบูชานัตหลวงหรือผีหลวงที่ เขาโปปา
แห่งเมืองพุกาม แต่ปัจจุบันพม่ากาหนดให้มีงานเทิดเกียรติกวีและนักปราชญ์ของพม่าแทน โดยจัดใน
วันขึ้น 1 ค่า งานนี้เริ่มจัดเป็นครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1944 ทุกๆปีจะจัดให้มีการอ่านบท
ประพันธ์และการเสวนาเกี่ยวกับวรรณกรรมกันตามสถาน ศึกษา และตามย่านชุมชนต่างๆ สาหรับใน
ยุคราชวงศ์เคยถือเอาเดือนนี้จัดพระราชพิธีเพื่อมอบบรรดาศักดิ์ให้ กับนักรบนักปกครอง ตลอดจนกวี
ที่มีผลงานดีเด่น ตัวอย่างบรรดาศักดิ์สาหรับนักรบมีเช่น เนมะโยเชยยะสูระ และมหาสีริเชยยะสูระ
เป็นต้น ส่วนบรรดาศักดิ์สาหรับกวี อาทิ นัตฉิ่งหน่อง ปเทสะราชา ชเวต่องนันทะสู และเส่งตะจ่อตู่
เป็นต้น แต่เดิมนั้นเดือนนี้ยังเป็นเดือนสาหรับการคล้องช้างอีกด้วย
เดือนสิบ เรียกว่า เดือนปยาโต่ (ธ.ค.-ม.ค.) เดือนนี้เป็นเดือนที่หนาวจัด กวีหญิงของพม่า
สมัยคองบอง ชื่อแหม่เควฺ เคยบันทึกไว้ว่า "เดือนปยาโต่ หนาวเหน็บจนกายสั่น ผิงไฟยังมิอุ่น ห่มผ้า
หลายผืนยังมิคลาย" ในเดือนนี้ชาวไร่ที่กาลังเก็บเกี่ยวงาจะต้องคอยเฝ้าระวังฝนหลงฤดู หากฝนตกลง
มาในเวลาที่เก็บงา งาก็จะเสียหาย ชาวนาพม่าจะเรียกฝนที่ตกยามนี้ว่า ฝนพังกองงา ความหนาวเย็น
จะล่วงมาจนถึงเดือนดะโบ๊ะดแวซึ่งเป็นเดือนถัดมา ในอดีตเคยจัดงานอัศวยุทธโดยมีการประลองยุทธ
ด้วยช้างศึก ม้าศึก และการใช้อาวุธต่างๆ อาทิ ดาบ หอก เป็นต้น รัฐบาลพม่าเคยรื้อฟื้นจัดงานนี้ในปี
ท่องเที่ยวพม่า แต่ก็จัดได้เพียงปีเดียวเท่านั้น
เดือนสิบเอ็ด เรียกว่า เดือนดะโบ๊ะดแว (ม.ค.-ก.พ.) ในเดือนนี้ชาวพม่าราลึกถึง
พระพุทธเจ้าที่ย่อมต้องทรงผจญต่อภัยหนาวเช่นกัน และเชื่อว่าการผิงไฟจะช่วยให้ธาตุ 4 คืนสู่สมดุลย์
ชาวพม่าจึงจัดงานบุญบูชาไฟแด่พระพุทธและพระเจดีย์ซึ่งเป็นองค์แทนพระ พุทธเจ้า เรียกว่างานหลัว
ไฟพระเจ้า หรือ งานบุญไฟ) ปัจจุบันยังคงมีงานบุญเช่นนี้เฉพาะในบางท้องที่ของพม่าตอนบน ใน
เดือนนี้ยังมีงานกวนข้าวทิพย์ ซึ่งจัดในช่วงข้างขึ้นของเดือน กล่าวว่าพม่าจัดงานนี้มาแต่สมัยญองยาง
และในเดือนนี้อีกเช่นกันที่ชาวบ้านจะเริ่มเกี่ยวข้าวและปีนเก็บน้าตาลสดจาก ยอดตาล ซึ่งพบเห็น
ทั่วไปในเขตพม่าตอนกลางและตอนบน
เดือนสิบสอง เรียกว่า เดือนดะบอง (ก.พ.-มี.ค.) ในเดือนนี้อากาศจะเริ่มคลายหนาว และ
เริ่มเปลี่ยนไปสู่ฤดูร้อนในช่วงหลังของเดือน ประเพณีสาคัญคืองานก่อเจดีย์ทราย โดยจะก่อทรายเป็น
รูปจาลองเขาพระสุเมรุ ทายอดซ้อนเป็น 5 ชั้น พม่าเคยจัดประเพณีนี้ในยุคราชวงศ์ ปัจจุบันไม่นิยมจัด
15
แล้ว ตามตานานกล่าวว่าเดือนนี้เป็นเดือนที่เริ่มมีการสร้างเจดีย์พระเกศธาตุหรือ พระเจดีย์ชเวดากอง
ซึ่งตกในปีมหาศักราช 103 (พม่าถือว่าปีนี้เป็นปีที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้)ชาวพม่าจึงกาหนดเดือนดะ
บอง เป็นเดือนสาหรับงานบูชาเจดีย์ชเวดากองด้วยเช่นกัน เดือนดะบองนี้ถือเป็นเดือนสุดท้ายของปี
ตามศักราชพม่า
ในการกาหนดวันประเพณีเป็นวันหยุดราชการนั้น ทางรัฐบาลกาหนดไว้เพียงบางวัน ได้แก่
วันสงกรานต์ ในเดือนดะกู จัดราววันที่ 13 - 17 เมษายนของทุกปี, วันรดน้าต้นโพธิ์ หรือ วันพุทธะ
ในวันเพ็ญของเดือนกะโส่ง ตรงกับวันวิสาขบูชาของไทย, วันธรรมจักร ในวันเพ็ญของเดือนหว่าโส่ ตรง
กับวันอาสาฬหบูชาของไทย, วันอภิธรรม ในวันเพ็ญของเดือนดะดีงจุ๊ต ตรงกับวันออกพรรษาของไทย
และวันตามประทีป ในวันเพ็ญของเดือนดะส่องโมง ตรงกับวันลอยกระทงของไทย
สิ่งที่น่าสังเกตอย่างหนึ่งคือ ในอดีตนั้นงานประเพณีสิบสองเดือนของพม่าจะรวมเอาการ
บูชานัตหรือผีหลวงไว้ ด้วย โดยจัดกันในเดือนเก้า(เดือนนะด่อ) ในระยะหลังได้เปลี่ยนเป็นงานเทิด
เกียรติกวี อย่างไรก็ตามชาวบ้านก็ยังคงรักษาพิธีบูชาผีนัตไว้ และยังจัดงานใหญ่กันในเดือนหว่าข่อง
(เดือนห้า)
16
ประเพณี ปอยส่างลอง
ประเพณี ปอยส่างลอง หรือที่เรียกว่า“งานบวชลูกแก้ว”เป็นงานประเพณีประจาของชาว
ไต หรือไทยใหญ่ ซึ่งได้มีการจัดสืบทอดกันมายาวนาน คาว่า ปอย แปลว่า งาน ซึ่งหมายถึง งาน
เทศกาล งานรื่นเริง งานมงคลต่าง ๆ ส่าง แปลว่า พระ-เณร และ ลอง มาจาก คาว่า อะลอง แปลว่า
กษัตริย์ ราชา เกี่ยวกับเจ้าแผ่นดิน เมื่อรวมกันก็หมายถึง งานเตรียมบวชเป็นพระเณรของเด็กที่แต่งดา
เป็นกษัตริย์หรือราชานั่นเอง
โดย งาน “ปอยส่างลอง” นี้ จะนิยมจัดในช่วงระหว่างเดือนมีนาคม ถึง เดือนพฤษภาคม
ของทุกปี เนื่องจากเป็นช่วงที่ชาวบ้านมีเวลาว่างเว้น หลังจากเก็บเกี่ยวผืชผลเกษตรในไร่นาแล้วเสร็จ
ประกอบกับเป็นช่วงปิดเทอมปิดภาคเรียนของเด็กๆ สาเหตุที่ชาวไทยใหญ่ได้จัดงานนี้ก็เพราะต้องการ
ให้บุตรหลานได้มีโอกาสบรรพชา เป็นพระภิกษุสามเณรเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนา ดังจะเห็นได้ว่า
ชายชาวไทยใหญ่ที่นับถือพระพุทธศาสนา ล้วนจะได้ผ่านการบวชเป็นพระหรือสามเณรจากงาน
ประเพณีปอยส่างลองนี้กันมาแทบ ทั้งสิ้น
ตานานปอยส่างลอง
ตานานปอยส่างลองนี้ ถือตามความเชื่อ 2 ประการ คือ ว่ากันว่าเป็นการเลียนแบบตาม
ประวัติขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่เป็นเจ้าชายสิทธัตถะแห่งกรุงกบิลพัสดุ์เมื่อครั้งก่อนจะ
ออกผนวช เนื่องจากเป็นเจ้าชายจึงมีการแต่งกายในรูปกษัตริย์ และเมื่อครั้งเตรียมออกผนวช ได้มีนาย
ฉันนะ เป็นผู้ติดตามอารักขา ฉะนั้น การจัดงานปอยส่างลอง ของชาวไทยใหญ่จึงมีการแต่งองค์
ทรงเครื่องให้กับเด็กคล้ายดังเจ้าชาย และมีลูกน้อง หรือที่เรียกว่า ตะแป หรือ พ่อส้าน แม่ส้าน คอย
ให้การปรนนิบัตรตลอดงาน ซึ่งหน้าที่ของ ตะแป (พ่อส้าน แม่ส้าน) คือ คอยแต่งหน้า แต่งตัว และ
ยอมให้ขี่คอ เมื่อมีการนาส่างไปแห่ หรือ เวลาที่ส่างลองต้องการไปไหนมาไหน
ส่วนอีกตานานหนึ่งที่ถูกบันทึกไว้ ในหนังสือไทยใหญ่ที่เขียนโดยเจ้าหน่อคา นักอักษร
ศาสตร์ชื่อดังของชาวไทยใหญ่ ได้กล่าวไว้ว่า เมื่อครั้งสมัยพุทธกาล ในกรุงราชคฤห์ มีกษัตริย์องค์หนึ่ง
พระนามว่า พระเจ้าพิมพิศาล ซึ่งเป็นสร้างพระวิหารถวายพระพุทธเจ้าและปาวารณาตนเป็นทายก
17
ของพระพุทธเจ้าตลอดชีวิต พระเจ้าพิมพิศาล มีโอรสพระองค์หนึ่ง นามว่า อาชาตศัตรู วันหนึ่ง
เจ้าชายอาชาตศัตรูได้เสด็จไปยังลานพระวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ และบังเอิญได้พบกับพระ
เทวทัต เมื่อนั้นพระเทวทัตได้อัญเชิญอาชาตศัตรูเสด็จขึ้นไปบนกุฏิและได้กล่าวยกย่องว่าเป็นผู้มีบุคลิก
ดี เฉลียวฉลาดปราดเปรื่อง สมควรเป็นกษัตริย์ปกครองบ้านเมือง พร้อมกับยุแหย่ว่าพระเจ้าพิมพิศาล
นั้นทรงชราภาพมากแล้ว ไม่เหมาะสมที่จะเป็นกษัตริย์อีกต่อไป เพราะจะไม่สามารถนาทัพไปสู้รบกับ
ใครได้ อาจสูญเสียแผ่นดินให้กับเมืองอื่น จึงแนะนาให้พระเจ้าอาชาตศัตรูปลงพระชนม์
เจ้าชายอาชาตศัตรูเมื่อได้ฟังดังนั้นก็เกิดความขุ่นเคืองไม่พอพระทัยเป็นอย่างยิ่ง จึง
กล่าวตาหนิว่าใครจะสังหารบิดาของตัวเองได้ลงคอ จากนั้นจึงรีบเสด็จกลับทันที ฝ่ายพระเจ้าเทวทัต
ไม่ลดละความพยายาม โดยได้หาโอกาสพบกับเจ้าชายอาชาตศัตรูอีกครั้ง และได้ทูลกระซิบให้พระเจ้า
อาชาตศัตรูจับพระบิดาขังไว้โดยเสนอไม่ให้เสวยอาหาร 7 วัน เพื่อจะได้สิ้นพระชนม์ฺอย่างสงบ พร้อม
ทูลอีกว่าตัวเขาเองก็จะหาทางปลงพระชนม์พระพุทธเจ้า เพื่อที่จะได้เป็นพระพุทธเจ้า หลังจากนั้นท้อง
สองพระองค์จะร่วมกันพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองแทน
เจ้าชายอาชาตศัตรูเมื่อได้ฟังดังนั้นก็หลงเชื่อ หลังกลับถึงวังได้สั่งให้ทหารนาพระบิดาไป
ขังไว้พร้อมสั่งไม่ให้ผู้ใดนาอาหารไปให้เสวย ฝ่ายพระมารดาเมื่อทราบข่าวก็เกิดความรู้สึกสงสารใน
พระสวามี จึงได้ทาขนมใส่เกล้าผม บางครั้งใส่รองเท้า หรือทาตามตัวบ้าง แอบเข้าไปเยี่ยมและให้เสวย
จนกระทั่งเวลาผ่านไปครบ 7 วันพระเจ้าพิมพิศาลก็ยังมีชีวิตอยู่ และยังสามารถนั่งนอน ลุกเดินไปมา
ภายในห้องขังได้ เมื่อเจ้าชายอาชาตศัตรู ทราบเรื่องก็ได้สั่งให้ทหารเฉือนเนื้อฝ่าเท้าของพระบิดาออก
แล้วให้เอาน้าเกลือทา เพื่อไม่ให้เดินไปมาได้
ระหว่างกาลังขังทรมานพระบิดาอยู่นั้น เจ้าชายอาชาตศัตรูได้นาพาพระโอรสไปเยี่ยม
พระมารดา และระหว่างนั้นได้ทรงตรัสกับพระมารดาว่า เขามีความรักใคร่ในพระโอรสของเขามาก
และได้ทรงตรัสถามพระมารดาว่า เมื่อครั้งยังทรงพระเยาว์พระบิดาจะทรงรักตนเหมือนที่ตนรัก
พระโอรสหรือไม่ เมื่อพระมารดาได้ยินเช่นนั้น จึงตรัสว่า “เจ้ารักลูกเจ้ามากนั้นคงไม่จริงหลอก เพราะ
ของเล่นต่างๆ ซึ่งล้วนมีค่าที่ลูกเจ้าเล่นอยูทุกวัน เป็นของเล่นที่พ่อเจ้าซื้อให้เจ้าทั้งสิ้น เจ้าไม่ได้ซื้อหา
มาให้ลูกเจ้าแม้แต่ชิ้นเดียวเลย”
เจ้าชายอาชาตศัตรู เมื่อได้ฟังดังนั้นจึงแน่นิ่ง และทรงสานึกผิดที่ได้กระทาต่อพระบิดา
จากนั้นจึงรีบเสด็จไปยังที่คุมขังพระบิดา เพื่อนาตัวออกมารักษา ทว่า พระบิดาได้สิ้นพระชนม์เสียแล้ว
เมื่อเป็นเช่นนั้น เจ้าชายอาชาตศัตรู เกิดความรู้สึกเสียใจเป็นอย่างยิ่ง จากนั้นจึงรีบเสด็จไปเข้าเฝ้า
พระพุทธเจ้า พร้อมกับทูลเล่าเรื่องทังหมด เมื่อพระพุทธเจ้า ได้ฟังดังนั้นจึงตรัสว่า “เพราะคบคนพาล
จึงได้ทาบาปมหันต์เช่นนี้ เพื่อผ่อนบาปที่หนักให้เป็นเบา ให้นาพระโอรสมาถวายเป็นทานใน
พระพุทธศาสนา โดยที่ให้เขาสมัครใจ”
18
เมื่อทราบดังนั้น เจ้าชายอาชาตศัตรู ได้ชักชวนพระสหายพร้อมด้วยอามาตย์ให้นาบุตร
หลานเข้าร่วมรับการบวช ซึ่งมีจานวนกว่า 500 คน ก่อนบวชได้มีการจัดงานใหญ่ 7 วัน 7 คืน พร้อม
กับมีการแต่งองค์ทรงเครื่องบุตรหลานด้วยเครื่องประดับสวยงาม พร้อมกับมีการนาบุตรหลานอาบน้า
ขมิ้นส้มป่อย ซึ่งถูกแช่ด้วยเพชร พลอย ทองคา เงิน เพื่อเป็นสิริมงคล จากนั้นได้แห่ไปตามถนนรอบ
กรุงราชคฤห์ด้วยการขี่ช้าง ขี่ม้า หลังครบ 7 วัน จึงนาไปเฺข้ารับการบรรพชาเป็นสามเณรต่อหน้า
พระพุทธเจ้าและเหล่าพระสงฆ์สาวกทั้งหลาย จากเหตุนี้ ชาวไทใหญ่จึงได้ยึดถือนามาปฏิบัติจัดเป็น
งานประเพณีปอยส่อง จนถึงปัจจุบัน
ขั้นตอนการจัดงานปอยส่างลอง
ปอยส่างลองหรืองานบวชลูกแก้วนั้นเป็นพิธีการเฉลิมฉลองของการบรรพชาสามเณรใน
ศาสนาพุทธซึ่งปกติจะมีการจัดงานตั้งแต่ 3 – 5 - 7 วัน ซึ่งงานดังกล่าวนี้จะนิยมจัดขึ้นในช่วงปลาย
เดือนมีนาคม ถึงต้นเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงหน้าแล้งที่ชาวบ้านส่วนใหญ่ว่างเว้นจากการทานาทา
ไร่ และเป็นช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อนของเด็กๆด้วย
ก่อนถึงวันประเพณีปอยส่างลอง อย่างน้อย 10 วัน พ่อแม่จะนาเด็กที่จะเข้ารับการบวช ไป
ฝากไว้กับหลวงพ่อ หรือพระอาจารย์ที่วัด เพื่อรับการฝึกสอนคารับศีล คาให้พร คาขอบวช รวมถึงการ
กราบไว้ และก่อนจะเป็นส่างลอง เด็กซึ่งเป็นผู้ชายจะต้องโกนผม และอาบน้าสะอาด หรือ น้าเงิน น้า
ทอง น้าเพชร น้าพลอย เพื่อเป็นสิริมงคล จากนั้นจะแต่งกายด้วยชุดเสื้อผ้าเครื่องประดับต่างๆ อย่าง
อลังการ มีการแต่งหน้าแต่งตาด้วยสีสันที่จัดจ้านให้ส่างลอง ดูสวยงามเสมือนเจ้าชายซึ่งมีสง่าราศี
เหนือคนทั่วไป
วันแรกของปอยส่างลอง หรือ ที่เรียกกันว่า วันเอาส่างลอง หลังจากส่างลองได้ทาพิธีรับ
ศีลแล้ว ผู้เป็นพ่อแม่รวมถึงเจ้าภาพจะจัดเลี้ยงอาหาร 12 อย่าง เป็นมื้อแรกแก่ส่างลอง จากนั้นจะนา
ส่างลองแห่รอบวิหาร 3 รอบ และแห่ไปกราบคารวะศาลหลักเมือง จากนั้น ในช่วงบ่ายก็จะนาส่างลอง
ไปคารวะตามวัดต่างๆ
วันที่สอง หรือ "วันรับแขก" ทั้งส่างลอง และเจ้าภาพ จะคอยให้การต้อนรับแขกจากที่
ต่างๆ ที่ได้มีการเชิญไว้ก่อนล่วงหน้า ซึ่งจะมาร่วมทาบุญด้วย ซึ่งวันนี้จะเป็นวันที่มีการเลี้ยงฉลองแขก
และญาติๆ ที่มาร่วมงานอย่างสนุกสนาน
วันสุดท้าย คือ "วันบวช" พิธีของวันนี้จะเริ่มด้วยการนาส่างลองไปแห่รอบวิหาร 3 – 7 รอบ จากนั้นจะ
นาส่างลองขึ้นวัดเพื่อขออนุญาตทาการบรรพชาจากพระผู้ใหญ่ เมื่อท่านเจ้าอาวาส หรือพระผู้ใหญ่ได้
อนุญาตแล้ว ส่างลองก็จะพร้อมกันกล่าวคาบรรพชาและอาราธนาศีล แล้วจึงเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย
จากชุดเสื้อผ้าส่างลองที่สวยงามมาเป็นผ้ากาสาวพัตร์สีเหลือง และเป็นพระภิกษุ - สามเณรอย่าง
สมบูรณ์
19
ก่อนเข้าพิธีบวชหนึ่งวัน ส่างลองจะได้เข้าพิธีเรียกขวัญและการสวดคาขวัญ เพื่อให้เป็นสิริ
มงคลด้วย ซึ่งงานประเพณีปอย
ส่างลองนี้ แต่ละแห่งจะมีการจัดแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับความสะดวกและลาดับขั้นตอน
ของที่นั้นๆ โดยเฉพาะกาหนดวัน ซึ่งที่ที่มีการจัดงานมากกว่า 3 วัน จะเลื่อนวันรับแขกออกไปวันอื่น
และในช่วงการจัดงานจะมีการนาส่างลองไปเยี่ยมบ้าน หรือ ไปคารวะวัดและเยี่ยมเยือนหมู่บ้าน
ต่างๆ ที่ขาดไม่ได้คือ ตลอดงานจะต้องมีการแห่ส่างลอง รอบวิหารของวัดพร้อมมีการรับศีลทุกเช้า
เย็น ที่สาคัญตลอดงานส่างลองจะต้องไม่แตะพื้นที่ดิน ซึ่งหากจาเป็นจะไปไหนมาไหน ผู้เป็น ตะแป
หรือ พ่อส้าน จะคอยดูแลโดยให้ขี่คอ และจะมี ตะแป อีกคนคอยกางร่มให้ตลอดเวลา
20
อ้างอิง
ชุดประจาชาติพม่า - อาเซียน[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558. จาก
https://sites.google.com/site/mnmasean/chud-praca-chati-phma.
ดอกไม้ประเทศพม่า - อาเซียน[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558. จาก
https://sites.google.com/site/mnmasean/dxkmi-prathes-phma.
ประเพณีปอยส่างลอง และ ตานาน[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558. จาก
http://www.khonkhurtai.org/index.php?option=com_content&view=article&i
d=65:2009-11-24-06-33-49&catid=31:general&Itemid=46.
ภาษาพม่า เรียนรู้เพื่อเตรียมรับมือประชาคมอาเซียน[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน
2558. จากhttp://aec.kapook.com/view52075.html.
วาสนา รังสร้อย. (2556). ประชาคมอาเซียน: ข้อมูลและประวัติของประเทศเมียนมาร์ (พม่า)
[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558. จากhttp://asean2556.
blogspot.com/2013/02/republic-of-union-of-myanmar-nay-pyi.html.
อรนุช นิยมธรรม. ประเพณีสิบสองเดือนของพม่า[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558.
จาก http://www.human.nu.ac.th/myanmar/cult/index4_2.htm.
อาหารประเทศพม่า - อาเซียน[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558. จาก
https://sites.google.com/site/mnmasean/xahar-prathes-phma.
1

More Related Content

What's hot

โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
ทำเนียบบุคลากร
ทำเนียบบุคลากรทำเนียบบุคลากร
ทำเนียบบุคลากรbanbung
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติพัน พัน
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบparwaritfast
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
ประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชาประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชาNobpakao Kantawong
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 
การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..Moo Moo
 
รายงานจังหวัดเชียงใหม่ อัยบ์
รายงานจังหวัดเชียงใหม่ อัยบ์รายงานจังหวัดเชียงใหม่ อัยบ์
รายงานจังหวัดเชียงใหม่ อัยบ์Natsuda Loh
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...Panomporn Chinchana
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยwittawat_name
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 

What's hot (20)

โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
ทำเนียบบุคลากร
ทำเนียบบุคลากรทำเนียบบุคลากร
ทำเนียบบุคลากร
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชาประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชา
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
รายงานจังหวัดเชียงใหม่ อัยบ์
รายงานจังหวัดเชียงใหม่ อัยบ์รายงานจังหวัดเชียงใหม่ อัยบ์
รายงานจังหวัดเชียงใหม่ อัยบ์
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 

Viewers also liked

ภาษา และวัฒนธรรมประเทศเมียนมาร์
ภาษา และวัฒนธรรมประเทศเมียนมาร์ภาษา และวัฒนธรรมประเทศเมียนมาร์
ภาษา และวัฒนธรรมประเทศเมียนมาร์Chainarong Maharak
 
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาอาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาChainarong Maharak
 
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียนวัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียนพัน พัน
 
งานนำเสนอคอม
งานนำเสนอคอมงานนำเสนอคอม
งานนำเสนอคอมSupipat Mokmamern
 
ประเทศเมียนม่าร์
ประเทศเมียนม่าร์ประเทศเมียนม่าร์
ประเทศเมียนม่าร์sansan1394
 
ตัวอย่างข้อสอบครู
ตัวอย่างข้อสอบครูตัวอย่างข้อสอบครู
ตัวอย่างข้อสอบครูtampreak
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarวิระศักดิ์ บัวคำ
 
ประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาBangon Suyana
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)Chainarong Maharak
 
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนคุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนTaraya Srivilas
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคมthnaporn999
 

Viewers also liked (15)

ภาษา และวัฒนธรรมประเทศเมียนมาร์
ภาษา และวัฒนธรรมประเทศเมียนมาร์ภาษา และวัฒนธรรมประเทศเมียนมาร์
ภาษา และวัฒนธรรมประเทศเมียนมาร์
 
กัมพูชา
กัมพูชากัมพูชา
กัมพูชา
 
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาอาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
 
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียนวัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
 
งานนำเสนอคอม
งานนำเสนอคอมงานนำเสนอคอม
งานนำเสนอคอม
 
พม่า
พม่าพม่า
พม่า
 
ประเทศเมียนม่าร์
ประเทศเมียนม่าร์ประเทศเมียนม่าร์
ประเทศเมียนม่าร์
 
ตัวอย่างข้อสอบครู
ตัวอย่างข้อสอบครูตัวอย่างข้อสอบครู
ตัวอย่างข้อสอบครู
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
 
ประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชา
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
 
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนคุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 

More from Chainarong Maharak

การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoologyการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ SchoologyChainarong Maharak
 
โปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind mapโปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind mapChainarong Maharak
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรChainarong Maharak
 
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้งกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้งChainarong Maharak
 
ผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกChainarong Maharak
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมChainarong Maharak
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมChainarong Maharak
 
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Wordการสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft WordChainarong Maharak
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upChainarong Maharak
 
การสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analogการสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ AnalogChainarong Maharak
 
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐานคู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐานChainarong Maharak
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลChainarong Maharak
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนChainarong Maharak
 
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์Chainarong Maharak
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์Chainarong Maharak
 
การเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้านการเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้านChainarong Maharak
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 

More from Chainarong Maharak (20)

ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoologyการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
 
โปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind mapโปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind map
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้งกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
 
ผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดก
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
 
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Wordการสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch up
 
การสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analogการสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analog
 
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐานคู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
 
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
การเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้านการเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้าน
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 

ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์

  • 1. 1 ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน ประเทศเมียนม่าร์ (พม่า) เสนอ อาจารย์กัญจณ์ปภัสส์ สุวรรณวิหค จัดทาโดย ๑. นางสาวทิพเนตร แม้นจิตร รหัสนักศึกษา ๕๗๐๐๓๑๒๖๐๑๙ ๒. นางสาวชลันดา คล้ายขาดี รหัสนักศึกษา ๕๗๐๐๓๑๒๖๐๔๓ ๓. นายชัยณรงค์ มะหารักษ์ รหัสนักศึกษา ๕๗๐๐๓๑๒๖๐๕๑ กลุ่ม คอมพิวเตอร์ศึกษา รหัส ๕๗๓๐๐๑๒๖๐๑ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาภาษาและวัฒนธรรมสาหรับครู (EED๑๐๑) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๗
  • 2. 2 คานา รายงานภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน ประเทศเมียนม่าร์ (พม่า) เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา วิชาภาษาและวัฒนธรรมสาหรับครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ โดยขอบเขต เนื้อหาของรายงานฉบับนี้ นาเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับข้อมูลที่สาคัญของประเทศ ภาษาที่ใช้ในประเทศ และยังรวมถึงวัฒนธรรมประเพณีที่มีความโดดเด่นเป็นอย่างยิ่ง ขอขอบคุณอาจารย์กัญจณ์ปภัสส์ สุวรรณวิหค ที่ให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะ และขอบคุณ คณะผู้ร่วมทางานที่ให้ความร่วมมือ จนรายงานฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์ หวังว่ารายงานฉบับนี้ จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจ ได้ศึกษาเกี่ยวกับภาษาและ วัฒนธรรมอาเซียน ประเทศเมียนม่าร์ (พม่า) ต่อไป คณะผู้จัดทา
  • 3. 3 สารบัญ หน้า คานา ......................................................................................................................................ข สารบัญ .................................................................................................................................. ค ข้อมูลทั่วไป .............................................................................................................................1 การใช้ภาษา ............................................................................................................................7 วัฒนธรรมประเพณี .................................................................................................................9 การแต่งกาย ...........................................................................................................................9 อาหาร .................................................................................................................................10 ประเพณีสิบสองเดือน ..........................................................................................................11 ประเพณีปอยส่างลอง ..........................................................................................................16 อ้างอิง ..................................................................................................................................20
  • 4. 1 ข้อมูลทั่วไป ชื่อทางการ : สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนม่าร์ (Republic of the Union of the Myanmar) เมืองหลวง : เนปิดอว์ (Nay Pyi Taw) (เมืองหลวงเดิม คือ ย่างกุ้ง) ศาสนาประจาชาติ : ศาสนาพุทธ วันชาติ : 4 มกราคม วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน : 23 กรกฎาคม พ.ศ.2540 ธงประจาชาติ มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวนอน ความกว้างเท่ากัน พื้นสี เหลือง สีเขียว และสีแดง เรียงตามลาดับจากบนลงล่าง กลางธงมีรูปดาวห้าแฉกสีขาวขนาดใหญ่ ความหมายของสัญลักษณ์ในธงชาติประกอบด้วย สีเขียว หมายถึง สันติภาพ ความสงบ และความอุดมสมบูรณ์ของพม่า สีเหลือง หมายถึง ความสามัคคี สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง เด็ดขาด ดาวสีขาว หมายถึง สหภาพอันมั่นคงเป็นเอกภาพ ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ลักษณะของดวงตราประกอบด้วยรูปสิงห์แบบศิลปะพม่าจานวน 2 ตน อยู่ในท่านั่ง รักษาการณ์ หันหลังให้ซึ่งกันและกัน ที่กลางตรานั้นมีภาพของแผนที่ประเทศพม่ารองรับด้วยช่อใบ มะกอกคู่ ล้อมรอบด้วยลวดลายบุปผชาติตามแบบศิลปะพม่า ที่บนสุดของดวงตราเป็นรูปดาวห้าแฉก ดวงหนึ่ง รูปเหล่านี้รองรับด้วยม้วนแพรแถบจารึกนามเต็มของประเทศด้วยใจความ “สาธารณรัฐแห่ง สหภาพพม่า”
  • 5. 2 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ พม่ามีพื้นที่ประมาณ 657,740 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศ  ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับจีนและทิเบต  ทิศใต้และตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับลาวและไทย  ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับอินเดียและบังกลาเทศ  ทิศใต้ ติดกับทะเลอันดามันและอ่าวเบงกอล ภูมิอากาศ แบบมรสุมเขตร้อน มี 3 ฤดู คือ ร้อน ฝน และหนาว ซึ่งสภาพอากาศจะแตกต่างกันไปตาม ภูมิประเทศ โดยพื้นที่สูงจะหนาวเย็น พื้นที่ภาคกลางจะแห้งแล้งกว่าแถบชายฝั่งทะเลตอนใต้ ประชากร มีจานวนประชากรประมาณ 55 ล้านคน มีหลายเชื้อชาติ ส่วนใหญ่มีเชื้อชาติเมียนม่าร์ รองลงมา คือ ไทยใหญ่ มอญ ยะไข่ กะเหรี่ยง คะฉิ่น ไทยและชิน
  • 6. 3 การเมืองการปกครอง มีรูปแบบการปกครองแบบสาธารณรัฐ โดยมีรัฐสภาซึ่งประกอบด้วย สภาประชาชน สภา ชาติพันธุ์ และสภาท้องถิ่น สมาชิกรัฐสภามาจากการเลือกตั้ง โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขและ หัวหน้ารัฐบาล แบ่งการปกครองเป็น 7 รัฐ ตามกลุ่มเชื้อชาติที่เป็นชนกลุ่มใหญ่ในแต่ละรัฐและ แบ่งเป็น 7 ภาค ในเขตพื้นที่ราบลุ่มที่ประชากรเชื้อสายเมียนมาร์อาศัยเป็นส่วนใหญ่ การแบ่งเขตการปกครอง ประเทศพม่าแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 รัฐ (states) และ 7 เขต (divisions) ดังนี้ • รัฐ (States) 1. รัฐชิน (Chin) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองฮะคา 2. รัฐกะฉิ่น (Kachin) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองมิตจีนา 3. รัฐกะเหรี่ยง (Kayin) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองปะอาน 4. รัฐกะยา (Kayah) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองหลอยก่อ 5. รัฐมอญ (Mon) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองมะละแหม่ง 6. รัฐยะไข่ (Rakhine) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองซิตตเว 7. รัฐฉานหรือไทใหญ่ (Shan) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองตองยี • เขต (Divisions) 1. เขตอิรวดี (Ayeyarwady) มีเมืองเอกชื่อ เมืองพะสิม 2. เขตพะโค (Bago) มีเมืองเอกชื่อ เมืองพะโค 3. เขตมาเกว (Magway) มีเมืองเอกชื่อ เมืองมาเกว 4. เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay) มีเมืองเอกชื่อ เมืองมัณฑะเลย์ 5. เขตสะกาย (Sagaing) มีเมืองเอกชื่อ เมืองสะกาย 6. เขตตะนาวศรี (Tanintharyi) มีเมืองเอกชื่อ เมืองทวาย 7. เขตย่างกุ้ง (Yangon) มีเมืองเอกชื่อ เมืองย่างกุ้ง
  • 7. 4 ประธานาธิบดี เป็นประมุขของประเทศ คือ พลเอกอาวุโส ตาน ฉ่วย (Senior General Tan Shwe) นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล คือ พลเอก เต็ง เส่ง (General Thein Sein)
  • 8. 5 เศรษฐกิจและทรัพยากรที่สาคัญ เมียนมาร์เป็นประเทศกาลังพัฒนาที่มีรายได้เฉลี่ยต่อบุคคลอยู่ในเกณฑ์ต่า การเกษตรกรรม ถือเป็นอาชีพหลักของเมียนมาร์ ซึ่งมีการปลูกข้าวเจ้า ผัก และพืชเมืองร้อนหลายชนิด นอกจากนี้ยังมี การขุดแร่และน้ามัน รวมทั้งมีเหมืองดีบุกอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคอุตสาหกรรมนั้น อยู่ในขั้นกาลังพัฒนา โดยมีอุตสาหกรรมต่อเรือเดินสมุทรอยู่บริเวณเมืองย่างกุ้ง มะริด และทวาย ทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญ ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ ป่าไม้ อัญมณี แร่ธาตุ และน้ามัน สกุลเงินของประเทศเมียนม่าร์ คือ จ๊าด (Kyat) * 26 จ๊าดเท่ากับประมาณ 1 บาทไทย
  • 9. 6 สัตว์ประจาชาติ สัตว์ประจาชาติของเมียนม่าร์ คือ เสือโคร่ง (Tiger) นั้นเป็นสัตว์กินเนื้อตระกูลแมวที่มี ขนาดใหญ่ที่สุด มีความดุร้าย ว่องไว ปราดเปรียว สามารถวิ่งได้เร็ว ว่ายน้าเก่ง ปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว พบได้ทั่วไปในทวีปเอเชีย และพบมากในป่าของประเทศเมียนม่าร์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความอุดม สมบูรณ์ของประเทศพม่าได้เป็นอย่างดี ดังที่มีผู้กล่าวไว้ว่า เสือคือดัชนีวัดความอุดมสมบูรณ์ของป่า ดังนั้นเสือจึงถูกเลือกให้เป็นสัตว์ประจาชาติเมียนม่าร์ ดอกไม้ประจาชาติ ดอกประดู่ ผลิดอกสีเหลืองทองและส่งกลิ่นหอมหลังฤดูฝนแรกของเดือนเมษายน ซึ่งเป็น เวลาเดียวกับการเฉลิมฉลองปีใหม่ของประเทศพม่า เมื่อผลิดอก ต้นของดอกประดู่ จะเป็นสีทองตลอด ทั้งคืน ชาวพม่าจึงถือว่าต้นประดู่ เป็นสัญลักษณ์ของความแข็งแรง และความทนทาน ดอกไม้ชนิดนี้ยัง หมายถึงวัยหนุ่มสาว และความรัก ดอกประดู่ เป็นดอกไม้ที่ขาดไม่ได้ในงานประเพณีและพิธีทาง ศาสนา จึงพบมากในประเทศพม่า นอกจากนี้ ลาต้นยังสมารถนาไปทาเครื่องเรือนได้อีกด้วย
  • 10. 7 การใช้ภาษา ภาษาประจาชาติ และ ภาษาราชการ : ภาษาเมียนม่าร์ ภาษาพม่า เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์เหมือนภาษาไทย คือมีทั้งหมด 4 เสียงด้วยกัน ซึ่ง วรรณยุกต์เหล่านี้ ล้วนดัดแปลงมาจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง ซึ่งถ้าเทียบกับวรรณยุกต์ไทยแล้ว มี เพียงเสียง สามัญ เอก ตรี และเอกแบบคาตายเท่านั้น ส่วนตัวอักษรก็มีลักษณะคล้ายภาษาไทยตรงจุด ที่ จะมีตัวอักษรเฉพาะคาที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ตัวอักษร ศ ษ ส ของไทย เป็นต้น สาหรับตัวอักษรในพม่ามีทั้งหมด 33 ตัว สระจานวน 23 ตัว โดยแบ่งเป็นสระลอย (สระที่ ไม่ต้องนาไปประกอบกับพยัญชนะก็ออกเสียงได้) 11 ตัว และสระจม (สระที่ต้องนาไปประกอบกับ พยัญชนะถึงออกเสียงได้) 12 ตัว ส่วนการจัดรูปประโยคของพม่า จะต่างจากไทยคือ อยู่ในรูป ประธาน กรรม กริยา แล้วการพูดลงท้ายคาคุณศัพท์หรือกริยา จะต้องลงท้ายด้วย "เด่หรือเต่" เสมอ แล้วแต่สถานการณ์ว่าจะต้องใช้คาใด
  • 12. 9 วัฒนธรรมประเพณี วัฒนธรรมของพม่าได้รับอิทธิพลทั้งจากจีน อินเดีย และไทยมาช้านาน ดังสะท้อนให้เห็นใน ด้านภาษา ดนตรี และอาหาร สาหรับศิลปะของพม่านั้นได้รับอิทธิพลจากวรรณคดีและ พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มาตั้งแต่ครั้งโบราณ ในปัจจุบันนี้วัฒนธรรมพม่ายังได้รับอิทธิพลจาก ตะวันตกมากขึ้น ซึ่งเห็นได้ชัดจากเขตชนบทของประเทศ การแต่งกาย เครื่องแต่งกาย ชาวพม่าทั้งหญิงและชายนิยมนุ่งโสร่ง ที่เรียกว่า “ลองยี” (Longeje) ซึ่งมี ทั้งผ้าฝ้ายและไหมที่มีสีสด ผู้หญิง จะมีลายเชิงด้านล่างและมีลวดลายเล็ก ๆ กระจายทั่ว ผืนผ้า ลวดลายของแต่ละ ท้องถิ่นจะต่างกัน ผ้าที่ทอมาจากเมืองอมรปุระเป็นลวดลายดอกไม้ เครือไม้ หรือเป็นดอกเป็นลายตาม ขวาง ไม่นิยมใช้เข็มขัด สวมเสื้อตัวสั้น คอกลม ผ่าอกติดกระดุม 5 เม็ด แขนกระบอกยาวจรดข้อมือ บางครั้งเป็นแขนสั้น เลยไหล่ลงมาเล็กน้อย ผ้าตัดเสื้อนิยมใช้ ผ้าเนื้อบาง สีสด เช่น ผ้ามัสลิน ผ้าป่าน หรือผ้าไนลอน สวมรองเท้าคีบรองเท้าแตะ ทั้งหญิง ชาย แต่ของหญิงจะเป็นสี มีลวดลายเป็นดอกดวง ปักด้วยลูกปัด หรือดิ้น เงินดิ้น ทอง สะพายย่าม ซึ่งเป็นผ้าไหมสีสวยสดทอมาจากรัฐฉาน ผม โดยทั่วไปไว้ผมยาวเกล้าสูง บางทีก็ปล่อยชายห้อยลงมาไว้ทางซ้ายบ้างขวางบ้าง มี ดอกไม้แซมผม เครื่องประดับ นิยมหิน และพลอยที่มีค่าเช่น ทับทิม นิล และหยก ผู้ชาย นุ่งโสร่งเช่นเดียวกับหญิงแต่สีไม่ฉูดฉาด เป็นลายตาราง โตบ้าง เล็กบ้าง หรือเป็น ลายทางยาวบ้าง โดยทั่วไปใส่เสื้อขาว เมื่อมีพิธีจะสวมเสื้อคล้ายเสื้อจีนแขนยาว ถึงข้อมือ แบบหนึ่ง เรียกว่า “กุยตั๋ง” เป็นเสื้อชายสั้น ๆ ติดดุมถักแบบจีนป้ายมาข้าง ๆ อีกแบบเรียกว่า “กุยเฮง” ตัวยาว ถึงสะโพก และติดกระดุมตั้งแต่คอตรงมาจดชายเสื้อใช้สีสุภาพ เช่น ขาวดา หรือ นวล ถ้าอากาศหนาว จะสวมเสื้อกัก ทอสักหลาดทับอีกชิ้น หนึ่ง จะสวมรองเท้าหุ้มส้นเมื่อมีพิธี ผม ตัดผมสั้น ไม่นิยมสวมหมวก หรือโพกศีรษะตามประเพณีเดิม เมื่อมีพิธีจะมีผ้าหรือ แพรโพกศีรษะทาเป็นกระจุกปล่อยชายทิ้งไว้ทางด้านขวา นิยมใช้สีชมพู
  • 13. 10 อาหารประเทศเมียนม่าร์ หล่าเพ็ด หล่าเพ็ด เป็นอาหารยอดนิยมของพม่า คือใบชาหมักทานกับเครื่องเคียง เช่น กระเทียมเจียว ถั่วชนิดต่าง ๆ งาคั่ว กุ้งแห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว จัดว่าเป็นอาหารว่างคล้ายกับยาเมี่ยงบ้าน เรานั่นเอง หล่าเพ็ด เป็นจานที่ขาดไม่ได้ในโอกาสพิเศษหรือเทศกาลสาคัญ ๆ ว่ากันว่าไม่มีงานเลี้ยง หรืองานเฉลิมฉลองใดจะสมบูรณ์ได้หากไม่มี ขนมจีนน้ายาพม่า ขนมจีนน้ายาพม่า คือขนมจีนน้ายาที่ทาจากปลา ไม่มีกะทิ จะเรียกว่าน้ายาป่าก็ได้ ชาว พม่าจะทานกันเป็นอาหารเช้าด้วย น้ายาจะใช้ปลาน้าจืดเป็นหลักพวก ปลาดุก ปลาช่อน ผักที่ใส่ใน น้ายา ก็จะเป็น หยวกกล้วยและใช้พวกแป้งถั่ว หรือ ข้าวคั่วเพื่อทาให้น้าแกงข้น จากนั้นก็โรยหน้า ด้วย ถั่วเหลืองทอด ไข่ต้ม ปลาเส้นทอด ปลาท่องโก๋ ผักชี ปรุงรสด้วยพริกป่น และมะนาว
  • 14. 11 ประเพณีสิบสองเดือน นับแต่อดีตมา พม่ามีงานประเพณีของแต่ละเดือนในรอบปี เรียกว่า แซะนะล่ะหย่าตี่บะแว หรือประเพณีสิบสองเดือน ในยุคราชวงศ์ของพม่ามีการกาหนดให้งานนี้เป็นพระราชพิธี แม้ว่าใน ปัจจุบันพม่าจะยังคงสืบทอดงานประเพณีสิบสองเดือนไว้ แต่ก็มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมบ้าง ประเพณีสิบสองเดือนของพม่าเป็นดังนี้ (เดือน 1 ของพม่า เท่ากับเดือน 5 ของไทย และเดือน 12 ไทย เท่ากับเดือน 8 พม่า) ลาดับ เดือน เดือนพม่า เดือนสากล งานประเพณีประจาเดือน 1 ดะกู มี.ค. - เม.ย. งานฉลองสงกรานต์ 2 กะโส่ง เม.ย. - พ.ค. งานรดน้าต้นโพธิ์ 3 นะโหย่ง พ.ค. - มิ.ย. งานสอบพระธรรม ปัจจุบันย้ายไปจัดในเดือนดะกู 4 หว่าโส่ มิ.ย. - ก.ค. งานบวชพระเณร และ งานเข้าพรรษา 5 หว่าข่อง ก.ค. - ส.ค. งานสลากภัต ปัจจุบันงานบูชานัตที่ต่องปะโยง เป็นที่สนใจ มากขึ้น 6 ต่อดะลีง ส.ค. - ก.ย. งานแข่งเรือ หรือ งานต่อดะลีงหรืองานติจ์ซีง ปัจจุบันไม่มี การจัดงาน 7 ดะดีงจู๊ต ก.ย. - ต.ค. งานจุดประทีป และ งานออกพรรษา นิยมปล่อยโคมลอยกัน ในเดือนนี้ 8 ดะส่องโมง ต.ค. - พ.ย. งานทอดกฐิน และ งานตามประทีป 9 นะด่อ พ.ย. - ธ.ค. งานบูชานัต ปัจจุบันจัดงานเทิดเกียรติกวี แทนงานบูชานัต 10 ปยาโต่ ธ.ค. - ม.ค. งานอัศวยุทธ ปัจจุบันไม่มีการจัดงาน 11 ดะโบ๊ะดแว ม.ค. - ก.พ. งานกวนข้าวทิพย์ และ งานหลัวไฟพระเจ้า 12 ดะบอง ก.พ. - มี.ค. งานก่อเจดีย์ทราย หรือ งานดะบอง ปัจจุบันไม่นิยมจัดงาน ก่อเจดีย์ทราย
  • 15. 12 เดือนหนึ่ง เรียกว่า เดือนดะกู (มี.ค.-เม.ย.) เป็นเดือนเริ่มศักราชใหม่ และเป็นเดือนต้นฤดู ร้อน ประเพณีสาคัญของเดือนนี้คืองานฉลองสงกรานต์ พม่าถือเป็นงานฉลองวันส่งท้ายปีเก่าและย่างสู่ ปีใหม่ มีการเล่นสาดน้ากันตลอด 5 วัน ชาวพม่าถือว่าช่วงเวลานี้เป็นวันมงคล จึงนิยมเข้าวัดรักษาศีล ช่วยกวาดลานวัดและลานเจดีย์ สรงน้าพระพุทธและเจดีย์ รดน้าดาหัวพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ตลอดจน ครูบาอาจารย์ และสระผมให้ผู้เฒ่าผู้แก่ด้วยน้าส้มป่อย งดการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต บ้างสร้างกุศลด้วยการ ปล่อยวัว ควาย และปลา กวีพม่าชื่อ อูบุญญะ บันทึกไว้ว่า ในยามเที่ยงตรงของเดือนดะกู จะเห็นเงา ตนเองใกล้ตัวเพียงแค่ 3 ฝ่าเท้า หากเป็นเดือนอื่น จะเห็นได้ยาวสุดถึง 6 ฝ่าเท้า ฉะนั้นเดือนดะกูจึง เป็นเดือนที่ตะวันยามเที่ยงอยู่ตรงศีรษะมากที่สุด เมื่อสิ้นวันสงกรานต์ ชาวพม่าจะนิยมจัดงานบวช เณรให้บุตรและจัดงานเจาะหูให้ธิดา ดังนั้นในช่วงหลังสงกรานต์ จะพบเห็นขบวนแห่ลูกแก้วและลูก หญิงไปตาม ท้องถนนและรอบลานองค์เจดีย์ ตามวัดต่างๆจึงมีสามเณรบวชใหม่อยู่กันเต็มแทบทุกวัด เดือนสอง เรียกว่า เดือนกะโส่ง (เม.ย.-พ.ค.) พม่ามีสานวนว่า "ดะกูน้าลง กะโส่งน้าแล้ง" เดือนกะโส่งจึงเป็นเดือนที่แห้งแล้ง ภาวะอากาศในเดือนนี้ออกจะร้อนอบอ้าวกว่าเดือนอื่นๆ ชาวพุทธ พม่าจึงจัดงานรดน้าต้นโพธิ์กันในวันเพ็ญของเดือนกะโส่ง และถืออีกว่าวันนี้ตรงกับวันที่พระพุทธเจ้า ทรงประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง พม่าได้กาหนดเรียกวันดังกล่าว ว่า วันพุทธะ ในวันนี้ชาวพุทธพม่าจะนิยมปฏิบัติบูชาตามวัดและเจดีย์ ด้วยการรักษาศีลและเจริญ ภาวนา วัดและเจดีย์จึงมีผู้คนไปทาบุญมากเป็นพิเศษ เดือนกะโส่งนับเป็นเดือนที่ฝนเริ่มตั้งเค้า ชาวนา จะเริ่มลงนา เพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูก เดือนสาม เรียกว่า เดือนนะโหย่ง (พ.ค.-มิ.ย.) เดือนนี้เป็นเดือนเริ่มการเพาะปลูก ฝนฟ้าเริ่ม ส่อเค้าและโปรยปราย อากาศเริ่มคลายร้อน ต้นไม้ใบหญ้าเริ่มแตกยอด โรงเรียนต่างเริ่มเทอมใหม่ หลังจากปิดภาคฤดูร้อน เดือนนะโหย่งจึงนับเป็นเดือนเริ่มชีวิตใหม่หลังจากผ่านร้อนผ่านหนาวมา หลาย เดือน ในสมัยราชวงศ์เคยจัดพิธีแรกนาขวัญในเดือนนี้ พม่าเรียกพิธีนี้ว่า "งานมงคลไถนา" ส่วน ในทางศาสนา เคยเป็นเดือนสอบท่องหนังสือ พุทธธรรมสาหรับพระเณร กล่าวว่ามีมาตั้งแต่สมัยของ พระเจ้าตาหลุ่นมีงตะยา แห่งอังวะยุคหลัง ในอดีตจะสอบเฉพาะท่องหนังสือด้วยปากเปล่า แต่ปัจจุบัน มีทั้งการสอบเขียนและสอบท่อง และได้ย้ายไปจัดในเดือนดะกูซึ่งเป็นเดือนแรกของปี เดือนสี่ เรียกว่า เดือนหว่าโส่ (มิ.ย.-ก.ค.) ถือเป็นเดือนสาคัญทางพุทธศาสนา ด้วยเป็น เดือนเข้าพรรษา พม่ากาหนดให้วันเพ็ญเดือนหว่าโส่เป็นวันธรรมจักรเพื่อน้อมราลึกวันปฏิสนธิ วันออก บวช และวันปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในวันนี้ชาวพุทธพม่าจะเข้าวัดทาบุญและนมัสการ พุทธเจดีย์กันอย่างเนืองแน่น และถัดจากวันธรรมจักร คือ วันแรม 1 ค่าของเดือนหว่าโส่ จะเป็นวันที่ พระสงฆ์เริ่มจาพรรษาในเดือนนี้สาวๆพม่าในหมู่บ้านมักจะจับกลุ่ม ออกหาดอกไม้นานา เรียกรวมๆว่า ดอกเข้าพรรษาซึ่งขึ้นอยู่ตามชายป่าใกล้หมู่บ้าน เพื่อนามาบูชาพุทธเจดีย์ นอกจากนี้ยังมีการถวายจีวร และเทียนที่วัด กิจกรรมสาคัญอีกอย่างหนึ่งในเดือนหว่าโส่ คือ งานบวชพระ ด้วยถือว่าวันเพ็ญเดือน
  • 16. 13 หว่าโส่นั้น เป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้กับเบญจวัคคี ในอดีตนั้นพระมหากษัตริย์จะทรงเป็นองค์ อุปถัมภ์ การบวชพระและเณรสาหรับผู้สอบผ่านพุทธธรรมตามที่จัดสอบกันในเดือนนะโหย่งที่ ผ่านมา ฤดูฝนจะเริ่มในเดือนหว่าโส่ และในเดือนหว่าโส่นี้ยังเป็นเดือนลงนาปลูกข้าว เล่ากันว่าชาวนาจะลง แขกปักดาข้าวในนา พร้อมกับขับเพลงกันก้องท้องทุ่งนา เดือนห้า เรียกว่า เดือนหว่าข่อง (ก.ค.-ส.ค.) เป็นเดือนกลางพรรษา และเป็นเดือนที่มีงาน บุญสลากภัต พม่าเรียกว่า สะเยดั่งบแว แต่เดิมใช้การจับติ้ว ภายหลังหันมาใช้กระดาษม้วนเป็นสลาก ปัจจุบันการจัดงานบุญสลากภัตมีกล่าวถึงกันน้อยลง แต่กลับมีงานที่เด่นดังระดับประเทศขึ้นมาแทน คืองานบูชาผีนัตที่หมู่บ้านต่องปะโยง ณ ชานเมืองมัณฑะเล เดือนนี้เป็นเดือนที่ฝนมักตกหนักกว่า เดือนอื่น เดือนหก เรียกว่า เดือนต่อดะลีง (ส.ค.-ก.ย.) เป็นเดือนน้าหลาก น้าตามแม่น้าลาคลองจะ ขึ้นเอ่อเต็มตลิ่ง หลายท้องถิ่นจะจัดงานแข่งเรือกันอย่างสนุกสนาน และในเดือนนี้เช่นกันจะพบเห็นแพ ซุงล่องตามลาน้าเป็นทิวแถว โดยเฉพาะในแม่น้าอิระวดี แพซุงจะล่องจากเหนือสู่ปลายทาง ณ ท่าน้า เมืองย่างกุ้ง และเดือนนี้อีกเช่นกันที่ชาวประมงจะเริ่มลงอวนจับปลา ด้วยเป็นเดือนที่มีปลาออกจะชุก ชุมเป็นพิเศษ เดือนเจ็ด เรียกว่า เดือนดะดีงจุ๊ต (ก.ย.-ต.ค.) ในวันเพ็ญของเดือนนี้จะมีการทาปวารณาใน หมู่สงฆ์ ชาวพุทธพม่าเรียกวันนี้เป็นวันอภิธรรม ด้วยเป็นวันที่พระพุทธองค์เสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์ หลังจากที่ทรงเทศนาพระอภิธรรมตลอด 3 เดือนในพรรษาที่ผ่านมา ชาวพุทธจะจัดงานจุด ประทีปเพื่อสักการะบูชาพระพุทธเจ้า นอกจากนี้ยังมีงานลอยโคมไฟ บางที่จะทาโคมลอยขนาดใหญ่ เป็นรูปโพตู่ด่อ หรือปะขาว รูปช้าง และรูปเสือ เป็นอาทิ นัยว่าทาเพื่อบูชาพระธาตุจุฬามณี ซึ่งอยู่บน สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ นอกจากนี้ในรัฐฉานจะมีงานบูชาพระเจ้าผ่องด่ออูซึ่งเป็นพุทธรูป 5 องค์ ที่หมู่บ้าน นันฮู) ณ กลางทะเลสาปอีงเล กล่าวกันว่าพระเจ้าผ่องด่ออูเป็นพระพุทธรูปที่มีมาแต่สมัยพระเจ้าอะ ลองสี่ ตู่แห่งพุกาม ต่อจากวันอภิธรรมจะเป็นวันออกจากพรรษา ซึ่งตรงกับวันแรม 1 ค่า ของเดือนดะ ดีงจุ๊ต ในเดือนดะดีงจุ๊ตนี้ยังจัดประเพณีไหว้ขมาต่อบิดามารดาและครูบาอาจารย์ นอกจากนี้ชาวพม่า ยังเริ่มจัดงานมงคลสมรสกันในเดือนนี้ โดยเริ่มจัดนับแต่วันแรม 1 ค่า ของเดือนตะดีงจุ๊ต ด้วยเชื่อว่า ช่วงในพรรษานั้น กามเทพหรือเทพสัตตะภาคะจาต้องพักผ่อน จึงต้องเลี่ยงจัดงานแต่งงานในช่วงเวลา ดังกล่าว จนกว่าจะพ้นช่วงพรรษา เดือนแปด เรียกว่า เดือนดะส่องโมง (ต.ค.-พ.ย.) เป็นเดือนเปลี่ยนฤดูจากหน้าฝนย่างเข้า หน้าหนาว กล่าวคือครึ่งแรกของเดือนจะเป็นท้ายฤดูฝน และครึ่งหลังของเดือนจะเป็นช่วงต้นหนาว ชาวนาจะเริ่มเก็บเกี่ยวข้าวกันในเดือนนี้ ในทางพุทธศาสนานั้น เดือนดะส่องโมงถือเป็นเดือนสาหรับ งานทอดกฐิน ซึ่งที่จริงพม่ากาหนดช่วงเวลาจัดงานทอดกฐินเริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ากลางเดือนดะดีงจุ๊ต จนถึงวันเพ็ญกลางเดือนดะส่องโมง รวมเวลาหนึ่งเดือนเต็ม ในงานกฐินนี้จะมีการแห่ครัวทานที่พม่า
  • 17. 14 เรียกว่า ปเดต่าบี่งหรือ ต้นกัลปพฤกษ์ และในวันสุดท้ายของฤดูกฐิน ซึ่งตรงกับวันเพ็ญของเดือนดะ ส่องโมงนั้น ชาวพุทธพม่าจะมีการจัดงานจุลกฐิน พม่าเรียกจุลกฐินนี้ว่า มโตตี่งกาง แปลตามศัพท์ว่า "จีวรไม่บูด" เทียบได้กับอาหารที่ไม่ทิ้งให้ค้างคืนจนเสีย มโตตี่งกางเป็นกฐินที่ต้องทาให้แล้วเสร็จ ภายในวันเดียว เริ่มแต่ปั่นฝ้ายให้เป็นด้าย จากด้ายทอให้เป็นผืนผ้า แล้วย้อมตัดเย็บเป็นจีวร ในเดือนนี้ ยังมีพิธีตามประทีป และทอดผ้าบังสุกุล หรือปั้งดะกู่ อีกด้วย เดือนเก้า เรียกว่า เดือนนะด่อ (พ.ย.-ธ.ค.) เป็นเดือนที่เก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว ชาวนา จะ นวดข้าวและสงฟางสุมเป็นกอง เดิมเคยเป็นเพียงเดือนสาหรับบูชานัตหลวงหรือผีหลวงที่ เขาโปปา แห่งเมืองพุกาม แต่ปัจจุบันพม่ากาหนดให้มีงานเทิดเกียรติกวีและนักปราชญ์ของพม่าแทน โดยจัดใน วันขึ้น 1 ค่า งานนี้เริ่มจัดเป็นครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1944 ทุกๆปีจะจัดให้มีการอ่านบท ประพันธ์และการเสวนาเกี่ยวกับวรรณกรรมกันตามสถาน ศึกษา และตามย่านชุมชนต่างๆ สาหรับใน ยุคราชวงศ์เคยถือเอาเดือนนี้จัดพระราชพิธีเพื่อมอบบรรดาศักดิ์ให้ กับนักรบนักปกครอง ตลอดจนกวี ที่มีผลงานดีเด่น ตัวอย่างบรรดาศักดิ์สาหรับนักรบมีเช่น เนมะโยเชยยะสูระ และมหาสีริเชยยะสูระ เป็นต้น ส่วนบรรดาศักดิ์สาหรับกวี อาทิ นัตฉิ่งหน่อง ปเทสะราชา ชเวต่องนันทะสู และเส่งตะจ่อตู่ เป็นต้น แต่เดิมนั้นเดือนนี้ยังเป็นเดือนสาหรับการคล้องช้างอีกด้วย เดือนสิบ เรียกว่า เดือนปยาโต่ (ธ.ค.-ม.ค.) เดือนนี้เป็นเดือนที่หนาวจัด กวีหญิงของพม่า สมัยคองบอง ชื่อแหม่เควฺ เคยบันทึกไว้ว่า "เดือนปยาโต่ หนาวเหน็บจนกายสั่น ผิงไฟยังมิอุ่น ห่มผ้า หลายผืนยังมิคลาย" ในเดือนนี้ชาวไร่ที่กาลังเก็บเกี่ยวงาจะต้องคอยเฝ้าระวังฝนหลงฤดู หากฝนตกลง มาในเวลาที่เก็บงา งาก็จะเสียหาย ชาวนาพม่าจะเรียกฝนที่ตกยามนี้ว่า ฝนพังกองงา ความหนาวเย็น จะล่วงมาจนถึงเดือนดะโบ๊ะดแวซึ่งเป็นเดือนถัดมา ในอดีตเคยจัดงานอัศวยุทธโดยมีการประลองยุทธ ด้วยช้างศึก ม้าศึก และการใช้อาวุธต่างๆ อาทิ ดาบ หอก เป็นต้น รัฐบาลพม่าเคยรื้อฟื้นจัดงานนี้ในปี ท่องเที่ยวพม่า แต่ก็จัดได้เพียงปีเดียวเท่านั้น เดือนสิบเอ็ด เรียกว่า เดือนดะโบ๊ะดแว (ม.ค.-ก.พ.) ในเดือนนี้ชาวพม่าราลึกถึง พระพุทธเจ้าที่ย่อมต้องทรงผจญต่อภัยหนาวเช่นกัน และเชื่อว่าการผิงไฟจะช่วยให้ธาตุ 4 คืนสู่สมดุลย์ ชาวพม่าจึงจัดงานบุญบูชาไฟแด่พระพุทธและพระเจดีย์ซึ่งเป็นองค์แทนพระ พุทธเจ้า เรียกว่างานหลัว ไฟพระเจ้า หรือ งานบุญไฟ) ปัจจุบันยังคงมีงานบุญเช่นนี้เฉพาะในบางท้องที่ของพม่าตอนบน ใน เดือนนี้ยังมีงานกวนข้าวทิพย์ ซึ่งจัดในช่วงข้างขึ้นของเดือน กล่าวว่าพม่าจัดงานนี้มาแต่สมัยญองยาง และในเดือนนี้อีกเช่นกันที่ชาวบ้านจะเริ่มเกี่ยวข้าวและปีนเก็บน้าตาลสดจาก ยอดตาล ซึ่งพบเห็น ทั่วไปในเขตพม่าตอนกลางและตอนบน เดือนสิบสอง เรียกว่า เดือนดะบอง (ก.พ.-มี.ค.) ในเดือนนี้อากาศจะเริ่มคลายหนาว และ เริ่มเปลี่ยนไปสู่ฤดูร้อนในช่วงหลังของเดือน ประเพณีสาคัญคืองานก่อเจดีย์ทราย โดยจะก่อทรายเป็น รูปจาลองเขาพระสุเมรุ ทายอดซ้อนเป็น 5 ชั้น พม่าเคยจัดประเพณีนี้ในยุคราชวงศ์ ปัจจุบันไม่นิยมจัด
  • 18. 15 แล้ว ตามตานานกล่าวว่าเดือนนี้เป็นเดือนที่เริ่มมีการสร้างเจดีย์พระเกศธาตุหรือ พระเจดีย์ชเวดากอง ซึ่งตกในปีมหาศักราช 103 (พม่าถือว่าปีนี้เป็นปีที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้)ชาวพม่าจึงกาหนดเดือนดะ บอง เป็นเดือนสาหรับงานบูชาเจดีย์ชเวดากองด้วยเช่นกัน เดือนดะบองนี้ถือเป็นเดือนสุดท้ายของปี ตามศักราชพม่า ในการกาหนดวันประเพณีเป็นวันหยุดราชการนั้น ทางรัฐบาลกาหนดไว้เพียงบางวัน ได้แก่ วันสงกรานต์ ในเดือนดะกู จัดราววันที่ 13 - 17 เมษายนของทุกปี, วันรดน้าต้นโพธิ์ หรือ วันพุทธะ ในวันเพ็ญของเดือนกะโส่ง ตรงกับวันวิสาขบูชาของไทย, วันธรรมจักร ในวันเพ็ญของเดือนหว่าโส่ ตรง กับวันอาสาฬหบูชาของไทย, วันอภิธรรม ในวันเพ็ญของเดือนดะดีงจุ๊ต ตรงกับวันออกพรรษาของไทย และวันตามประทีป ในวันเพ็ญของเดือนดะส่องโมง ตรงกับวันลอยกระทงของไทย สิ่งที่น่าสังเกตอย่างหนึ่งคือ ในอดีตนั้นงานประเพณีสิบสองเดือนของพม่าจะรวมเอาการ บูชานัตหรือผีหลวงไว้ ด้วย โดยจัดกันในเดือนเก้า(เดือนนะด่อ) ในระยะหลังได้เปลี่ยนเป็นงานเทิด เกียรติกวี อย่างไรก็ตามชาวบ้านก็ยังคงรักษาพิธีบูชาผีนัตไว้ และยังจัดงานใหญ่กันในเดือนหว่าข่อง (เดือนห้า)
  • 19. 16 ประเพณี ปอยส่างลอง ประเพณี ปอยส่างลอง หรือที่เรียกว่า“งานบวชลูกแก้ว”เป็นงานประเพณีประจาของชาว ไต หรือไทยใหญ่ ซึ่งได้มีการจัดสืบทอดกันมายาวนาน คาว่า ปอย แปลว่า งาน ซึ่งหมายถึง งาน เทศกาล งานรื่นเริง งานมงคลต่าง ๆ ส่าง แปลว่า พระ-เณร และ ลอง มาจาก คาว่า อะลอง แปลว่า กษัตริย์ ราชา เกี่ยวกับเจ้าแผ่นดิน เมื่อรวมกันก็หมายถึง งานเตรียมบวชเป็นพระเณรของเด็กที่แต่งดา เป็นกษัตริย์หรือราชานั่นเอง โดย งาน “ปอยส่างลอง” นี้ จะนิยมจัดในช่วงระหว่างเดือนมีนาคม ถึง เดือนพฤษภาคม ของทุกปี เนื่องจากเป็นช่วงที่ชาวบ้านมีเวลาว่างเว้น หลังจากเก็บเกี่ยวผืชผลเกษตรในไร่นาแล้วเสร็จ ประกอบกับเป็นช่วงปิดเทอมปิดภาคเรียนของเด็กๆ สาเหตุที่ชาวไทยใหญ่ได้จัดงานนี้ก็เพราะต้องการ ให้บุตรหลานได้มีโอกาสบรรพชา เป็นพระภิกษุสามเณรเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนา ดังจะเห็นได้ว่า ชายชาวไทยใหญ่ที่นับถือพระพุทธศาสนา ล้วนจะได้ผ่านการบวชเป็นพระหรือสามเณรจากงาน ประเพณีปอยส่างลองนี้กันมาแทบ ทั้งสิ้น ตานานปอยส่างลอง ตานานปอยส่างลองนี้ ถือตามความเชื่อ 2 ประการ คือ ว่ากันว่าเป็นการเลียนแบบตาม ประวัติขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่เป็นเจ้าชายสิทธัตถะแห่งกรุงกบิลพัสดุ์เมื่อครั้งก่อนจะ ออกผนวช เนื่องจากเป็นเจ้าชายจึงมีการแต่งกายในรูปกษัตริย์ และเมื่อครั้งเตรียมออกผนวช ได้มีนาย ฉันนะ เป็นผู้ติดตามอารักขา ฉะนั้น การจัดงานปอยส่างลอง ของชาวไทยใหญ่จึงมีการแต่งองค์ ทรงเครื่องให้กับเด็กคล้ายดังเจ้าชาย และมีลูกน้อง หรือที่เรียกว่า ตะแป หรือ พ่อส้าน แม่ส้าน คอย ให้การปรนนิบัตรตลอดงาน ซึ่งหน้าที่ของ ตะแป (พ่อส้าน แม่ส้าน) คือ คอยแต่งหน้า แต่งตัว และ ยอมให้ขี่คอ เมื่อมีการนาส่างไปแห่ หรือ เวลาที่ส่างลองต้องการไปไหนมาไหน ส่วนอีกตานานหนึ่งที่ถูกบันทึกไว้ ในหนังสือไทยใหญ่ที่เขียนโดยเจ้าหน่อคา นักอักษร ศาสตร์ชื่อดังของชาวไทยใหญ่ ได้กล่าวไว้ว่า เมื่อครั้งสมัยพุทธกาล ในกรุงราชคฤห์ มีกษัตริย์องค์หนึ่ง พระนามว่า พระเจ้าพิมพิศาล ซึ่งเป็นสร้างพระวิหารถวายพระพุทธเจ้าและปาวารณาตนเป็นทายก
  • 20. 17 ของพระพุทธเจ้าตลอดชีวิต พระเจ้าพิมพิศาล มีโอรสพระองค์หนึ่ง นามว่า อาชาตศัตรู วันหนึ่ง เจ้าชายอาชาตศัตรูได้เสด็จไปยังลานพระวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ และบังเอิญได้พบกับพระ เทวทัต เมื่อนั้นพระเทวทัตได้อัญเชิญอาชาตศัตรูเสด็จขึ้นไปบนกุฏิและได้กล่าวยกย่องว่าเป็นผู้มีบุคลิก ดี เฉลียวฉลาดปราดเปรื่อง สมควรเป็นกษัตริย์ปกครองบ้านเมือง พร้อมกับยุแหย่ว่าพระเจ้าพิมพิศาล นั้นทรงชราภาพมากแล้ว ไม่เหมาะสมที่จะเป็นกษัตริย์อีกต่อไป เพราะจะไม่สามารถนาทัพไปสู้รบกับ ใครได้ อาจสูญเสียแผ่นดินให้กับเมืองอื่น จึงแนะนาให้พระเจ้าอาชาตศัตรูปลงพระชนม์ เจ้าชายอาชาตศัตรูเมื่อได้ฟังดังนั้นก็เกิดความขุ่นเคืองไม่พอพระทัยเป็นอย่างยิ่ง จึง กล่าวตาหนิว่าใครจะสังหารบิดาของตัวเองได้ลงคอ จากนั้นจึงรีบเสด็จกลับทันที ฝ่ายพระเจ้าเทวทัต ไม่ลดละความพยายาม โดยได้หาโอกาสพบกับเจ้าชายอาชาตศัตรูอีกครั้ง และได้ทูลกระซิบให้พระเจ้า อาชาตศัตรูจับพระบิดาขังไว้โดยเสนอไม่ให้เสวยอาหาร 7 วัน เพื่อจะได้สิ้นพระชนม์ฺอย่างสงบ พร้อม ทูลอีกว่าตัวเขาเองก็จะหาทางปลงพระชนม์พระพุทธเจ้า เพื่อที่จะได้เป็นพระพุทธเจ้า หลังจากนั้นท้อง สองพระองค์จะร่วมกันพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองแทน เจ้าชายอาชาตศัตรูเมื่อได้ฟังดังนั้นก็หลงเชื่อ หลังกลับถึงวังได้สั่งให้ทหารนาพระบิดาไป ขังไว้พร้อมสั่งไม่ให้ผู้ใดนาอาหารไปให้เสวย ฝ่ายพระมารดาเมื่อทราบข่าวก็เกิดความรู้สึกสงสารใน พระสวามี จึงได้ทาขนมใส่เกล้าผม บางครั้งใส่รองเท้า หรือทาตามตัวบ้าง แอบเข้าไปเยี่ยมและให้เสวย จนกระทั่งเวลาผ่านไปครบ 7 วันพระเจ้าพิมพิศาลก็ยังมีชีวิตอยู่ และยังสามารถนั่งนอน ลุกเดินไปมา ภายในห้องขังได้ เมื่อเจ้าชายอาชาตศัตรู ทราบเรื่องก็ได้สั่งให้ทหารเฉือนเนื้อฝ่าเท้าของพระบิดาออก แล้วให้เอาน้าเกลือทา เพื่อไม่ให้เดินไปมาได้ ระหว่างกาลังขังทรมานพระบิดาอยู่นั้น เจ้าชายอาชาตศัตรูได้นาพาพระโอรสไปเยี่ยม พระมารดา และระหว่างนั้นได้ทรงตรัสกับพระมารดาว่า เขามีความรักใคร่ในพระโอรสของเขามาก และได้ทรงตรัสถามพระมารดาว่า เมื่อครั้งยังทรงพระเยาว์พระบิดาจะทรงรักตนเหมือนที่ตนรัก พระโอรสหรือไม่ เมื่อพระมารดาได้ยินเช่นนั้น จึงตรัสว่า “เจ้ารักลูกเจ้ามากนั้นคงไม่จริงหลอก เพราะ ของเล่นต่างๆ ซึ่งล้วนมีค่าที่ลูกเจ้าเล่นอยูทุกวัน เป็นของเล่นที่พ่อเจ้าซื้อให้เจ้าทั้งสิ้น เจ้าไม่ได้ซื้อหา มาให้ลูกเจ้าแม้แต่ชิ้นเดียวเลย” เจ้าชายอาชาตศัตรู เมื่อได้ฟังดังนั้นจึงแน่นิ่ง และทรงสานึกผิดที่ได้กระทาต่อพระบิดา จากนั้นจึงรีบเสด็จไปยังที่คุมขังพระบิดา เพื่อนาตัวออกมารักษา ทว่า พระบิดาได้สิ้นพระชนม์เสียแล้ว เมื่อเป็นเช่นนั้น เจ้าชายอาชาตศัตรู เกิดความรู้สึกเสียใจเป็นอย่างยิ่ง จากนั้นจึงรีบเสด็จไปเข้าเฝ้า พระพุทธเจ้า พร้อมกับทูลเล่าเรื่องทังหมด เมื่อพระพุทธเจ้า ได้ฟังดังนั้นจึงตรัสว่า “เพราะคบคนพาล จึงได้ทาบาปมหันต์เช่นนี้ เพื่อผ่อนบาปที่หนักให้เป็นเบา ให้นาพระโอรสมาถวายเป็นทานใน พระพุทธศาสนา โดยที่ให้เขาสมัครใจ”
  • 21. 18 เมื่อทราบดังนั้น เจ้าชายอาชาตศัตรู ได้ชักชวนพระสหายพร้อมด้วยอามาตย์ให้นาบุตร หลานเข้าร่วมรับการบวช ซึ่งมีจานวนกว่า 500 คน ก่อนบวชได้มีการจัดงานใหญ่ 7 วัน 7 คืน พร้อม กับมีการแต่งองค์ทรงเครื่องบุตรหลานด้วยเครื่องประดับสวยงาม พร้อมกับมีการนาบุตรหลานอาบน้า ขมิ้นส้มป่อย ซึ่งถูกแช่ด้วยเพชร พลอย ทองคา เงิน เพื่อเป็นสิริมงคล จากนั้นได้แห่ไปตามถนนรอบ กรุงราชคฤห์ด้วยการขี่ช้าง ขี่ม้า หลังครบ 7 วัน จึงนาไปเฺข้ารับการบรรพชาเป็นสามเณรต่อหน้า พระพุทธเจ้าและเหล่าพระสงฆ์สาวกทั้งหลาย จากเหตุนี้ ชาวไทใหญ่จึงได้ยึดถือนามาปฏิบัติจัดเป็น งานประเพณีปอยส่อง จนถึงปัจจุบัน ขั้นตอนการจัดงานปอยส่างลอง ปอยส่างลองหรืองานบวชลูกแก้วนั้นเป็นพิธีการเฉลิมฉลองของการบรรพชาสามเณรใน ศาสนาพุทธซึ่งปกติจะมีการจัดงานตั้งแต่ 3 – 5 - 7 วัน ซึ่งงานดังกล่าวนี้จะนิยมจัดขึ้นในช่วงปลาย เดือนมีนาคม ถึงต้นเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงหน้าแล้งที่ชาวบ้านส่วนใหญ่ว่างเว้นจากการทานาทา ไร่ และเป็นช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อนของเด็กๆด้วย ก่อนถึงวันประเพณีปอยส่างลอง อย่างน้อย 10 วัน พ่อแม่จะนาเด็กที่จะเข้ารับการบวช ไป ฝากไว้กับหลวงพ่อ หรือพระอาจารย์ที่วัด เพื่อรับการฝึกสอนคารับศีล คาให้พร คาขอบวช รวมถึงการ กราบไว้ และก่อนจะเป็นส่างลอง เด็กซึ่งเป็นผู้ชายจะต้องโกนผม และอาบน้าสะอาด หรือ น้าเงิน น้า ทอง น้าเพชร น้าพลอย เพื่อเป็นสิริมงคล จากนั้นจะแต่งกายด้วยชุดเสื้อผ้าเครื่องประดับต่างๆ อย่าง อลังการ มีการแต่งหน้าแต่งตาด้วยสีสันที่จัดจ้านให้ส่างลอง ดูสวยงามเสมือนเจ้าชายซึ่งมีสง่าราศี เหนือคนทั่วไป วันแรกของปอยส่างลอง หรือ ที่เรียกกันว่า วันเอาส่างลอง หลังจากส่างลองได้ทาพิธีรับ ศีลแล้ว ผู้เป็นพ่อแม่รวมถึงเจ้าภาพจะจัดเลี้ยงอาหาร 12 อย่าง เป็นมื้อแรกแก่ส่างลอง จากนั้นจะนา ส่างลองแห่รอบวิหาร 3 รอบ และแห่ไปกราบคารวะศาลหลักเมือง จากนั้น ในช่วงบ่ายก็จะนาส่างลอง ไปคารวะตามวัดต่างๆ วันที่สอง หรือ "วันรับแขก" ทั้งส่างลอง และเจ้าภาพ จะคอยให้การต้อนรับแขกจากที่ ต่างๆ ที่ได้มีการเชิญไว้ก่อนล่วงหน้า ซึ่งจะมาร่วมทาบุญด้วย ซึ่งวันนี้จะเป็นวันที่มีการเลี้ยงฉลองแขก และญาติๆ ที่มาร่วมงานอย่างสนุกสนาน วันสุดท้าย คือ "วันบวช" พิธีของวันนี้จะเริ่มด้วยการนาส่างลองไปแห่รอบวิหาร 3 – 7 รอบ จากนั้นจะ นาส่างลองขึ้นวัดเพื่อขออนุญาตทาการบรรพชาจากพระผู้ใหญ่ เมื่อท่านเจ้าอาวาส หรือพระผู้ใหญ่ได้ อนุญาตแล้ว ส่างลองก็จะพร้อมกันกล่าวคาบรรพชาและอาราธนาศีล แล้วจึงเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย จากชุดเสื้อผ้าส่างลองที่สวยงามมาเป็นผ้ากาสาวพัตร์สีเหลือง และเป็นพระภิกษุ - สามเณรอย่าง สมบูรณ์
  • 22. 19 ก่อนเข้าพิธีบวชหนึ่งวัน ส่างลองจะได้เข้าพิธีเรียกขวัญและการสวดคาขวัญ เพื่อให้เป็นสิริ มงคลด้วย ซึ่งงานประเพณีปอย ส่างลองนี้ แต่ละแห่งจะมีการจัดแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับความสะดวกและลาดับขั้นตอน ของที่นั้นๆ โดยเฉพาะกาหนดวัน ซึ่งที่ที่มีการจัดงานมากกว่า 3 วัน จะเลื่อนวันรับแขกออกไปวันอื่น และในช่วงการจัดงานจะมีการนาส่างลองไปเยี่ยมบ้าน หรือ ไปคารวะวัดและเยี่ยมเยือนหมู่บ้าน ต่างๆ ที่ขาดไม่ได้คือ ตลอดงานจะต้องมีการแห่ส่างลอง รอบวิหารของวัดพร้อมมีการรับศีลทุกเช้า เย็น ที่สาคัญตลอดงานส่างลองจะต้องไม่แตะพื้นที่ดิน ซึ่งหากจาเป็นจะไปไหนมาไหน ผู้เป็น ตะแป หรือ พ่อส้าน จะคอยดูแลโดยให้ขี่คอ และจะมี ตะแป อีกคนคอยกางร่มให้ตลอดเวลา
  • 23. 20 อ้างอิง ชุดประจาชาติพม่า - อาเซียน[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558. จาก https://sites.google.com/site/mnmasean/chud-praca-chati-phma. ดอกไม้ประเทศพม่า - อาเซียน[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558. จาก https://sites.google.com/site/mnmasean/dxkmi-prathes-phma. ประเพณีปอยส่างลอง และ ตานาน[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558. จาก http://www.khonkhurtai.org/index.php?option=com_content&view=article&i d=65:2009-11-24-06-33-49&catid=31:general&Itemid=46. ภาษาพม่า เรียนรู้เพื่อเตรียมรับมือประชาคมอาเซียน[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558. จากhttp://aec.kapook.com/view52075.html. วาสนา รังสร้อย. (2556). ประชาคมอาเซียน: ข้อมูลและประวัติของประเทศเมียนมาร์ (พม่า) [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558. จากhttp://asean2556. blogspot.com/2013/02/republic-of-union-of-myanmar-nay-pyi.html. อรนุช นิยมธรรม. ประเพณีสิบสองเดือนของพม่า[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558. จาก http://www.human.nu.ac.th/myanmar/cult/index4_2.htm. อาหารประเทศพม่า - อาเซียน[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2558. จาก https://sites.google.com/site/mnmasean/xahar-prathes-phma.
  • 24. 1