SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
สุขภาพอนามัยของผู้ทางานกับคอมพิวเตอร์

                                       ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ VDTs




ความหมายของ VDTs
                  คาว่า Visual [Video] Display Terminals [VDTs] หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับหารจัดการ
ประมวลผล และแสดงข้อมูลต่างๆ อันประกอบไปด้วยจอคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ แผงวงจรไฟฟ้า และตัวป้อน
กระแสไฟฟ้า นอกจากนี้อาจรวมอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลอื่นๆ เช่น เม้าส์ หรือตัวชี้ และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล เช่น
เครื่องพิมพ์ หรือเสียงต่างๆ ที่ดังออกมาอีกด้วย ทั้งนี้ VDTs อาจเป็นคอมพิวเตอร์ระบบใหญ่ หรือคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคลก็ได้
                  ตัวอย่างกลุ่มอาชีพที่ทางานเกี่ยวกับ VDTs ได้แก่ งานป้อนข้อมูล งานต่อโทรศัพท์ งานใน
ห้องควบคุม งานหนังสือพิมพ์ งานเขียนโปรแกรม และงานออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์ ฯลฯ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์
ส่วนบุคคล จัดเป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญในการทางานของบุคคลส่วนใหญ่อีกด้วย


                                       ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ VDTs




ลักษณะเฉพาะของงาน VDTs
                งาน VDTs เป็นงานที่ต้องใช้สายตามาก ในการเพ่งมองส่วนต่างๆ ที่สาคัญ มี 3 ส่วนคือ
จอคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และเอกสาร จอคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ จอที่มีลักษณะเหมือนจอทีวี และจอ
แบบแบน
                การกดแป้นพิมพ์หรือการนั่งทางานกับคอมพิวเตอร์ เป็นระยะเวลานานๆ โดยไม่ได้มีการเคลื่อนไหว
ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ย่อมส่งผลต่อปัญหาความปวดเมื่อยกล้ามเนื้อตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ข้อมือ หัวไหล่
หลัง หรือเอว นอกจากนี้ก็ยังพบปัญหาความเครียดอีกด้วย
ดังนั้นการแนะนา หรือให้สุขศึกษาแก่ผู้ทางานด้านนี้ เพื่อให้เข้าใจถึงปัญหาต่อสุขภาพอนามัย และ
วิธีการป้องกันอันตราย จึงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง


                            ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน

ความปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ลักษณะอาการ ปวดไหล่ ปวดหลัง ปวดเอว
                     งานกดแป้นพิมพ์ไม่จัดเป็นงานหนัก แต่ถ้าทางานติดต่อกันเป็นเวลานานๆ ก็ย่อมทาให้เกิดปัญหา
เมื่อยล้าที่นิ้วมือ ข้อมือ แขน หรือไหล่ได้ เช่นงานป้อนข้อมูล และจะเป็นปัญหามากถ้าการจัดสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน เช่นความสูงของโต๊ะ เก้าอี้ และแป้นพิมพ์ ไม่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้
การนั่งในท่าทางที่ไม่ถูกต้องเป็นเวลานานๆ ก็ยังเป็นสาเหตุของอาการปวดหลังอีกด้วย เนื่องจากการหมุนเวียนของ
โลหิตในร่างกายเป็นไปได้ไม่สะดวก ผลก็คือ กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายได้รับเลือดและออกซิเจนไปหล่อ
เลี้ยงไม่เพียงพอ เกิดเป็นปัญหาความเมื่อยล้า และปวดเมื่อยตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย




                            ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน

สาเหตุที่ 1 ท่าทางการนั่ง
มาตรการที่ 1 ท่าทางการทางานที่ถูกต้อง




                งานคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เป็นงานที่ต้องนั่งทางานด้วยท่าทางเดิมเป็นระยะเวลานานๆ ท่าทางการ
นั่งที่ไม่เหมาะสม เป็นสาเหตุให้ร่างกายต้องรับน้าหนักเกินความจาเป็น ทาให้เกิดความเมื่อยล้าได้ง่าย
                  ท่าทางการนั่งที่ถูกต้องคือ การนั่งลึกให้เต็มเก้าอี้และหลังพิงพนักเก้าอี้ ช่วงขาอ่อนด้านล่างที่ติด
เก้าอี้ควรเหลือช่องขนาดให้นิ้วมือสอดเข้าไปได้ เพื่อลดแรงกด และเพื่อให้โลหิตไหลเวียนได้สะดวก
                  นอกจากนี้การได้ยืดแขนขา หรือการได้เปลี่ยนท่าทางขณะทางานบ้าง จะช่วยลดความเครียดของ
กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายได้

มาตรการที่ 2 การจัดระดับความสูงของอุปกรณ์ต่างๆ




               เราจะสามารถจัดท่าทางการทางานที่ถูกต้องได้ก็ต่อเมื่อ การจัดสภาพแวดล้อม และอุปกรณ์ในการ
ทางานเป็นไปอย่างเหมาะสม ซึ่งขึ้นอยู่กับขนาดร่างกายของแต่ละบุคคล สิ่งที่ดีที่สุดก็คือ ควรจัดให้ความสูงของ
อุปกรณ์ต่างๆ สามารถปรับระดับได้ โดยให้ผู้ใช้เป็นผู้ปรับด้วยตนเอง ถ้าไม่สามารถจัดระดับความสูงของอุปกรณ์
เหล่านี้ให้เหมาะสมได้แล้ว แม้ว่าเราจะนั่งทางานด้วยท่าทางที่ถูกต้องก็ตาม ความเมื่อยล้าก็ย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ




                             ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน

สาเหตุที่ 2 ระยะเวลาในการทางาน
มาตรการ การหยุดพัก
ระยะเวลาในการทางาน ก็
เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เกิดความเมื่อยล้าได้ ไม่เฉพาะที่กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายเท่านั้น แต่รวมไปถึงสายตา
และระบบประสาทด้วย ผลก็คือ ประสิทธิภาพในการทางานลดต่าลง การทางานด้วยระยะเวลานานๆ ไม่ได้
หมายความว่าจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการหยุดพักบ้าง ตามความ
เหมาะสม

ข้อแนะนา
               1 ควรทางานอย่างอื่นร่วมไปด้วย เพื่อลดระยะเวลาในการทางานกับคอมพิวเตอร์ให้น้อยลง
               2 งานที่ต้องอ่านข้อมูลจากจอคอมพิวเตอร์ หรือใช้แป้นพิมพ์ตลอดเวลา ควรทาติดต่อกันเพียง 50
นาที และพัก 10 นาที




                             ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน

สาเหตุที่ 3 การออกกาลังกายไม่เพียงพอ
               ความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อ เกิดจากการขาดออกซิเจน ซึ่งนาโดยเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อส่วนนั้นๆ
การบริหารร่างกายเพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด และความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อ จึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และ
ควรกระทาในช่วงเวลาพักที่กาหนดไว้ การได้ยืดเส้นยืดสายบ้าง จะช่วยให้เลือดหมุนเวียนได้สะดวก
ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน

ความล้าของสายตา
ลักษณะอาการ ปวดตา ระคายเคืองตา ตาล้า
                 ปัญหาที่พบบ่อยที่สุดจากการทางานกับคอมพิวเตอร์คือ ปัญหาความล้าของสายตา สาเหตุ
เนื่องจากตาจะต้องถูกใช้งานหนัก ในการมองทั้งจอคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และเอกสาร สลับกันไปตลอดเวลา ทั้งนี้
ระดับความสว่าง และระยะความห่างในการมองวัตถุทั้ง 3 ก็แตกต่างกันไป ทาให้สายตาต้องปรับตัวตลอดเวลา
นอกจากนี้ก็ยังมีปัญหาเรื่องแสงจ้า และแสงกระพริบของจอคอมพิวเตอร์อีกด้วย
                 ตามหลักสรีรวิทยาของตานั้น เพื่อการมองเห็นที่ชัดเจน เลนส์ตาหรือแก้วตาจะต้องปรับตัวเพื่อให้
ภาพที่มองไปตกที่จอภาพพอดี และขนาดรูม่านตาก็จะต้องปรับเปลี่ยนไปตามความเข้มของการส่องสว่างจากวัตถุที่
เรามอง ซึ่งเป็นสาเหตุหลักเรื่องความล้าของสายตา และการใช้สายตาเพ่งนานๆ อาจทาให้ตาแห้ง เกิดอาการระคาย
เคืองตา จึงควรพักสายตาประมาณ 10 นาที ต่อ 1 ชั่วโมงการทางาน หรือพักทุก 15 นาที ต่อ 2 ชั่วโมงการทางาน




                            ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน

สาเหตุที่ 1 ความส่องสว่าง
มาตรการที่ 1 ความสว่างภายในห้อง




                                                                                     การจัดแสงสว่างให้
พอเหมาะทั้งที่จอคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และเอกสาร เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง แสงสว่างภายในห้องโดยทั่วไปควรอยู่
ระหว่าง 300 - 700 ลักซ์
                 หลักการจัดแสงสว่างภายในห้องทางานกับคอมพิวเตอร์อย่างง่ายๆ คือ ให้ความส่องสว่างของวัตถุ
ที่เราต้องมองมีระดับพอๆ กัน ถ้าภายในห้องมีทั้งบริเวณสว่างและบริเวณมืด จะทาให้เกิดความล้าของตาได้
ความคิดที่ว่าการจัดแสงสว่างให้ยิ่งสว่างมากก็ยิ่งดี เป็นความคิดที่ผิด ในบางกรณีอาจจะต้องใช้ผ้าม่านปิดกั้นแสง
สว่างที่เกินความจาเป็นอีกด้วย

มาตรการที่ 2 ความสว่างของจอคอมพิวเตอร์
ข้อแนะนา
                 1 สาหรับจอคอมพิวเตอร์แบบพื้นมืดตัวหนังสือสว่าง ระดับความสว่างบริเวณหน้าจอ ไม่ควรเกิน
500 ลักซ์ บริเวณแป้นพิมพ์และเอกสารควรอยู่ระหว่าง 300 - 1,000 ลักซ์
                 2 สาหรับจอคอมพิวเตอร์แบบพื้นสว่างตัวหนังสือมืด ระดับความสว่างบริเวณวัตถุที่มองทั้ง 3 ควร
อยู่ระหว่าง 500 - 1,000 ลักซ์
                 3 บริเวณหน้าต่างที่มีแสงแดดจ้าส่องเข้าถึง ควรติดผ้าม่าน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดแสงจ้าเกินไป




                            ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน

สาเหตุที่ 2 แสงจ้า
มาตรการที่ 1 การจัดสถานที่ติดตั้งคอมพิวเตอร์




              แสงสว่างที่มากเกินไปจะทาให้เกิดตาพร่ามัวได้ สาหรับงานที่ต้องใช้สายตาเพ่งมองอยู่ที่
จอคอมพิวเตอร์นานๆ และถ้ามีแสงสะท้อนที่จอคอมพิวเตอร์ร่วมอยู่ด้วย จะทาให้เกิดความล้าของสายตามากขึ้น
ตามมาด้วยอาการปวดตา
การจัดสถานที่ติดตั้งคอมพิวเตอร์ มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องป้องกันมิให้เกิดแสงจ้าเข้าตาได้
ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม
              โดยทางตรงคือ การที่มีแหล่งเสงสว่างอยู่ในสนามการมองเห็นโดยไม่มีการปิดกั้น
              โดยทางอ้อมคือ การที่แหล่งแสงสว่างต่างๆ สะท้อนที่จอคอมพิวเตอร์แล้วมาเข้าตาเรา

มาตรการที่ 2 การติดแผ่นกรองแสง และ hood
               ถ้าการเลือกจัดสถานที่ไม่สามารถป้องกันปัญหาแสงจ้าได้อย่างเหมาะสมแล้ว การติดที่ปิดกั้น
หลอดไฟ แผ่นกรองแสง หรือ hood ดังในภาพก็จะช่วยลดปัญหาแสงจ้าลงได้มาก
               อย่างไรก็ตามการติดแผ่นกรองแสงที่คุณภาพไม่ดี อาจทาให้ความคมชัดของภาพเสียไปได้ และ
การติด hood ก็ไม่สามารถป้องกันแสงจ้า จากด้านหลังได้

ข้อแนะนา
                1   ไม่ควรให้มีความเข้มในการส่องสว่างของวัตถุที่มองสูงเกินไป
                2   ควรให้มีการติดที่ปิดกั้นหลอดไฟเพื่อป้องกันแสงจ้าโดยตรง
                3   ควรปิดคลุมแหล่งแสงสว่างทั่วไปอย่างเหมาะสม รวมไปถึงการใช้ผ้าม่าน
                4   ควรติดแผ่นกรองแสง หรือ hood ที่จอคอมพิวเตอร์ตามความเหมาะสม




                             ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน

สาเหตุที่ 3 ลักษณะการมอง
มาตรการที่ 1 การมองไกล




                การทางานกับคอมพิวเตอร์นั้นต้องใช้สายตาเพ่งมองงานที่ระยะใกล้เป็นเวลานานๆ ทาให้เกิดความ
ล้าของตา ยิ่งมองใกล้มากก็ยิ่งล้ามาก การพักสายตาโดยการมองที่ไกลๆ ออกไปจะช่วยลดปัญหาตาล้าลงได้บ้าง
มาตรการที่ 2 ระยะห่างในการมอง
               ระยะห่างจากตาถึงจอภาพ แป้นพิมพ์และเอกสารควรจะเท่าๆ กัน เพื่อลดภาระในการปรับสายตาใน
การมองใกล้และไกลขณะทางาน

                             ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน

ความเครียด
ลักษณะอาการ หงุดหงิด ขาดสมาธิ ความล้า
                  การทางานกับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ มีผลทาให้เกิดความเครียดได้ เพราะการเพ่งมอง
จอคอมพิวเตอร์นานๆ เป็นสาเหตุให้สมองต้องทางานหนักในการแปลผลสิ่งที่กาลังมองอยู่
                  สาเหตุของความเครียดทั้งทางร่างกายและจิตใจนั้นมีหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งเกิดจากงานและ
สิ่งแวดล้อมในการทางานนั่นเอง การแก้ไขปัญหาต้องกระทาอย่างระมัดระวังทีละสาเหตุ จึงถือว่าปัญหานี้เป็นปัญหา
ที่แก้ไขได้ยากที่สุด

                             ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน

สาเหตุที่ 1 เสียงดังรบกวน อุณหภูมิ
มาตรการที่ 1 ปิดคลุมแหล่งเสียงดัง
                 เมื่อเทียบกับงานอื่นแล้ว งานคอมพิวเตอร์ถือว่าเป็นงานที่มี
เสียงดังรบกวนไม่มาก แต่สาหรับบางคนอาจรู้สึกราคาญได้ เช่น เสียงกด
แป้นพิมพ์ เสียงเครื่องพิมพ์ เป็นต้น
                 หลักการลดเสียงดังคือ ใช้วัสดุเก็บเสียง เช่น พรมบุผนัง หรือ
พื้นห้องในห้องทางาน เพื่อลดเสียงสะท้อน อาจใช้กล่อง หรือที่ปิดคลุมเสียง
กั้นแหล่งกาเนิดเสียงไว้ โดยปกติแล้ว ผู้ทาให้เกิดเสียงราคาญ มักจะไม่รู้สึก
ราคาญเท่าผู้อื่น ดังนั้น ควรป้องกันเสียงดังเสียตั้งแต่ตอนเริ่มติดตั้งอุปกรณ์

ข้อแนะนา
                ไม่ควรให้มีระดับเสียงดังเกินระดับ 65 เดซิเบล

มาตรการที่ 2 สิ่งแวดล้อมอื่นๆ
                 นอกจากเสียงดังที่เกิดจากงานคอมพิวเตอร์เองแล้ว ยังมี
เสียงดังรบกวนอื่น ที่อยู่ในบริเวณรอบๆ อีก เช่น เสียงโทรศัพท์ เสียงพูดคุย
เสียงเดิน ฯลฯ และเนื่องจากระดับความทนของแต่ละบุคคลนั้นแตกต่างกันจึง
ควรที่จะต้องระมัดระวังในการป้องกันเสียงรบกวนผู้อื่นด้วย
                 นอกจากเสียงดังที่เกิดจากงานคอมพิวเตอร์เองแล้ว ยังมีเสียงดังรบกวนอื่น ที่อยู่ในบริเวณรอบๆ
อีก เช่น เสียงโทรศัพท์ เสียงพูดคุย เสียงเดิน ฯลฯ และเนื่องจากระดับความทนของแต่ละบุคคลนั้นแตกต่างกันจึง
ควรที่จะต้องระมัดระวังในการป้องกันเสียงรบกวนผู้อื่นด้วย

ข้อแนะนา
                1 ควรจัดให้มีการระบายอากาศที่เหมาะสม
                2 ควรจัดให้มีห้องพักผ่อนในขณะเวลาพักด้วย
                3 อุณหภูมิห้องควรอยู่ระหว่าง 25 - 28 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ ระหว่าง 40 - 70%

                                              การบริหารจัดการ

การตรวจเช็คเป็นระยะ
                    ควรจัดสภาพแวดล้อมในการทางาน เช่น ความ
สูงของจอคอมพิวเตอร์ โต๊ะและเก้าอี้ อย่างเหมาะสมตั้งแต่ตอน
เริ่มติดตั้ง และเพื่อไม่ให้สภาพการทางานแย่ลงเรื่อยๆ ควรจะได้มี
การตรวจสอบสภาพแวดล้อมเหล่านี้เป็นประจาด้วย
                    นอกจากนี้ควรมีการตรวจเช็คสิ่งแวดล้อมอื่นๆ
ร่วมด้วย เช่น แสงสว่าง แสงจ้า และเสียงดัง โดยมีการนัดหมาย
กับผู้ร่วมงานอื่น เพื่อกาหนดตารางเวลาในการตรวจเช็คร่วมกัน
ข้อแนะนา
เพื่อการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทางานที่ดี ควรมีการตรวจเช็คทุกๆ 6 เดือน
การตรวจที่ 1 สิ่งแวดล้อมในการทางาน
                       1 แสงสว่าง         ---> มีแสงจ้าเกินไปหรือไม่
                       2 อุณหภูมิห้อง     ---> อุณหภูมิพอเหมาะและสม่าเสมอหรือไม่
                       3 ความชื้นในห้อง ---> อากาศแห้งเกินไปหรือไม่
                       4 การระบายอากาศ ---> มีฝุ่นหรือสิ่งสกปรกปะปนอยู่ในอากาศหรือไม่
การตรวจที่ 2 VDTs
            1 จอคอมพิวเตอร์           ---> มีแหล่งสร้างแสงจ้าสะท้อนอยู่ที่จอภาพหรือไม่
            2 ความสว่างของจอ          ---> ความสว่าง และ Contrast พอเหมาะหรือไม่
            3 ระยะห่าง                ---> จอภาพ แป้นพิมพ์ และเอกสาร อยู่ในระยะพอเหมาะหรือไม่
            4 ความสูงของแป้นพิมพ์ ---> ข้อมืออยู่ในท่าที่ไม่เหมาะสมหรือไม่
การตรวจที่ 3 อุปกรณ์อื่นๆ
                   1 เก้าอี้ ---> ความสูงพอเหมาะหรือไม่ ท่าทางการนั่งเป็นธรรมชาติหรือไม่
                   2 โต๊ะ ---> ความสูงพอเหมาะหรือไม่ มีที่วางเอกสารอย่างเหมาะสมหรือไม่




                                           การบริหารจัดการ

การทาความสะอาด
                   อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจอภาพ จะมีฝุ่นติดง่ายมาก การทาความสะอาดเป็นประจา
จึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ รวมไปถึงโต๊ะ และเก้าอี้ภายในห้องด้วย
1 ที่แหล่งแสงสว่าง
                   ฝุ่นที่เกาะตามหลอดไฟจะเป็นสาเหตุให้ประสิทธิภาพในการส่องสว่างลดน้อยลง
2 ที่จอภาพ
                   ฝุ่นที่เกาะตามจอภาพจะทาให้การมองเห็นเลวลง อาจใช้ผ้าสะอาดชุบน้าเช็ด เพื่อลดปัญหาไฟฟ้า
สถิตย์
3 ที่แป้นพิมพ์
                   บริเวณระหว่างแถวของตัวพิมพ์จะมีฝุ่นสะสมอยู่มาก อาจใช้เครื่องดูดฝุ่นช่วยก็ได้


                                             สุภาพอนามัย

การตรวจสุขภาพ
               เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า การทางานกับคอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลานานๆ มีผลให้เกิดความเมื่อยล้า
ในส่วนต่างๆ ของร่างกาย และเมื่อสะสมเป็นเวลานาน ย่อมมีผลเสียต่อสุขภาพมาก การตรวจสุขภาพเป็นประจาเพื่อ
ค้นหาความเจ็บป่วยเสียแต่เนิ่นๆ และเพื่อให้ทราบถึงสภาวะสุขภาพอนามัยของตนเองจึงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง
การตรวจสุขภาพสาหรับผู้ทางานกับคอมพิวเตอร์ที่ถูกต้องนั้น ควรเริ่มตั้งแต่ก่อนรับผิดชอบทางาน
ทางด้านนี้ และตรวจเป็นประจา




ข้อแนะนา
1 สาหรับผู้ที่เพิ่งรับงานด้านนี้
1.1 สอบถามประวัติการทางาน                                           1.2 สอบถามประวัติสุขภาพทั่วไป รวมไปถึง
ความผิดปกติของสายตาด้วย                                             1.3 ตรวจสายตา ได้แก่ ความคมชัดของตา
กล้ามเนื้อตา การปรับโฟกัสของตาและ                                   อื่นๆ ตามที่จักษุแพทย์จะเห็นสมควร
1.4 ตรวจหาความผิดปกติของกระดูกและ                                   กล้ามเนื้อ
1.5 อื่นๆ ตามที่แพทย์เห็นสมควร
                                                                    2 การตรวจสุขภาพเป็นประจา
2.1 สอบถามประวัติการทางาน รวมไปถึง                                  รายละเอียดการทางานคอมพิวเตอร์ด้วย
2.2 ตรวจเช่นเดียวกับข้อ 1.3 - 1.5                                   ข้างต้น
2.3 ควรตรวจเป็นประจาอย่างน้อยปีละ                                   ครั้ง
2.4 ผู้ที่มีปัญหาทางสุขภาพ เช่น                                     เบาหวาน สายตาผิดปกติ อาจพิจารณาตรวจ
ทุก 6 เดือน




            สุภาพอนามัย

หลังการตรวจสุขภาพ
                  การตรวจสุขภาพทุกๆ ปี
จะช่วยไม่ให้เกิดความเจ็บป่วยรุนแรงขึ้นได้ และการดูแลตนเอง เช่น
การทางานด้วยท่าทางที่เหมาะสมตลอดเวลา ก็เป็นสิ่งที่สาคัญยิ่ง
                  เมื่อแพทย์ตรวจพบความผิดปกติ หรืออาการเริ่ม
ผิดปกติแล้ว ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะต้องปฏิบัติตนตามข้อแนะนาอย่าง
เคร่งครัด เช่น ลดระยะเวลาทางานกับคอมพิวเตอร์ สับเปลี่ยน
หมุนเวียนงานอย่างเหมาะสม
                  นอกจากนี้ ผู้ที่มีสายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง
หรือสายตาผู้สูงอายุ ควรจะได้รับการตรวจเช็คสายตาเป็นระยะ และ
สวมแว่นสายตา ตามความเหมาะสมด้วย

การปรึกษาปัญหาสุขภาพ
                แม้ปัญหาเพียงเล็กน้อยที่อาจเป็นภัยต่อสุขภาพก็
ไม่ควรมองข้าม ผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละคนอาจมีปัญหาแตกต่างกันไป
จึงควรได้รับการปรึกษาและแนะนาจากผู้รู้เพื่อหาวิธีป้องกัน เพื่อ
สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดีในการทางาน
               สาหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ต้องทางานกับคอมพิวเตอร์นั้น มีข้อควรระวังต่อสุขภาพ และข้อจากัดในการ
ทางานมากขึ้น เช่น ไม่ควรนั่งทางานเป็นเวลานานเกินไป

กิจวัตรประจาวัน
                  เนื่องจากการทางานกับคอมพิวเตอร์เป็น
สาเหตุของความเครียด และความล้าทั้งทางร่างกายและ
จิตใจ การใช้ชีวิตประจาวันทั่วไปเพื่อลดความเครียด การ
รับประทานอาหารครบตามหลักโภชนาการ รวมไปถึงการทา
จิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ จึงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง
                  ความเครียดเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้
ประสิทธิภาพในการทางานลดต่าลงด้วย ดังนั้นควรได้มีการ
ออกกาลังกายเป็นประจา หรือหาวิธีผ่อนคลายความตึงเครียด
ตามความเหมาะสม




   เทคนิคการบริหารตาอย่างง่ายๆ ซึ่งใช้เวลาเพียง
                   เล็กน้อย

1 การกระพริบตา
                 กระพริบตาบ่อยๆ เพื่อให้น้าตาหล่อเลี้ยงได้ทั่วตา ช่วยลดการระคายเคืองตาได้
2 การใช้ฝ่ามือกดตาเบาๆ
                 เพื่อเป็นการพักสายตาจากแสงสว่างใดๆ ให้วางฝ่ามือบนเปลือกตาที่ปิดสนิท กดเบาๆ เป็นเวลา 1
นาที จะรู้สึกสบายขึ้น




3 การมองไกล
              เพื่อเป็นการบริหารกล้ามเนื้อตา ที่ใช้ในการปรับโฟกัสของเลนส์ตา ให้มองไกลไปจาก
จอคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 6 เมตร แล้วกลับมามองที่จอฯ ทาซ้า 3 ครั้ง
4 การกลอกตาเป็นวงกลม
                 เพื่อเป็นการบริหารกล้ามเนื้อตาที่ใช้ในการกรอกตาไปมา ให้มองไปรอบๆ กว้างๆ ตามเข็มนาฬิกา
    3 รอบ และทวนเข็มนาฬิกาอีก 3 รอบ




    นัยน์ตากับคอมพิวเตอร์
    http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/eye/


           จากที่เรา ๆ ท่าน ๆ ต้องทางานเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ แน่นอนย่อมมีผลกับนัยน์ตา ซึ่งมักจะมีอาการ
           ปวดตาสาหรับผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ซึ่งจักษุแพทย์ได้พบว่ามีหลาย ๆ สาเหตุที่ทาให้นัยน์ตาต้องเสี่ยงภัย
           จากเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นผลทาให้เกิดอาการปวดตา พอจะแจกแจงได้ดังนี้

                 ความเสี่ยงภัยจากการใช้เวลาทางานส่วนใหญ่กับคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นหนทางที่ก่อให้เกิดอันตราย
                  กับนัยน์ตา
                 ความไม่พอเพียงหรืออันตรายที่เกิดจากแสงและสภาพบนจอภาพ
                 สภาพของนัยน์ตาที่แย่อยู่ก่อนแล้วรวมทั้งสภาพการทางาน
                 การใช้นัยน์ตาเพ่งมองหรือจ้องมองเค้นของนัยน์ตา

           ลักษณะการทางานของนัยน์ตา

           สาเหตุที่พบบ่อยในการทาให้เกิดอาการเมื่อยตาหรือปวดตา นั่นก็คือการที่เราพยายามใช้นัยน์ตาในการมอง
           ภายใต้สภาวะที่เสี่ยงภัยหรือเป็นอันตรายกับนัยน์ตา การทางานของนัยน์ตาถูกควบคุมโดยกล้ามเนื้อตา ซึ่ง
           กล้ามเนื้อจะทางานอย่างเหน็ดเหนื่อยและรัดเกร็ง สาหรับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พยายามใช้นัยน์ตาใน
           การมองแต่ละวันนั้นคุณอาจจะต้องตกใจว่านัยน์ตานั้นมีการ 30,000 ครั้ง/วัน กล้ามเนื้อตาที่ถูกใช้ในการมอง
           ข้อความบนกระดาษหน้าหนึ่ง, การกระตุกของจอภาพ, การปรับสายตาในการมองสิ่งต่าง ๆ หรือเปลี่ยน
           โฟกัสในการมองและกลับมามองที่หน้าจออีกครั้ง ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นหน้าที่ของกล้ามเนื้อตาทั้งสิ้น
           การพิมพ์ตัวอักษรที่ปรากฎอยู่บนหน้าจอเครื่องคอมพิวเตอร์ในสภาพการทางานที่หลอดไฟในห้องมีความ
           สว่างมากเกินwb และทาให้จอภาพของคุณมองไม่ชัดเหมือนหมอกมาบดบังอยู่หน้าจอนั่น เกิดจากการ
           สะท้อนของแสงที่ตกกระทบกับจอคอมพิวเตอร์ของคุณ ทาให้ต้องมีการเพ่งไปที่จอภาพเป็นระยะเวลานาน
           ในการทางานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ จะมีการเลื่อนโฟกัสของสายตาที่จ้องมองบนจอภาพ เพื่อทาการอ่าน
           ข้อความบนจอภาพซึ่งได้จากการพิมพ์ลงไปบนคีย์บอร์ด จากสาเหตุต่าง ๆ ที่ทาให้เกิดอาการเมื่อยตาหรือ
           ปวดตานั้นยังไม่อาจบอกแน่นอนว่าเป็นสาเหตุใดที่แท้จริง บางอาการก็เกิดจากการเครียดกับการทางานหรือ
           การติดเชื้อ ฉะนั้นเราจึงไม่ควรรีรอในการปรึกษาหาคาแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญในการดูแลรักษานัยน์ตาหรือ
           จักษุแพทย์

           อาการที่นัยน์ตาถูกใช้อย่างหักโหม

                 การมองเห็นสี

           เมื่อมีการจ้องดูที่จอเป็นระยะเวลานาน ๆ ซึ่งตัวอักษรบนจอมีการแสดงสีเป็นสีเขียวบนพื้นจอดา คุณจะรู้สึก
           ว่าการมองเห็นสีนั้นยากขึ้นเมื่อคุณลองมองไปที่อื่นหลังจากที่มองจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ
           ปรากฏการณ์เช่นนี้ถูกเรียกว่า "The McCulloch afterimage" ที่เกิดจากปริมาณของสีเคมีพิเศษที่อยู่ในเรติ
           นาลดลง อย่างไรก็ตามนัยน์ตาก็จะสร้างสีให้เกิดใหม่ได้ในไม่ช้าหลังจากที่สีเคมีดังกล่าวขาดหายไปชั่วขณะ
           หนึ่ง

          การมองเห็นภาพซ้อน
การมองเห็นภาพซ้อนเกิดจากกกล้ามเนื้อตาที่ควบคุมการรวมกันของภาพที่จุด ๆ เดียว ที่ตาทั้งสองข้างจะ
         รวมภาพที่จุด ๆ หนึ่ง แต่เหมือนกับมีบางสิ่งมาอยู่ใกล้ ๆ กับจุดโฟกัสนั้น เมื่อเราพยายามมองก็จะทาให้เกิด
         เป็นภาพซ้อน ๆ กัน ซึ่งมักพบได้บ่อย ๆ ภาพที่เห็นซ้อน ๆ กันนี้บางครั้งก็ไม่รู้สึกหรือไม่เกิดขึ้นโดยตรง แต่
         จะรู้สึกปวดหัวหรือเกิดอาการล้านัยน์ตา ภาพซ้อนก็เป็นอาการหนึ่งของความเครียดทางสุขภาพนัยนต์ตา
         เช่นกัน ถ้าพบว่าเห็นภาพซ้อนปรากฎทันทีหรือเป็นอยู่เรื่อย ๆ คุณควรจะไปพบหรือปรึกษากับจักษุแพทย์
         ทันที

        ปัญหาจากโฟกัส

         เมื่อกล้ามเนื้อซิเลียรี (ciliary) เกิดอาการล้าหรือตึงเครียด ซึ่งกล้ามเนื้อ ciliary เป็นกล้ามเนื้อที่มี
         ความสัมพันธ์ระหว่าง ciliary body กับโครงสร้างของตาโดย ciliary body จะมีลักษระเหมือนกับเยื่อหุ้ม
         หลอดเลือดที่มีความหนาอยู่ระหว่างส่วนที่เรียกว่า คอรอยด์ (choriod) และม่านตา (iris) ซึ่งเมื่อกล้ามเนื้อซิ
         เลียรีเกิดอาการดังกล่าวก็จะทาให้ไม่สามารถมองเห็นจุดโฟกัสของภาพนั้นได้อย่างสมบูรณ์ อาการที่เกิด
         ขึ้นกับนัยน์ตาที่เมื่อยล้าหรือเกิดจากการเค้นจ้องจะทาให้ความสามารถในการกาหนดโฟกัสของสายตา
         wbr>w ในส่วนของกล้ามเนื้อซิเลียรี (ciliary) หากต้องถูกใช้งานอย่างหนักโดยการทางานอย่างซ้า ๆ เพื่อ
         เลื่อนโฟกัสมองตามตัวอักษรที่พิมพ์หรือกวาดสายตาตามตัวอักษรที่พิมพ์บนจอภาพ หรือการที่พยายามมอง
         อยู่ที่โฟกัสเดิมเป็นเวลานาน ๆ ก็เป็นสาเหตุทาให้เกิดอาการล้าและอาจทาให้สายตาหรือกล้ามเนื้อส่วนนี้
         เสื่อมไปด้วย

        อาการปวดหัว

         เมื่อคุณต้องใช้สายตาอย่างหนักโดยการเค้นหรือจ้องมองเขม็งเป็นเวลานาน ๆ บนจอคอมพิวเตอร์ คุณก็
         อาจจะเกิดอาการปวดหัว ซึ่งคอมพิวเตอร์กับอาการปวดหัวนั้นเกิดจากความเครียดที่มีสาเหตุจากกล้ามเนื้อ
         ในบริเวณคอและบริเวณศีรษะเกิดความตึงเครียด และที่พบได้ทั่ว ๆ ไปก็คือ ส่วนของขมับ อาการปวดหัวนี้
         อาจไม่ใช่สาเหตุโดยตรงที่เกิดจากความเมื่อยล้าของนัยน์ตา แต่เป็นผลข้างเคียงจากความพยายามในการ
         จ้องมองในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม หรือจากการพยายามที่จะมองตาแหน่งนั้น ๆ หรือเอียงศีรษะ
         เพื่อที่จะมองให้เห็นทั้งสองจุดโฟกัสที่อยู่ในตาแหน่งที่คงที่หรือกาลังเคลื่อนที่ ล้วนแล้วแต่ทาให้กล้ามเนื้อ
         สายตาเกิดอาการล้า กล้ามเนื้อที่ทาหน้าที่ควบคุมโดยตรง "กล้ามเนื้อควบคุมม่านตา (iris)" ซึ่งควบคุมการ
         ผ่านเข้าของแสง และ "กล้ามเนื้อซิเลียรี (ciliary)" ที่ควบคุมการทางานของเลนส์เพื่อที่จะทาให้การเปลี่ยน
         ระยะของโฟกัสหรือทาการปรับโฟกัสของเลนส์ หากสายตาของคุณมีโฟกัสที่สั้นหรือสายตาสั้น ก็จะทาให้
         คุณปวดหัว และมีอาการเมื่อยล้านัยน์ตาได้ง่าย

    ป้องกันและบรรเทาอาการปวดตา

         คุณสามารถที่จะป้องกันอาการปวดตาด้วยตัวคุณเองโดยการเปลี่ยนตารางเวลาการทางานด้วยคอมพิวเตอร์
                                                                                                ,
         สภาพแวดล้อมต่าง ๆ และบางครั้งอาจจะต้องทาตามตัวอย่างต่อไปนี้

                หยุดพักสายตา

         หยุดพักหรือเปลี่ยนตารางเวลาการทางานใหม่ เพื่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของประสาทตา The National
         Institute of Occupational Safety and Health (NIOSH) ได้แนะนาให้มีการหยุดพักสายตาโดยจะหยุด
         พักสายตาครั้งละ 15 นาที ทุก ๆ 2 ชั่วโมง ซึ่งจัดว่าเป็นระดับปานกลางสาหรับการทางานที่อยู่กับหน้าจอ
         คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า The Video Display Terminal (VDT) หรือหยุดพักทุก ๆ ชั่วโมงเพื่อลดการเสี่ยงภัย
         จากจอภาพ ผู้เชี่ยวชาญบางคนก็ได้แนะนาว่าควรจะมีการหยุดพักบ่อย ๆ โดยแต่ละครั้งใช้เวลาเพียงนิด
         หน่อย

        หลีกเลี่ยงจากต้นเหตุ

         เมื่อลุกไปจากตาแหน่งที่กาลังทางานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว ระหว่างนั้นก็เป็นการหยุดพัก โดยหลับตา
         หรือทาการบริหารตาเพื่อให้นัยน์ตาได้พักและช่วยลดอาการเมื่อยล้าได้

        หลีกเลี่ยงการทางานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
มีคนจานวนไม่น้อยเลยที่ไม่ต้องทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ และก็มีการหยุดพักสายตาบ่อย ๆ ตลอดทั้ง
           วัน จึงมักไม่ค่อยมีปัญหาเกิดกับดวงตามากนัก

          พักผ่อน

           นัยน์ตาที่ต้องจ้องเพ่งควรจะมีการฝึกการหยุดเพ่งสายตาหรือจ้องมองเป็นเวลานาน ๆ วิธีที่ดีที่สุดก็คงเป็น
           การล้มตัวลงนอนและหลับตาเพียง 2-3 เวลาและปิดไฟ วางผ้าชุบน้าหมาด ๆ ไว้บนเปลือกตา พักผ่อนและ
           ไม่ต้องกังวลกับสิ่งใด ๆ

          ควบคุมความสว่างและจอภาพ

           การควบคุมความสว่างภายในสภาพแวดล้อมการทางานก็นับว่าจาเป็น ซึ่งจะช่วยบรรเทาอาการปวดหรือ
           เมื่อยล้าตาได้, ลดการเพ่งมอง, การสะท้อนของแสงต่าง ๆ และความไม่เพียงพอของแสงในการอ่าน
           ตัวอักษร โดยคุณจะต้องปรับความสว่างที่จอคอมพิวเตอร์ให้มีความสว่างที่พอดี ซึ่งหากทางานกับ
           คอมพิวเตอร์ในสภาพแวดล้อมที่มีแสงจ้าและจอภาพก็มีความสว่างมากก็ยิ่งส่งผลเสียให้กับ คุณจะรู้สึกทันที
           ว่ามีอาการปวดร้าวดวงตาเร็วและแสบตาอย่างรุนแรง ดังนั้นควรควบคุมความสว่างจากสภาพแวดล้อมและที่
           จอคอมพิวเตอร์ด้วย เพื่อสุขภาพตาของคุณ

          ขยายพื้นที่ในการทางาน

           ในระหว่างที่มีการกวาดสายตาเพื่อทาการอ่านข้อความบนจอเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ก็เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิด
           อาการเมื่อยล้าตา และปวดตาได้ง่าย ถ้าหากว่าระยะห่างระหว่างตากับจอภาพไม่สัมพันธ์กัน เช่น ในขณะ
           พิมพ์ตัวอักษรให้ปรากฏบนจอภาพ ตาแหน่งของจอภาพควรห่างจากนัยน์ตาก็ควรจะห่างกันประมาณ 18-24
           นิ้ว และระดับของสายตาในการมองควรจะทามุม 15 องศากับแนวนอน

    นัยน์ตาแห้งไร้ความชุ่มชื้น

           นัยน์ตาที่แห้งพบบ่อยกับผู้ที่ทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นเหตุจากการขาดน้าหล่อเลี้ยงดวงตา
           ดังนั้นดวงตาก็อาจจะเสียและเกิดอาการเมื่อยล้าและปวดได้ง่าย ในภาวะที่นัยน์ตาแห้งและเมื่อยล้า
           กล้ามเนื้อตาจะเป็นภาระที่หนักมากสาหรับผู้ทีใส่คอนแทคเลนส์

                  การเพ่งมอง

           ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักจะมีการกะพริบตาน้อยครั้งในขณะใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ จึงเป็นเหตุ
           ให้น้าตาหรือน้าหล่อเลี้ยงดวงตาอยู่เสมอ

          ขาดความชุ่มชื้นในบรรยากาศ

           หลาย ๆ ออฟฟิศที่สร้างขึ้นนั้นมีบรรยากาศที่แห้งเนื่องจากการเปิดแอร์คอนดิชั่น และความร้อนจากเครื่อง
           คอมพิวเตอร์ที่ก่อให้เกิดความแห้งในบรรยากาศ ซึ่งทั้งสองสาเหตุนี้เป็นการทาให้น้าหล่อเลี้ยงดวงตาระเหย
           ไปอย่างง่ายดาย

          ยาชนิดต่าง ๆ

           มียาชนิดต่าง ๆ มากมาย เช่น ไดยูเร็ตทิค (diuretics) และแอนตี้ฮิสตามิน (antihistamines) ที่มีผลทาให้
           นัยน์ตาลดการผลิตน้าหล่อเลี้ยงดวงตา ซึ่งอาจจะต้องพบแพทย์หรือเภสัชกรเพื่อขอยารักษาอาการดวงตา
           แห้ง ขนาดน้าหล่อเลี้ยงดวงตา

          อายุที่มากขึ้น

           อายุมีความสัมพันธ์กับการผลิตของน้าตา ซึ่งหากอายุมากขึ้นการผลิตน้าตาก็ทาได้น้อยลง ปัญหาการผลิต
           น้าตาน้อยลงนี้พบได้บ่อยกับผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 40 ปี
          วิธีการแก้ปัญหาของดวงตาแห้ง วิธีการที่จะบาบัดได้ที่รวดเร็วสาหรับอาการตาแห้งก็คือการใช้ยาหยอด
    ตา โดยประกอบด้วยเมทธิลเซลลูโลส (Methyl cellulose) หรือโพลีไวนิลอัลกอฮอล์ (polyvinyl alcohol) ยาหยอด
    ตาจะช่วยยับยั้งการครั่งของเลือดบริเวณตา หรือการบีบรัดที่เป็นต้นเหตุในการเกิดอาการตาแห้งไร้ความชุ่มชื่น ไม่ว่า
    คุณจะใช้ยาหยอดตาหรือการกะพริบตาบ่อย ๆ ทุก 5 วินาที ก็สามารถช่วยให้ดวงตามีน้าหล่อเลี้ยงดวงตาอยู่เสมอ

    ตัวบ่งบอกเกี่ยวกับสายตา

           เกิดอะไรขึ้นเมื่อคุณมองดูหน้าจอคอมพิวเตอร์ของคุณเองไม่ชัด หรือบางครั้งอาจมองเห็นภาพซ้อน และ
           ในขณะที่ทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์มักจะเกิดอาการปวดคอ ซึ่งอาการเหล่านี้ไม่เป็นเพียงกับคุณคนเดียว
           เท่านั้น แต่ยังมีผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์อีกนับล้าน ๆ คนที่ต้องทนทรมานกับอาการเมื่อยล้ากล้ามเนื้อตา
           อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ดังเหตุทั้งสองที่จะกล่าว

                  การทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องใช้สายตา และข้อบกพร่องของสายตาที่เกิดขึ้นอยู่ก่อน
                   แล้ว ที่เป็นต้นเหตุให้เมื่อยล้าตาได้ แต่ถ้าหากคุณไม่รู้สึกตัวว่าเกิดข้อบกพร่องกับตาของคุณแล้วจะ
                   ทาให้ยากแก่การมองเห็นจอภาพได้wbr>wbr>wกรณีที่เกิดข้อบกพร่องกับตาแล้ว
                  สายตาที่มีปัญหา ซึ่งมีวิธีการแก้ปัญหาที่เกิดกับสายตาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งการทางานด้วย
                   เครื่องคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องทาการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสายตาเพื่อให้สามารถมองจอภาพได้ดี

           เนื่องจากสายตาของคนเรานั้นมักจะเสื่อมไปตามอายุ ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ล้วนแต่ต้องการมี
           สุขภาพตาที่ดี และวิธีการในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสายตา แว่นตาหรือคอนแทคเลนส์ช่วยให้การมองดีขึ้น
           และสะดวกสบายสาหรับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์นับล้าน ๆ คน

           คุณต้องการแว่นตาหรือไม่

           ปัญหาของการมองที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขมีอยู่อย่างมากมาย ซึ่งพบว่ามีอยู่ไม่น้อยเลยในวัยทางานที่ยังคง
           ปล่อยปะละเลยในการแก้ไขปัญหาของสายตามที่มีปัญหา

                  ความต้องการในขณะทางาน

           นัยน์ตาที่มีการใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่เป็นประจามักต้องการสภาพแวดล้อมในการใช้สายตา ซึ่งแต่
           ละคนก็มีความต้องการแตกต่างกันไป และสุขภาพตาที่ดีพออาจช่วยแก้ปัญหาของนัยน์ตาได้ โดยสามารถ
           รับมือกับปัญหาที่ทรมานนัยน์ตาได้แต่ก็คงไม่มากนัก


    ปัญหาที่มักเกิดกับนัยน์ตา

           แว่นตาและคอนแทคเลนส์ได้ออกแบบมาสาหรับแก้ปัญหาที่แตกต่างกันไปตามสภาพของนัยน์ตา

                  Myopia

           ภาวะสายตาสั้นเป็นภาวะที่ไม่สามารถมองเห็นวัตถุในระยะที่ตั้งไว้ไกลเกินจากโฟกัสของสายตา โดยที่จุด
           โฟกัสของภาพที่มองตกก่อนที่จะถึงจอรับภาพของนัยน์ตา คนที่สายตาสั้นบางคนเท่านั้นที่อาจจะไม่ต้อง
           อาศัยแว่นตาและทางานอยู่กับคอมพิวเตอร์ได้อย่างสบาย แต่เมื่อเกิดภาวะสายตาสั้นมากขึ้น ก็จะปรากฎ
           ท่าทางที่บ่งบอกว่านัยน์ตานั้นเริ่มแย่แล้ว โดยจะนั่งใกล้ติดกับจอคอมพิวเตอร์มากเกินไป และอาจจะเกิดผล
           อย่างอื่นตามมาอีก

          Hyperopia

           ภาวะสายตายาวนี้จะมองเห็นได้ดีในระยะไกลโดยไม่ต้องอาศัยแว่นตา แต่จะมีผลกับการทางานบ้าง ซึ่ง
           โฟกัสที่ได้จากวัตถุในระยะไกลจะมองเห็นได้ดี แต่ถ้าเป็นการมองวัตถุที่อยู่ใกล้ ๆ นัยน์ตาจะต้องพยายามจับ
           โฟกัสของวัตถุนั้น ฉะนั้นเมื่อต้องดูคาที่เขียนบนจอภาพก็จาเป็นต้องใช้สายตามองในระยะที่พอประมาณ คน
           ที่สายตายาวจึงต้องพยายามใช้สายตาในการมองในระยะที่ใกล้จึงทาให้เกิดอาการเมื่อยกล้ามเนื้อตาหรือ
   Astigmatism

    ภาวะตาพร่านี้จะเกิดจากการผิดปกติของเลนส์ตาที่มีส่วนโค้งผิดปกติ ซึ่งเมื่อมองแล้วจะทาให้เกิดอาการ
    เบลอไม่เกี่ยวกับระยะของวัตถุ โดยทั่ว ๆ ไปแล้วปัญหาของภาวะสายตาสั้น หรือสายตายาว และภาวะตา
    พร่านั้นเมื่อถูกสะสมไว้ก็จะก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา

   Presbyopia

    ภาวะนี้เป็นการสูญเสียความสามารถของโฟกัสไปตามธรรมชาติ ซึ่งเกิดจากการเสื่อมไปตามอายุของคนเรา
    โดยจุดโฟกัสของภาพที่มองเห็นตกเลยจอรับภาพ (เรตินา) และได้ภาพที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งภาวะนี้อาจจะทาให้
    เกิดอาการปวดคอเมื่อทางานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ การแก้ปัญหาเหล่านี้ก็คงจะต้องอาศัยแว่นตา เพื่อให้
    ได้ระยะห่างที่เหมาะสมระหว่างสายตากับจอเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ
    โดยทั่ว ๆ ไปผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จ้องมองแต่หน้าจอเป็นระยะเวลานาน ๆ ก็มักจะทาให้เกิดอาการ
    เมื่อยล้าเกร็งกล้ามเนื้อตา เพื่อให้ได้โฟกัสและทิศทางของสายตาที่จ้องมอง
    ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์มักจะกวาดสายตาในทิศทางที่ซ้า ๆ ในขณะทางาน จึงก่อให้เกิดอาการเมื่อยล้า
    กล้ามเนื้อตาได้ง่าย
    แสงสว่างที่จ้ามากสาหรับนัยน์ตาและระยะของวัตถุ รวมทั้งการจับโฟกัสของสายตา ในภาวะสายตาสั้น
    นัยน์ตาก็จะต้องทางานหนักมากขึ้นเพื่อมองภาพในระยะที่ไกล ส่วนใหญ่แล้วจอคอมพิวเตอร์ที่ไม่สว่างมาก
    จะช่วยลดความรุนแรงที่เกิดกับนัยน์ตาได้
    ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์มักจะทางานอยู่ในบรรยากาศที่แห้ง ๆ ซึ่งควรจะมีการกะพริบตาบ่อย ๆ เพื่อที่จะลด
    ภาวะที่เป็นอันตรายกับนัยน์ตา

    อาการเตือนเมื่อต้องการแว่นตา

    องค์การที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับนัยน์ตา The American Optometric Association (AOA) ได้กล่าวว่าอาการที่
    เกิดจากความเมื่อยนัยน์ตาของคุณอาจจะเป็นดังนี้

        o   อาการปวดศีรษะบ่อย ๆ
        o   อาการเบลอหรือเมื่อยล้านัยน์ตา
        o   การมองเห็นที่มัวพร่า
        o   ความถี่ในการเกิดอุบัติเหตุ
        o   ทาการจอดรถได้ยาก
        o   อ่านหนังสือพิมพ์หรือตัวอักษรเล็ก ๆ ได้ยาก
        o   เล่นกีฬาแย่ลง
        o   ลดความสนใจในการทางาน

    การทดสอบสายตา

    องค์การ AOA ได้แนะนาให้มีการตรวจสอบหรือทดสอบนัยน์ตาก่อนที่จะเริ่มทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์
    และติดตามผลการทดสอบทุก ๆ ปี
    จากตัวเลขที่เพิ่มขึ้นที่ผู้เชี่ยวชาญด้านดูแลสุขภาพตาพบว่าองค์ประกอบที่มีส่วนเกี่ยวข้องเป็นพิเศษกับ
    สุขภาพนัยน์ แต่ก็ไม่ใช่ว่าองค์ประกอบอื่น ๆ จะไม่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้เชี่ยวชาญที่ดูแลสุขภาพตาก็เริ่มมีการ
    ต่อต้านเกี่ยวกับการทางานที่ใกล้เกินไปกับจอคอมพิวเตอร์ และการทางานที่ทาให้ต้องใส่แว่นตา

    แว่นตาและคอนแทคเลนส์

    แว่นตาและคอนแทคเลนส์อาจจะก่อให้เกิดปัญหาเฉพาะอย่างในขณะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ อาทิเช่น
    แว่นตาที่มีทั้งเลนส์มองระยะใกล้และระยะไกล (bifocal), trifocal และคอนแทคเลนส์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ไม่ได้ถูก
    ออกแบบมาโดยตรงสาหรับใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ ในขณะที่มีการใส่คอนแทคเลนส์ก็อาจจะมีอาการ
    เหมือนกับการมองไม่สัมพันธ์กัน วิธีการแก้ปัญหาก็อาจจะทาได้โดยเลือกแว่นตาหรือคอนแทคเลนส์ให้
    เหมาะกับสภาพสายตาและสภาวะแวดล้อมใน

           Computer glasses
แว่นตาสาหรับงานคอมพิวเตอร์ โดยปกติแล้วจะออกแบบเน้นในเรื่องระยะทางจุดโฟกัสและมุมมองเพื่อให้
              คุณมองเห็นหน้าจอได้ง่าย แว่นตาที่มีราคาค่อนข้างแพงก็อาจจะช่วยลดการระคายเคืองของนัยน์ตาที่
              เมื่อยล้าได้ ประมาณ 40% ของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่เห็นปัญหาของนัยน์ตาที่เกิดจากการทางานด้วยเครื่อง
              คอมพิวเตอร์ และยอมรับว่าการใส่แว่นตามีส่วนช่วยในขณะทางานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์

             Bifocals

              แว่นตาสาหรับคนที่สายตาเริ่มเสื่อมไปตามธรรมชาติ (prebyopia) เป็นแว่นตาที่ประกอบด้วยเลนส์สองเลนส์
              คือเลนส์ที่มองในระยะปกติที่เหมาะสมกับสายตา และอีกเลนส์ที่เป็นเลนส์ล่างของแว่นตา สาหรับมอง
              ระยะใกล้ ๆ มีโฟกัสอยู่ที่ 16 นิ้ว หรือ 40 เซนติเมตรที่อยู่ระดับล่างของแว่นตา ที่ช่วยให้มองดีขึ้น อย่างเช่น
              การอ่านหนังสือบนโต๊ะหรือหนังสือที่อยู่ในมือ แต่ก็ยังช่วยอะไรไม่ได้ในการเปลี่ยนโฟกัสในการมองหรือการ
              หันไปมองสิ่งต่าง ๆ แล้วหันกับมามองที่จอภาพจะทาให้เกิดอาการตาลาย ซึ่งเป็นผลทาให้เกิดการปวดคอ
              และหลัง การทดสอบแว่นตา bifocal ซึ่งเป็นเลนส์ที่สามารถช่วยในการมองหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้
              เลนส์ล่างในการมองระยะการทางานที่ใกล้ ๆ การแก้ปัญหาเหล่านี้อาจจะใช้แว่นตาสาหรับงานคอมพิวเตอร์
              ช่วยก็ได้

             Trifocal

              เป็นเลนส์แว่นตาที่เลนส์ตรงกลางมีโฟกัสเหมาะสาหรับระยะการทางานกับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากเลนส์ตรง
              กลางเหล่านี้เป็นเลนส์ที่ผู้ใช้เลือกและต้องการเป็นพิเศษในการสวมใส่ อย่างไรก็ตามผู้ที่ใส่แบบ trifocal ก็
              อาจจะมีความรู้สึกเกิดอาการตาลายได้บ่อย ๆ เนื่องจากมีเลนส์ที่บรรจุอยู่สามเลนส์และตาต้องคอยปรับ
              โฟกัสอยู่เสมอ ซึ่งแว่นตาสาหรับงานคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะหรือแบบพิเศษ bifocal ก็อาจจะช่วยให้อาการ
              เมื่อยกล้ามเนื้อตาหรือปวดตาลดน้อยลง

             Progressive addition lenses

              เป็นเลนส์ที่มีเลนส์พิเศษต่าง ๆ รวมอยู่ด้วยกันบนเลนส์หนึ่ง ๆ ซึ่งเกิดจากความก้าวหน้าของการพัฒนาเลนส์
              ให้เลนส์มีระยะโฟกัสที่ไล่ระดับกันไปบนเลนส์แว่นตาอันเดียวกัน ซึ่งจะเริ่มจากเลนส์บนเป็นเลนส์ที่ช่วยให้
              เราสามารถมองวัตถุได้ในระยะไกล และเลนส์ล่างจะเป็นเลนส์ที่ช่วยในการมองวัตถุในระยะใกล้ ๆ โดยการ
              กวาดตามองลงผ่านเลนส์แว่นตาแบบนี้จะช่วยเปลี่ยนระยะโฟกัสไปตามเลนส์ที่บรรจุอยู่อย่างสม่าเสมอ
              ดังนั้นคุณสามารถที่จะมองได้ปกติเมื่อมีการเปลี่ยนระยะการมองเพื่อให้เห็นได้ใกล้หรือชัดขึ้น ผู้ใส่แว่นแบบ
              นี้หลาย ๆ คนที่สามารถมองการพิมพ์ตัวอักษรบนจอได้เป็นระยะเวลานาน ๆ อย่างไรก็ตามยังมีแบบใหม่ ๆ ที่
              ออกแบบมาสาหรับการทางานในระยะใกล้ได้ดีเช่นกัน

             Contact lense

              ปกติคอนแทคเลนส์จะถูกออกแบบให้มีโฟกัสอยู่ที่ 20 ฟุต และอาจยังไม่ดีพอสาหรับการทางานกับ
              จอคอมพิวเตอร์ในระยะใกล้ที่มีความสว่างของจอภาพน้อย ซึ่งในขณะที่ใส่คอนแทคเลนส์ทางานกับเครื่อง
              คอมพิวเตอร์จะมีความรู้สึกเร็วมากกับอาการนัยน์ตาแห้ง และทาให้เกิดการระคายเคืองนัยน์ตาได้ จึงขอ
              แนะนาว่าในบางครั้งควรจะสวมแว่นตาสาหรับทางานกับคอมพิวเตอร์เข้าไปอีกชั้นหนึ่ง เช่นเดียวกับคอน
              แทคเลนส์ชนิด bifocal (เป็นเลนส์ที่มีเลนส์สองเลนส์ใกล้และไกล) ที่สามารถช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ได้

    ส่งท้าย

              อาการปวดตาและเมื่อยล้าของนัยน์ตาก็คงจะเคยเกิดกับผู้ที่ทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์บ้างแล้ว ซึ่งเกิด
              จากการจ้องมอง เพ่งมองตัวอักษรที่พิมพ์ออกทางจอภาพ หรือสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมกับการทางาน
              กับเครื่องคอมพิวเตอร์ล้วนแล้วแต่ส่งผลเสียหายให้กับดวงตาของเรา ฉะนั้นนัยน์ตาของคนเรานับว่ามีค่ายิ่ง
              ควรแก่การทนุถนอมไว้ โดยการหลีกเลี่ยงต้นเหตุ และป้องกันโดยการหยุดพักสายตาและกะพริบตาบ่อย ๆ
              ในระหว่างทางานอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือวิธีการอื่น ๆ เช่น การใส่แว่นตา หรือคอนแทคเลนส์ที่
              เหมาะสมกับสายตา เพื่อช่วยให้ดวงตาอยู่กับเราตราบนานเท่านาน

    ที่มา : กัลยา เบญจพร วารสารไมโครคอมพิวเตอร์ ยูสเซอร์ ฉบับที่ 11 (ตุลาคม 2537)
ปวดหลังปวดเอว
 พญ.ลลิตา ธีระสิริ

ใครที่ปวดหลัง หากไปตรวจแล้วไม่พบว่าเป็นเรื่องใหญ่ ไม่ใช่ความผิดปกติของกระดูกสันหลัง หรือหมอน
รองกระดูกสันหลังที่ร้ายแรง ไม่ใช่โรคไต ก็สามารถบรรเทาอาการด้วยตนเอง ดังนี้

   1. เช็กที่นอนและเก้าอี้
      เช็กที่นอนก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งใครก็ตามที่มีอาการปวดหลังเวลาตื่นนอน ที่นอนที่ถูก
      สุขลักษณะจะต้องแข็งแบบกดไม่ลง แต่ควรจะมีความหยุ่นตัวเล็กน้อยไม่ใช่แข็งโป๊กแบบพื้น
      กระดาน เวลานอนลงไปจะได้ไม่เจ็บ...

      เก้าอี้ที่เหมาะสมกับการนั่งทางานนาน ๆ ได้แก่เก้าอี้ของพนักงานพิมพ์ดีด ที่มีพนักหลังพยุงส่วน
      หลังเอาไว้พอดี ปล่อยให้หลังส่วนบนเคลื่อนที่ได้เป็นอิสระ ความสูงของเก้าอี้ก็สาคัญ เวลาคุณนั่ง
      ลงไปเท้าจะต้องเหยียบพื้นได้ และทาให้เข่างอเป็นมุม 90 องศาพอดี คุณจึงจะอยู่ในท่าผ่อนคลาย
      ไม่เกร็ง และถ้ามีที่เท้าแขนเพื่อรับน้าหนักของแขนได้ยิ่งดีใหญ่
   2. ปรับท่าในการทางาน
      ไม่ควรก้ม ๆ เงย ๆ ในการทางาน คุณควรจะทางานในท่าที่หลังตรงอยู่ตลอดเวลา และไม่ควรใช้
      หลังยกของ เช่น ท่าก้มลงยกของหนัก หากเมื่อใดที่ต้องการยกของขึ้นจากพื้น ให้ย่อตัวลงนั่งแล้ว
      ยกของขึ้น ท่านี้เป็นการใช้กล้ามเนื้อขาซึ่งมีขนาดมัดใหญ่กว่ายกของขึ้นแทนการใช้กล้ามเนื้อหลัง
   3. บริหารหลัง
      การยืดกล้ามเนื้อหลังเป็นประจาจะช่วยบรรเทาอาการปวด ซึ่งทาได้ง่าย ๆ คือ ให้นอนหงาย เอามือ
      โน้มเข่าข้างหนึ่งเข้าหาอก แล้วยกตัวขึ้น โน้มตัวเข้าหาเข่าให้จมูกชิดเข่า ให้อยู่ในท่านี้นานเท่ากับ
      นับ 1-5 แล้วกลับลงไปนอนเช่นเดิม ทาเช่นนี้ข้างละ 10 ครั้ง และให้ทาวันละ 2 รอบ คือเช้าครั้ง
      หนึ่ง และเย็นครั้งหนึ่ง
   4. การประคบกล้ามเนื้อหลัง
      การประคบหลังจะช่วยทาให้หายอาการปวดหลังได้อย่างรวดเร็ว เร็วกว่าการใช้ยาเสียอีก ทาได้
      ดังนี้คือ ให้นอนคว่าลง เอาผ้าขนหนูผืนใหญ่ชุบน้าอุ่นจัด ๆ วางลงไปบนเอวนาน 3 นาที จากนั้น
      เปลี่ยนใช้ผ้าอีกผืนชุบน้าเย็นจัด ๆ เปลี่ยนวางลงไปบนเอวนาน 2 นาที สลับร้อนเย็น เช่นนี้ 3 รอบ



   5. อาหารเสริมสาหรับกล้ามเนื้อ
      ปกติให้ใช้แคลเซียมที่อยู่ร่วมกับแมกนีเซียม ซึ่งเรียกว่า โดโลไมท์ ในอัตราส่วน แคลเซียม :
      แมกนีเซียม 2 : 1 วันละ 800 : 400 มก.

ลองนาเคล็ดลับนี้ไปใช้กันดูนะคะเพื่อสุขภาพหลังที่ดี...
สุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯ
สุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯ

More Related Content

Viewers also liked

Minuta y Organigrama
Minuta y OrganigramaMinuta y Organigrama
Minuta y OrganigramaJuan Carlos
 
Novidade outubro
Novidade outubroNovidade outubro
Novidade outubrobiblioguiti
 
235_zernolako 3. proba.doc
235_zernolako 3. proba.doc235_zernolako 3. proba.doc
235_zernolako 3. proba.docElhuyarOlinpiada
 
Pareceimposibleperosucedio!
Pareceimposibleperosucedio!Pareceimposibleperosucedio!
Pareceimposibleperosucedio!Abraham Bilbao
 
Glynis Ryan Thesis 19th Aug 2014
Glynis Ryan Thesis 19th Aug 2014Glynis Ryan Thesis 19th Aug 2014
Glynis Ryan Thesis 19th Aug 2014Glynis Ryan
 
Assignment 12 costume prop location
Assignment 12 costume prop locationAssignment 12 costume prop location
Assignment 12 costume prop locationAshley Goodall
 
213_internet leintz bailaran.ppt
213_internet leintz bailaran.ppt213_internet leintz bailaran.ppt
213_internet leintz bailaran.pptElhuyarOlinpiada
 
GameMath-Chapter 01 벡터
GameMath-Chapter 01 벡터GameMath-Chapter 01 벡터
GameMath-Chapter 01 벡터Mark Choi
 
Intersection math
 Intersection math Intersection math
Intersection mathnavajomath
 
1098_ilusio optikoak zernola.ppt
1098_ilusio optikoak zernola.ppt1098_ilusio optikoak zernola.ppt
1098_ilusio optikoak zernola.pptElhuyarOlinpiada
 

Viewers also liked (13)

Minuta y Organigrama
Minuta y OrganigramaMinuta y Organigrama
Minuta y Organigrama
 
Novidade outubro
Novidade outubroNovidade outubro
Novidade outubro
 
235_zernolako 3. proba.doc
235_zernolako 3. proba.doc235_zernolako 3. proba.doc
235_zernolako 3. proba.doc
 
222_inkesta_dbh1b.ppt
222_inkesta_dbh1b.ppt222_inkesta_dbh1b.ppt
222_inkesta_dbh1b.ppt
 
Pareceimposibleperosucedio!
Pareceimposibleperosucedio!Pareceimposibleperosucedio!
Pareceimposibleperosucedio!
 
Computing: I Can Statements:
Computing: I Can Statements: Computing: I Can Statements:
Computing: I Can Statements:
 
Glynis Ryan Thesis 19th Aug 2014
Glynis Ryan Thesis 19th Aug 2014Glynis Ryan Thesis 19th Aug 2014
Glynis Ryan Thesis 19th Aug 2014
 
Assignment 12 costume prop location
Assignment 12 costume prop locationAssignment 12 costume prop location
Assignment 12 costume prop location
 
213_internet leintz bailaran.ppt
213_internet leintz bailaran.ppt213_internet leintz bailaran.ppt
213_internet leintz bailaran.ppt
 
GameMath-Chapter 01 벡터
GameMath-Chapter 01 벡터GameMath-Chapter 01 벡터
GameMath-Chapter 01 벡터
 
Intersection math
 Intersection math Intersection math
Intersection math
 
1098_ilusio optikoak zernola.ppt
1098_ilusio optikoak zernola.ppt1098_ilusio optikoak zernola.ppt
1098_ilusio optikoak zernola.ppt
 
657_aurkezpena1.ppt
657_aurkezpena1.ppt657_aurkezpena1.ppt
657_aurkezpena1.ppt
 

Similar to สุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯ

กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์tangkwakamonwan
 
ภาษาไทย1
ภาษาไทย1ภาษาไทย1
ภาษาไทย1krusan03
 
Pdf ภาษาไทย
Pdf ภาษาไทยPdf ภาษาไทย
Pdf ภาษาไทยkrusan03
 
Pdfคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Pdfคอมพิวเตอร์เบื้องต้นPdfคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Pdfคอมพิวเตอร์เบื้องต้นkrusan03
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมAkanit Srilaruk
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5aye_supawan
 
การดูแลสายตาสำหรับคนใช้คอมพิวเตอร์
การดูแลสายตาสำหรับคนใช้คอมพิวเตอร์การดูแลสายตาสำหรับคนใช้คอมพิวเตอร์
การดูแลสายตาสำหรับคนใช้คอมพิวเตอร์รังษิยา สดชื่น
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2peter dontoom
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2peter dontoom
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ม
เทคโนโลยีสารสนเทศ มเทคโนโลยีสารสนเทศ ม
เทคโนโลยีสารสนเทศ มmamzz555
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ม
เทคโนโลยีสารสนเทศ มเทคโนโลยีสารสนเทศ ม
เทคโนโลยีสารสนเทศ มM-Visit Sukploy
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33Mai Lovelove
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1katuckkt
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Min Jidapa
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Jaohjaaee
 

Similar to สุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯ (20)

กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Office Syndrome
Office SyndromeOffice Syndrome
Office Syndrome
 
ภาษาไทย1
ภาษาไทย1ภาษาไทย1
ภาษาไทย1
 
Pdf ภาษาไทย
Pdf ภาษาไทยPdf ภาษาไทย
Pdf ภาษาไทย
 
Pdfคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Pdfคอมพิวเตอร์เบื้องต้นPdfคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Pdfคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
การดูแลสายตาสำหรับคนใช้คอมพิวเตอร์
การดูแลสายตาสำหรับคนใช้คอมพิวเตอร์การดูแลสายตาสำหรับคนใช้คอมพิวเตอร์
การดูแลสายตาสำหรับคนใช้คอมพิวเตอร์
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ม
เทคโนโลยีสารสนเทศ มเทคโนโลยีสารสนเทศ ม
เทคโนโลยีสารสนเทศ ม
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ม
เทคโนโลยีสารสนเทศ มเทคโนโลยีสารสนเทศ ม
เทคโนโลยีสารสนเทศ ม
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 

More from อำพร มะนูรีม

แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบึงสิง1
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบึงสิง1ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบึงสิง1
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบึงสิง1อำพร มะนูรีม
 

More from อำพร มะนูรีม (6)

Photo story
Photo storyPhoto story
Photo story
 
Photo story
Photo storyPhoto story
Photo story
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบึงสิง1
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบึงสิง1ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบึงสิง1
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบึงสิง1
 

สุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯ

  • 1. สุขภาพอนามัยของผู้ทางานกับคอมพิวเตอร์ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ VDTs ความหมายของ VDTs คาว่า Visual [Video] Display Terminals [VDTs] หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับหารจัดการ ประมวลผล และแสดงข้อมูลต่างๆ อันประกอบไปด้วยจอคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ แผงวงจรไฟฟ้า และตัวป้อน กระแสไฟฟ้า นอกจากนี้อาจรวมอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลอื่นๆ เช่น เม้าส์ หรือตัวชี้ และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์ หรือเสียงต่างๆ ที่ดังออกมาอีกด้วย ทั้งนี้ VDTs อาจเป็นคอมพิวเตอร์ระบบใหญ่ หรือคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลก็ได้ ตัวอย่างกลุ่มอาชีพที่ทางานเกี่ยวกับ VDTs ได้แก่ งานป้อนข้อมูล งานต่อโทรศัพท์ งานใน ห้องควบคุม งานหนังสือพิมพ์ งานเขียนโปรแกรม และงานออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์ ฯลฯ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล จัดเป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญในการทางานของบุคคลส่วนใหญ่อีกด้วย ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ VDTs ลักษณะเฉพาะของงาน VDTs งาน VDTs เป็นงานที่ต้องใช้สายตามาก ในการเพ่งมองส่วนต่างๆ ที่สาคัญ มี 3 ส่วนคือ จอคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และเอกสาร จอคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ จอที่มีลักษณะเหมือนจอทีวี และจอ แบบแบน การกดแป้นพิมพ์หรือการนั่งทางานกับคอมพิวเตอร์ เป็นระยะเวลานานๆ โดยไม่ได้มีการเคลื่อนไหว ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ย่อมส่งผลต่อปัญหาความปวดเมื่อยกล้ามเนื้อตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ข้อมือ หัวไหล่ หลัง หรือเอว นอกจากนี้ก็ยังพบปัญหาความเครียดอีกด้วย
  • 2. ดังนั้นการแนะนา หรือให้สุขศึกษาแก่ผู้ทางานด้านนี้ เพื่อให้เข้าใจถึงปัญหาต่อสุขภาพอนามัย และ วิธีการป้องกันอันตราย จึงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน ความปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ลักษณะอาการ ปวดไหล่ ปวดหลัง ปวดเอว งานกดแป้นพิมพ์ไม่จัดเป็นงานหนัก แต่ถ้าทางานติดต่อกันเป็นเวลานานๆ ก็ย่อมทาให้เกิดปัญหา เมื่อยล้าที่นิ้วมือ ข้อมือ แขน หรือไหล่ได้ เช่นงานป้อนข้อมูล และจะเป็นปัญหามากถ้าการจัดสภาพแวดล้อมในการ ทางาน เช่นความสูงของโต๊ะ เก้าอี้ และแป้นพิมพ์ ไม่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ การนั่งในท่าทางที่ไม่ถูกต้องเป็นเวลานานๆ ก็ยังเป็นสาเหตุของอาการปวดหลังอีกด้วย เนื่องจากการหมุนเวียนของ โลหิตในร่างกายเป็นไปได้ไม่สะดวก ผลก็คือ กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายได้รับเลือดและออกซิเจนไปหล่อ เลี้ยงไม่เพียงพอ เกิดเป็นปัญหาความเมื่อยล้า และปวดเมื่อยตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน สาเหตุที่ 1 ท่าทางการนั่ง มาตรการที่ 1 ท่าทางการทางานที่ถูกต้อง งานคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เป็นงานที่ต้องนั่งทางานด้วยท่าทางเดิมเป็นระยะเวลานานๆ ท่าทางการ
  • 3. นั่งที่ไม่เหมาะสม เป็นสาเหตุให้ร่างกายต้องรับน้าหนักเกินความจาเป็น ทาให้เกิดความเมื่อยล้าได้ง่าย ท่าทางการนั่งที่ถูกต้องคือ การนั่งลึกให้เต็มเก้าอี้และหลังพิงพนักเก้าอี้ ช่วงขาอ่อนด้านล่างที่ติด เก้าอี้ควรเหลือช่องขนาดให้นิ้วมือสอดเข้าไปได้ เพื่อลดแรงกด และเพื่อให้โลหิตไหลเวียนได้สะดวก นอกจากนี้การได้ยืดแขนขา หรือการได้เปลี่ยนท่าทางขณะทางานบ้าง จะช่วยลดความเครียดของ กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ มาตรการที่ 2 การจัดระดับความสูงของอุปกรณ์ต่างๆ เราจะสามารถจัดท่าทางการทางานที่ถูกต้องได้ก็ต่อเมื่อ การจัดสภาพแวดล้อม และอุปกรณ์ในการ ทางานเป็นไปอย่างเหมาะสม ซึ่งขึ้นอยู่กับขนาดร่างกายของแต่ละบุคคล สิ่งที่ดีที่สุดก็คือ ควรจัดให้ความสูงของ อุปกรณ์ต่างๆ สามารถปรับระดับได้ โดยให้ผู้ใช้เป็นผู้ปรับด้วยตนเอง ถ้าไม่สามารถจัดระดับความสูงของอุปกรณ์
  • 4. เหล่านี้ให้เหมาะสมได้แล้ว แม้ว่าเราจะนั่งทางานด้วยท่าทางที่ถูกต้องก็ตาม ความเมื่อยล้าก็ย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน สาเหตุที่ 2 ระยะเวลาในการทางาน มาตรการ การหยุดพัก
  • 5. ระยะเวลาในการทางาน ก็ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เกิดความเมื่อยล้าได้ ไม่เฉพาะที่กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายเท่านั้น แต่รวมไปถึงสายตา และระบบประสาทด้วย ผลก็คือ ประสิทธิภาพในการทางานลดต่าลง การทางานด้วยระยะเวลานานๆ ไม่ได้ หมายความว่าจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการหยุดพักบ้าง ตามความ เหมาะสม ข้อแนะนา 1 ควรทางานอย่างอื่นร่วมไปด้วย เพื่อลดระยะเวลาในการทางานกับคอมพิวเตอร์ให้น้อยลง 2 งานที่ต้องอ่านข้อมูลจากจอคอมพิวเตอร์ หรือใช้แป้นพิมพ์ตลอดเวลา ควรทาติดต่อกันเพียง 50 นาที และพัก 10 นาที ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน สาเหตุที่ 3 การออกกาลังกายไม่เพียงพอ ความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อ เกิดจากการขาดออกซิเจน ซึ่งนาโดยเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อส่วนนั้นๆ การบริหารร่างกายเพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด และความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อ จึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และ ควรกระทาในช่วงเวลาพักที่กาหนดไว้ การได้ยืดเส้นยืดสายบ้าง จะช่วยให้เลือดหมุนเวียนได้สะดวก
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9. ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน ความล้าของสายตา ลักษณะอาการ ปวดตา ระคายเคืองตา ตาล้า ปัญหาที่พบบ่อยที่สุดจากการทางานกับคอมพิวเตอร์คือ ปัญหาความล้าของสายตา สาเหตุ เนื่องจากตาจะต้องถูกใช้งานหนัก ในการมองทั้งจอคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และเอกสาร สลับกันไปตลอดเวลา ทั้งนี้ ระดับความสว่าง และระยะความห่างในการมองวัตถุทั้ง 3 ก็แตกต่างกันไป ทาให้สายตาต้องปรับตัวตลอดเวลา นอกจากนี้ก็ยังมีปัญหาเรื่องแสงจ้า และแสงกระพริบของจอคอมพิวเตอร์อีกด้วย ตามหลักสรีรวิทยาของตานั้น เพื่อการมองเห็นที่ชัดเจน เลนส์ตาหรือแก้วตาจะต้องปรับตัวเพื่อให้ ภาพที่มองไปตกที่จอภาพพอดี และขนาดรูม่านตาก็จะต้องปรับเปลี่ยนไปตามความเข้มของการส่องสว่างจากวัตถุที่ เรามอง ซึ่งเป็นสาเหตุหลักเรื่องความล้าของสายตา และการใช้สายตาเพ่งนานๆ อาจทาให้ตาแห้ง เกิดอาการระคาย เคืองตา จึงควรพักสายตาประมาณ 10 นาที ต่อ 1 ชั่วโมงการทางาน หรือพักทุก 15 นาที ต่อ 2 ชั่วโมงการทางาน ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน สาเหตุที่ 1 ความส่องสว่าง มาตรการที่ 1 ความสว่างภายในห้อง การจัดแสงสว่างให้ พอเหมาะทั้งที่จอคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และเอกสาร เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง แสงสว่างภายในห้องโดยทั่วไปควรอยู่
  • 10. ระหว่าง 300 - 700 ลักซ์ หลักการจัดแสงสว่างภายในห้องทางานกับคอมพิวเตอร์อย่างง่ายๆ คือ ให้ความส่องสว่างของวัตถุ ที่เราต้องมองมีระดับพอๆ กัน ถ้าภายในห้องมีทั้งบริเวณสว่างและบริเวณมืด จะทาให้เกิดความล้าของตาได้ ความคิดที่ว่าการจัดแสงสว่างให้ยิ่งสว่างมากก็ยิ่งดี เป็นความคิดที่ผิด ในบางกรณีอาจจะต้องใช้ผ้าม่านปิดกั้นแสง สว่างที่เกินความจาเป็นอีกด้วย มาตรการที่ 2 ความสว่างของจอคอมพิวเตอร์ ข้อแนะนา 1 สาหรับจอคอมพิวเตอร์แบบพื้นมืดตัวหนังสือสว่าง ระดับความสว่างบริเวณหน้าจอ ไม่ควรเกิน 500 ลักซ์ บริเวณแป้นพิมพ์และเอกสารควรอยู่ระหว่าง 300 - 1,000 ลักซ์ 2 สาหรับจอคอมพิวเตอร์แบบพื้นสว่างตัวหนังสือมืด ระดับความสว่างบริเวณวัตถุที่มองทั้ง 3 ควร อยู่ระหว่าง 500 - 1,000 ลักซ์ 3 บริเวณหน้าต่างที่มีแสงแดดจ้าส่องเข้าถึง ควรติดผ้าม่าน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดแสงจ้าเกินไป ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน สาเหตุที่ 2 แสงจ้า มาตรการที่ 1 การจัดสถานที่ติดตั้งคอมพิวเตอร์ แสงสว่างที่มากเกินไปจะทาให้เกิดตาพร่ามัวได้ สาหรับงานที่ต้องใช้สายตาเพ่งมองอยู่ที่ จอคอมพิวเตอร์นานๆ และถ้ามีแสงสะท้อนที่จอคอมพิวเตอร์ร่วมอยู่ด้วย จะทาให้เกิดความล้าของสายตามากขึ้น ตามมาด้วยอาการปวดตา
  • 11. การจัดสถานที่ติดตั้งคอมพิวเตอร์ มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องป้องกันมิให้เกิดแสงจ้าเข้าตาได้ ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม โดยทางตรงคือ การที่มีแหล่งเสงสว่างอยู่ในสนามการมองเห็นโดยไม่มีการปิดกั้น โดยทางอ้อมคือ การที่แหล่งแสงสว่างต่างๆ สะท้อนที่จอคอมพิวเตอร์แล้วมาเข้าตาเรา มาตรการที่ 2 การติดแผ่นกรองแสง และ hood ถ้าการเลือกจัดสถานที่ไม่สามารถป้องกันปัญหาแสงจ้าได้อย่างเหมาะสมแล้ว การติดที่ปิดกั้น หลอดไฟ แผ่นกรองแสง หรือ hood ดังในภาพก็จะช่วยลดปัญหาแสงจ้าลงได้มาก อย่างไรก็ตามการติดแผ่นกรองแสงที่คุณภาพไม่ดี อาจทาให้ความคมชัดของภาพเสียไปได้ และ การติด hood ก็ไม่สามารถป้องกันแสงจ้า จากด้านหลังได้ ข้อแนะนา 1 ไม่ควรให้มีความเข้มในการส่องสว่างของวัตถุที่มองสูงเกินไป 2 ควรให้มีการติดที่ปิดกั้นหลอดไฟเพื่อป้องกันแสงจ้าโดยตรง 3 ควรปิดคลุมแหล่งแสงสว่างทั่วไปอย่างเหมาะสม รวมไปถึงการใช้ผ้าม่าน 4 ควรติดแผ่นกรองแสง หรือ hood ที่จอคอมพิวเตอร์ตามความเหมาะสม ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน สาเหตุที่ 3 ลักษณะการมอง มาตรการที่ 1 การมองไกล การทางานกับคอมพิวเตอร์นั้นต้องใช้สายตาเพ่งมองงานที่ระยะใกล้เป็นเวลานานๆ ทาให้เกิดความ ล้าของตา ยิ่งมองใกล้มากก็ยิ่งล้ามาก การพักสายตาโดยการมองที่ไกลๆ ออกไปจะช่วยลดปัญหาตาล้าลงได้บ้าง
  • 12. มาตรการที่ 2 ระยะห่างในการมอง ระยะห่างจากตาถึงจอภาพ แป้นพิมพ์และเอกสารควรจะเท่าๆ กัน เพื่อลดภาระในการปรับสายตาใน การมองใกล้และไกลขณะทางาน ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน ความเครียด ลักษณะอาการ หงุดหงิด ขาดสมาธิ ความล้า การทางานกับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ มีผลทาให้เกิดความเครียดได้ เพราะการเพ่งมอง จอคอมพิวเตอร์นานๆ เป็นสาเหตุให้สมองต้องทางานหนักในการแปลผลสิ่งที่กาลังมองอยู่ สาเหตุของความเครียดทั้งทางร่างกายและจิตใจนั้นมีหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งเกิดจากงานและ สิ่งแวดล้อมในการทางานนั่นเอง การแก้ไขปัญหาต้องกระทาอย่างระมัดระวังทีละสาเหตุ จึงถือว่าปัญหานี้เป็นปัญหา ที่แก้ไขได้ยากที่สุด ปัญหาความเมื่อยล้า สาเหตุ และมาตรการป้องกัน สาเหตุที่ 1 เสียงดังรบกวน อุณหภูมิ มาตรการที่ 1 ปิดคลุมแหล่งเสียงดัง เมื่อเทียบกับงานอื่นแล้ว งานคอมพิวเตอร์ถือว่าเป็นงานที่มี เสียงดังรบกวนไม่มาก แต่สาหรับบางคนอาจรู้สึกราคาญได้ เช่น เสียงกด แป้นพิมพ์ เสียงเครื่องพิมพ์ เป็นต้น หลักการลดเสียงดังคือ ใช้วัสดุเก็บเสียง เช่น พรมบุผนัง หรือ พื้นห้องในห้องทางาน เพื่อลดเสียงสะท้อน อาจใช้กล่อง หรือที่ปิดคลุมเสียง กั้นแหล่งกาเนิดเสียงไว้ โดยปกติแล้ว ผู้ทาให้เกิดเสียงราคาญ มักจะไม่รู้สึก ราคาญเท่าผู้อื่น ดังนั้น ควรป้องกันเสียงดังเสียตั้งแต่ตอนเริ่มติดตั้งอุปกรณ์ ข้อแนะนา ไม่ควรให้มีระดับเสียงดังเกินระดับ 65 เดซิเบล มาตรการที่ 2 สิ่งแวดล้อมอื่นๆ นอกจากเสียงดังที่เกิดจากงานคอมพิวเตอร์เองแล้ว ยังมี เสียงดังรบกวนอื่น ที่อยู่ในบริเวณรอบๆ อีก เช่น เสียงโทรศัพท์ เสียงพูดคุย เสียงเดิน ฯลฯ และเนื่องจากระดับความทนของแต่ละบุคคลนั้นแตกต่างกันจึง ควรที่จะต้องระมัดระวังในการป้องกันเสียงรบกวนผู้อื่นด้วย นอกจากเสียงดังที่เกิดจากงานคอมพิวเตอร์เองแล้ว ยังมีเสียงดังรบกวนอื่น ที่อยู่ในบริเวณรอบๆ อีก เช่น เสียงโทรศัพท์ เสียงพูดคุย เสียงเดิน ฯลฯ และเนื่องจากระดับความทนของแต่ละบุคคลนั้นแตกต่างกันจึง ควรที่จะต้องระมัดระวังในการป้องกันเสียงรบกวนผู้อื่นด้วย ข้อแนะนา 1 ควรจัดให้มีการระบายอากาศที่เหมาะสม 2 ควรจัดให้มีห้องพักผ่อนในขณะเวลาพักด้วย 3 อุณหภูมิห้องควรอยู่ระหว่าง 25 - 28 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ ระหว่าง 40 - 70% การบริหารจัดการ การตรวจเช็คเป็นระยะ ควรจัดสภาพแวดล้อมในการทางาน เช่น ความ สูงของจอคอมพิวเตอร์ โต๊ะและเก้าอี้ อย่างเหมาะสมตั้งแต่ตอน เริ่มติดตั้ง และเพื่อไม่ให้สภาพการทางานแย่ลงเรื่อยๆ ควรจะได้มี การตรวจสอบสภาพแวดล้อมเหล่านี้เป็นประจาด้วย นอกจากนี้ควรมีการตรวจเช็คสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น แสงสว่าง แสงจ้า และเสียงดัง โดยมีการนัดหมาย กับผู้ร่วมงานอื่น เพื่อกาหนดตารางเวลาในการตรวจเช็คร่วมกัน ข้อแนะนา
  • 13. เพื่อการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทางานที่ดี ควรมีการตรวจเช็คทุกๆ 6 เดือน การตรวจที่ 1 สิ่งแวดล้อมในการทางาน 1 แสงสว่าง ---> มีแสงจ้าเกินไปหรือไม่ 2 อุณหภูมิห้อง ---> อุณหภูมิพอเหมาะและสม่าเสมอหรือไม่ 3 ความชื้นในห้อง ---> อากาศแห้งเกินไปหรือไม่ 4 การระบายอากาศ ---> มีฝุ่นหรือสิ่งสกปรกปะปนอยู่ในอากาศหรือไม่ การตรวจที่ 2 VDTs 1 จอคอมพิวเตอร์ ---> มีแหล่งสร้างแสงจ้าสะท้อนอยู่ที่จอภาพหรือไม่ 2 ความสว่างของจอ ---> ความสว่าง และ Contrast พอเหมาะหรือไม่ 3 ระยะห่าง ---> จอภาพ แป้นพิมพ์ และเอกสาร อยู่ในระยะพอเหมาะหรือไม่ 4 ความสูงของแป้นพิมพ์ ---> ข้อมืออยู่ในท่าที่ไม่เหมาะสมหรือไม่ การตรวจที่ 3 อุปกรณ์อื่นๆ 1 เก้าอี้ ---> ความสูงพอเหมาะหรือไม่ ท่าทางการนั่งเป็นธรรมชาติหรือไม่ 2 โต๊ะ ---> ความสูงพอเหมาะหรือไม่ มีที่วางเอกสารอย่างเหมาะสมหรือไม่ การบริหารจัดการ การทาความสะอาด อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจอภาพ จะมีฝุ่นติดง่ายมาก การทาความสะอาดเป็นประจา จึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ รวมไปถึงโต๊ะ และเก้าอี้ภายในห้องด้วย 1 ที่แหล่งแสงสว่าง ฝุ่นที่เกาะตามหลอดไฟจะเป็นสาเหตุให้ประสิทธิภาพในการส่องสว่างลดน้อยลง 2 ที่จอภาพ ฝุ่นที่เกาะตามจอภาพจะทาให้การมองเห็นเลวลง อาจใช้ผ้าสะอาดชุบน้าเช็ด เพื่อลดปัญหาไฟฟ้า สถิตย์ 3 ที่แป้นพิมพ์ บริเวณระหว่างแถวของตัวพิมพ์จะมีฝุ่นสะสมอยู่มาก อาจใช้เครื่องดูดฝุ่นช่วยก็ได้ สุภาพอนามัย การตรวจสุขภาพ เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า การทางานกับคอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลานานๆ มีผลให้เกิดความเมื่อยล้า ในส่วนต่างๆ ของร่างกาย และเมื่อสะสมเป็นเวลานาน ย่อมมีผลเสียต่อสุขภาพมาก การตรวจสุขภาพเป็นประจาเพื่อ ค้นหาความเจ็บป่วยเสียแต่เนิ่นๆ และเพื่อให้ทราบถึงสภาวะสุขภาพอนามัยของตนเองจึงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง
  • 14. การตรวจสุขภาพสาหรับผู้ทางานกับคอมพิวเตอร์ที่ถูกต้องนั้น ควรเริ่มตั้งแต่ก่อนรับผิดชอบทางาน ทางด้านนี้ และตรวจเป็นประจา ข้อแนะนา 1 สาหรับผู้ที่เพิ่งรับงานด้านนี้ 1.1 สอบถามประวัติการทางาน 1.2 สอบถามประวัติสุขภาพทั่วไป รวมไปถึง ความผิดปกติของสายตาด้วย 1.3 ตรวจสายตา ได้แก่ ความคมชัดของตา กล้ามเนื้อตา การปรับโฟกัสของตาและ อื่นๆ ตามที่จักษุแพทย์จะเห็นสมควร 1.4 ตรวจหาความผิดปกติของกระดูกและ กล้ามเนื้อ 1.5 อื่นๆ ตามที่แพทย์เห็นสมควร 2 การตรวจสุขภาพเป็นประจา 2.1 สอบถามประวัติการทางาน รวมไปถึง รายละเอียดการทางานคอมพิวเตอร์ด้วย 2.2 ตรวจเช่นเดียวกับข้อ 1.3 - 1.5 ข้างต้น 2.3 ควรตรวจเป็นประจาอย่างน้อยปีละ ครั้ง 2.4 ผู้ที่มีปัญหาทางสุขภาพ เช่น เบาหวาน สายตาผิดปกติ อาจพิจารณาตรวจ ทุก 6 เดือน สุภาพอนามัย หลังการตรวจสุขภาพ การตรวจสุขภาพทุกๆ ปี จะช่วยไม่ให้เกิดความเจ็บป่วยรุนแรงขึ้นได้ และการดูแลตนเอง เช่น การทางานด้วยท่าทางที่เหมาะสมตลอดเวลา ก็เป็นสิ่งที่สาคัญยิ่ง เมื่อแพทย์ตรวจพบความผิดปกติ หรืออาการเริ่ม ผิดปกติแล้ว ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะต้องปฏิบัติตนตามข้อแนะนาอย่าง เคร่งครัด เช่น ลดระยะเวลาทางานกับคอมพิวเตอร์ สับเปลี่ยน หมุนเวียนงานอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ผู้ที่มีสายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง หรือสายตาผู้สูงอายุ ควรจะได้รับการตรวจเช็คสายตาเป็นระยะ และ สวมแว่นสายตา ตามความเหมาะสมด้วย การปรึกษาปัญหาสุขภาพ แม้ปัญหาเพียงเล็กน้อยที่อาจเป็นภัยต่อสุขภาพก็ ไม่ควรมองข้าม ผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละคนอาจมีปัญหาแตกต่างกันไป จึงควรได้รับการปรึกษาและแนะนาจากผู้รู้เพื่อหาวิธีป้องกัน เพื่อ
  • 15. สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดีในการทางาน สาหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ต้องทางานกับคอมพิวเตอร์นั้น มีข้อควรระวังต่อสุขภาพ และข้อจากัดในการ ทางานมากขึ้น เช่น ไม่ควรนั่งทางานเป็นเวลานานเกินไป กิจวัตรประจาวัน เนื่องจากการทางานกับคอมพิวเตอร์เป็น สาเหตุของความเครียด และความล้าทั้งทางร่างกายและ จิตใจ การใช้ชีวิตประจาวันทั่วไปเพื่อลดความเครียด การ รับประทานอาหารครบตามหลักโภชนาการ รวมไปถึงการทา จิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ จึงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง ความเครียดเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ ประสิทธิภาพในการทางานลดต่าลงด้วย ดังนั้นควรได้มีการ ออกกาลังกายเป็นประจา หรือหาวิธีผ่อนคลายความตึงเครียด ตามความเหมาะสม เทคนิคการบริหารตาอย่างง่ายๆ ซึ่งใช้เวลาเพียง เล็กน้อย 1 การกระพริบตา กระพริบตาบ่อยๆ เพื่อให้น้าตาหล่อเลี้ยงได้ทั่วตา ช่วยลดการระคายเคืองตาได้ 2 การใช้ฝ่ามือกดตาเบาๆ เพื่อเป็นการพักสายตาจากแสงสว่างใดๆ ให้วางฝ่ามือบนเปลือกตาที่ปิดสนิท กดเบาๆ เป็นเวลา 1 นาที จะรู้สึกสบายขึ้น 3 การมองไกล เพื่อเป็นการบริหารกล้ามเนื้อตา ที่ใช้ในการปรับโฟกัสของเลนส์ตา ให้มองไกลไปจาก จอคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 6 เมตร แล้วกลับมามองที่จอฯ ทาซ้า 3 ครั้ง
  • 16. 4 การกลอกตาเป็นวงกลม เพื่อเป็นการบริหารกล้ามเนื้อตาที่ใช้ในการกรอกตาไปมา ให้มองไปรอบๆ กว้างๆ ตามเข็มนาฬิกา 3 รอบ และทวนเข็มนาฬิกาอีก 3 รอบ นัยน์ตากับคอมพิวเตอร์ http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/eye/ จากที่เรา ๆ ท่าน ๆ ต้องทางานเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ แน่นอนย่อมมีผลกับนัยน์ตา ซึ่งมักจะมีอาการ ปวดตาสาหรับผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ซึ่งจักษุแพทย์ได้พบว่ามีหลาย ๆ สาเหตุที่ทาให้นัยน์ตาต้องเสี่ยงภัย จากเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นผลทาให้เกิดอาการปวดตา พอจะแจกแจงได้ดังนี้  ความเสี่ยงภัยจากการใช้เวลาทางานส่วนใหญ่กับคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นหนทางที่ก่อให้เกิดอันตราย กับนัยน์ตา  ความไม่พอเพียงหรืออันตรายที่เกิดจากแสงและสภาพบนจอภาพ  สภาพของนัยน์ตาที่แย่อยู่ก่อนแล้วรวมทั้งสภาพการทางาน  การใช้นัยน์ตาเพ่งมองหรือจ้องมองเค้นของนัยน์ตา ลักษณะการทางานของนัยน์ตา สาเหตุที่พบบ่อยในการทาให้เกิดอาการเมื่อยตาหรือปวดตา นั่นก็คือการที่เราพยายามใช้นัยน์ตาในการมอง ภายใต้สภาวะที่เสี่ยงภัยหรือเป็นอันตรายกับนัยน์ตา การทางานของนัยน์ตาถูกควบคุมโดยกล้ามเนื้อตา ซึ่ง กล้ามเนื้อจะทางานอย่างเหน็ดเหนื่อยและรัดเกร็ง สาหรับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พยายามใช้นัยน์ตาใน การมองแต่ละวันนั้นคุณอาจจะต้องตกใจว่านัยน์ตานั้นมีการ 30,000 ครั้ง/วัน กล้ามเนื้อตาที่ถูกใช้ในการมอง ข้อความบนกระดาษหน้าหนึ่ง, การกระตุกของจอภาพ, การปรับสายตาในการมองสิ่งต่าง ๆ หรือเปลี่ยน โฟกัสในการมองและกลับมามองที่หน้าจออีกครั้ง ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นหน้าที่ของกล้ามเนื้อตาทั้งสิ้น การพิมพ์ตัวอักษรที่ปรากฎอยู่บนหน้าจอเครื่องคอมพิวเตอร์ในสภาพการทางานที่หลอดไฟในห้องมีความ สว่างมากเกินwb และทาให้จอภาพของคุณมองไม่ชัดเหมือนหมอกมาบดบังอยู่หน้าจอนั่น เกิดจากการ สะท้อนของแสงที่ตกกระทบกับจอคอมพิวเตอร์ของคุณ ทาให้ต้องมีการเพ่งไปที่จอภาพเป็นระยะเวลานาน ในการทางานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ จะมีการเลื่อนโฟกัสของสายตาที่จ้องมองบนจอภาพ เพื่อทาการอ่าน ข้อความบนจอภาพซึ่งได้จากการพิมพ์ลงไปบนคีย์บอร์ด จากสาเหตุต่าง ๆ ที่ทาให้เกิดอาการเมื่อยตาหรือ ปวดตานั้นยังไม่อาจบอกแน่นอนว่าเป็นสาเหตุใดที่แท้จริง บางอาการก็เกิดจากการเครียดกับการทางานหรือ การติดเชื้อ ฉะนั้นเราจึงไม่ควรรีรอในการปรึกษาหาคาแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญในการดูแลรักษานัยน์ตาหรือ จักษุแพทย์ อาการที่นัยน์ตาถูกใช้อย่างหักโหม  การมองเห็นสี เมื่อมีการจ้องดูที่จอเป็นระยะเวลานาน ๆ ซึ่งตัวอักษรบนจอมีการแสดงสีเป็นสีเขียวบนพื้นจอดา คุณจะรู้สึก ว่าการมองเห็นสีนั้นยากขึ้นเมื่อคุณลองมองไปที่อื่นหลังจากที่มองจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ ปรากฏการณ์เช่นนี้ถูกเรียกว่า "The McCulloch afterimage" ที่เกิดจากปริมาณของสีเคมีพิเศษที่อยู่ในเรติ นาลดลง อย่างไรก็ตามนัยน์ตาก็จะสร้างสีให้เกิดใหม่ได้ในไม่ช้าหลังจากที่สีเคมีดังกล่าวขาดหายไปชั่วขณะ หนึ่ง  การมองเห็นภาพซ้อน
  • 17. การมองเห็นภาพซ้อนเกิดจากกกล้ามเนื้อตาที่ควบคุมการรวมกันของภาพที่จุด ๆ เดียว ที่ตาทั้งสองข้างจะ รวมภาพที่จุด ๆ หนึ่ง แต่เหมือนกับมีบางสิ่งมาอยู่ใกล้ ๆ กับจุดโฟกัสนั้น เมื่อเราพยายามมองก็จะทาให้เกิด เป็นภาพซ้อน ๆ กัน ซึ่งมักพบได้บ่อย ๆ ภาพที่เห็นซ้อน ๆ กันนี้บางครั้งก็ไม่รู้สึกหรือไม่เกิดขึ้นโดยตรง แต่ จะรู้สึกปวดหัวหรือเกิดอาการล้านัยน์ตา ภาพซ้อนก็เป็นอาการหนึ่งของความเครียดทางสุขภาพนัยนต์ตา เช่นกัน ถ้าพบว่าเห็นภาพซ้อนปรากฎทันทีหรือเป็นอยู่เรื่อย ๆ คุณควรจะไปพบหรือปรึกษากับจักษุแพทย์ ทันที  ปัญหาจากโฟกัส เมื่อกล้ามเนื้อซิเลียรี (ciliary) เกิดอาการล้าหรือตึงเครียด ซึ่งกล้ามเนื้อ ciliary เป็นกล้ามเนื้อที่มี ความสัมพันธ์ระหว่าง ciliary body กับโครงสร้างของตาโดย ciliary body จะมีลักษระเหมือนกับเยื่อหุ้ม หลอดเลือดที่มีความหนาอยู่ระหว่างส่วนที่เรียกว่า คอรอยด์ (choriod) และม่านตา (iris) ซึ่งเมื่อกล้ามเนื้อซิ เลียรีเกิดอาการดังกล่าวก็จะทาให้ไม่สามารถมองเห็นจุดโฟกัสของภาพนั้นได้อย่างสมบูรณ์ อาการที่เกิด ขึ้นกับนัยน์ตาที่เมื่อยล้าหรือเกิดจากการเค้นจ้องจะทาให้ความสามารถในการกาหนดโฟกัสของสายตา wbr>w ในส่วนของกล้ามเนื้อซิเลียรี (ciliary) หากต้องถูกใช้งานอย่างหนักโดยการทางานอย่างซ้า ๆ เพื่อ เลื่อนโฟกัสมองตามตัวอักษรที่พิมพ์หรือกวาดสายตาตามตัวอักษรที่พิมพ์บนจอภาพ หรือการที่พยายามมอง อยู่ที่โฟกัสเดิมเป็นเวลานาน ๆ ก็เป็นสาเหตุทาให้เกิดอาการล้าและอาจทาให้สายตาหรือกล้ามเนื้อส่วนนี้ เสื่อมไปด้วย  อาการปวดหัว เมื่อคุณต้องใช้สายตาอย่างหนักโดยการเค้นหรือจ้องมองเขม็งเป็นเวลานาน ๆ บนจอคอมพิวเตอร์ คุณก็ อาจจะเกิดอาการปวดหัว ซึ่งคอมพิวเตอร์กับอาการปวดหัวนั้นเกิดจากความเครียดที่มีสาเหตุจากกล้ามเนื้อ ในบริเวณคอและบริเวณศีรษะเกิดความตึงเครียด และที่พบได้ทั่ว ๆ ไปก็คือ ส่วนของขมับ อาการปวดหัวนี้ อาจไม่ใช่สาเหตุโดยตรงที่เกิดจากความเมื่อยล้าของนัยน์ตา แต่เป็นผลข้างเคียงจากความพยายามในการ จ้องมองในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม หรือจากการพยายามที่จะมองตาแหน่งนั้น ๆ หรือเอียงศีรษะ เพื่อที่จะมองให้เห็นทั้งสองจุดโฟกัสที่อยู่ในตาแหน่งที่คงที่หรือกาลังเคลื่อนที่ ล้วนแล้วแต่ทาให้กล้ามเนื้อ สายตาเกิดอาการล้า กล้ามเนื้อที่ทาหน้าที่ควบคุมโดยตรง "กล้ามเนื้อควบคุมม่านตา (iris)" ซึ่งควบคุมการ ผ่านเข้าของแสง และ "กล้ามเนื้อซิเลียรี (ciliary)" ที่ควบคุมการทางานของเลนส์เพื่อที่จะทาให้การเปลี่ยน ระยะของโฟกัสหรือทาการปรับโฟกัสของเลนส์ หากสายตาของคุณมีโฟกัสที่สั้นหรือสายตาสั้น ก็จะทาให้ คุณปวดหัว และมีอาการเมื่อยล้านัยน์ตาได้ง่าย ป้องกันและบรรเทาอาการปวดตา คุณสามารถที่จะป้องกันอาการปวดตาด้วยตัวคุณเองโดยการเปลี่ยนตารางเวลาการทางานด้วยคอมพิวเตอร์ , สภาพแวดล้อมต่าง ๆ และบางครั้งอาจจะต้องทาตามตัวอย่างต่อไปนี้  หยุดพักสายตา หยุดพักหรือเปลี่ยนตารางเวลาการทางานใหม่ เพื่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของประสาทตา The National Institute of Occupational Safety and Health (NIOSH) ได้แนะนาให้มีการหยุดพักสายตาโดยจะหยุด พักสายตาครั้งละ 15 นาที ทุก ๆ 2 ชั่วโมง ซึ่งจัดว่าเป็นระดับปานกลางสาหรับการทางานที่อยู่กับหน้าจอ คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า The Video Display Terminal (VDT) หรือหยุดพักทุก ๆ ชั่วโมงเพื่อลดการเสี่ยงภัย จากจอภาพ ผู้เชี่ยวชาญบางคนก็ได้แนะนาว่าควรจะมีการหยุดพักบ่อย ๆ โดยแต่ละครั้งใช้เวลาเพียงนิด หน่อย  หลีกเลี่ยงจากต้นเหตุ เมื่อลุกไปจากตาแหน่งที่กาลังทางานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว ระหว่างนั้นก็เป็นการหยุดพัก โดยหลับตา หรือทาการบริหารตาเพื่อให้นัยน์ตาได้พักและช่วยลดอาการเมื่อยล้าได้  หลีกเลี่ยงการทางานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 18. มีคนจานวนไม่น้อยเลยที่ไม่ต้องทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ และก็มีการหยุดพักสายตาบ่อย ๆ ตลอดทั้ง วัน จึงมักไม่ค่อยมีปัญหาเกิดกับดวงตามากนัก  พักผ่อน นัยน์ตาที่ต้องจ้องเพ่งควรจะมีการฝึกการหยุดเพ่งสายตาหรือจ้องมองเป็นเวลานาน ๆ วิธีที่ดีที่สุดก็คงเป็น การล้มตัวลงนอนและหลับตาเพียง 2-3 เวลาและปิดไฟ วางผ้าชุบน้าหมาด ๆ ไว้บนเปลือกตา พักผ่อนและ ไม่ต้องกังวลกับสิ่งใด ๆ  ควบคุมความสว่างและจอภาพ การควบคุมความสว่างภายในสภาพแวดล้อมการทางานก็นับว่าจาเป็น ซึ่งจะช่วยบรรเทาอาการปวดหรือ เมื่อยล้าตาได้, ลดการเพ่งมอง, การสะท้อนของแสงต่าง ๆ และความไม่เพียงพอของแสงในการอ่าน ตัวอักษร โดยคุณจะต้องปรับความสว่างที่จอคอมพิวเตอร์ให้มีความสว่างที่พอดี ซึ่งหากทางานกับ คอมพิวเตอร์ในสภาพแวดล้อมที่มีแสงจ้าและจอภาพก็มีความสว่างมากก็ยิ่งส่งผลเสียให้กับ คุณจะรู้สึกทันที ว่ามีอาการปวดร้าวดวงตาเร็วและแสบตาอย่างรุนแรง ดังนั้นควรควบคุมความสว่างจากสภาพแวดล้อมและที่ จอคอมพิวเตอร์ด้วย เพื่อสุขภาพตาของคุณ  ขยายพื้นที่ในการทางาน ในระหว่างที่มีการกวาดสายตาเพื่อทาการอ่านข้อความบนจอเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ก็เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิด อาการเมื่อยล้าตา และปวดตาได้ง่าย ถ้าหากว่าระยะห่างระหว่างตากับจอภาพไม่สัมพันธ์กัน เช่น ในขณะ พิมพ์ตัวอักษรให้ปรากฏบนจอภาพ ตาแหน่งของจอภาพควรห่างจากนัยน์ตาก็ควรจะห่างกันประมาณ 18-24 นิ้ว และระดับของสายตาในการมองควรจะทามุม 15 องศากับแนวนอน นัยน์ตาแห้งไร้ความชุ่มชื้น นัยน์ตาที่แห้งพบบ่อยกับผู้ที่ทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นเหตุจากการขาดน้าหล่อเลี้ยงดวงตา ดังนั้นดวงตาก็อาจจะเสียและเกิดอาการเมื่อยล้าและปวดได้ง่าย ในภาวะที่นัยน์ตาแห้งและเมื่อยล้า กล้ามเนื้อตาจะเป็นภาระที่หนักมากสาหรับผู้ทีใส่คอนแทคเลนส์  การเพ่งมอง ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักจะมีการกะพริบตาน้อยครั้งในขณะใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ จึงเป็นเหตุ ให้น้าตาหรือน้าหล่อเลี้ยงดวงตาอยู่เสมอ  ขาดความชุ่มชื้นในบรรยากาศ หลาย ๆ ออฟฟิศที่สร้างขึ้นนั้นมีบรรยากาศที่แห้งเนื่องจากการเปิดแอร์คอนดิชั่น และความร้อนจากเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ก่อให้เกิดความแห้งในบรรยากาศ ซึ่งทั้งสองสาเหตุนี้เป็นการทาให้น้าหล่อเลี้ยงดวงตาระเหย ไปอย่างง่ายดาย  ยาชนิดต่าง ๆ มียาชนิดต่าง ๆ มากมาย เช่น ไดยูเร็ตทิค (diuretics) และแอนตี้ฮิสตามิน (antihistamines) ที่มีผลทาให้ นัยน์ตาลดการผลิตน้าหล่อเลี้ยงดวงตา ซึ่งอาจจะต้องพบแพทย์หรือเภสัชกรเพื่อขอยารักษาอาการดวงตา แห้ง ขนาดน้าหล่อเลี้ยงดวงตา  อายุที่มากขึ้น อายุมีความสัมพันธ์กับการผลิตของน้าตา ซึ่งหากอายุมากขึ้นการผลิตน้าตาก็ทาได้น้อยลง ปัญหาการผลิต น้าตาน้อยลงนี้พบได้บ่อยกับผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 40 ปี
  • 19. วิธีการแก้ปัญหาของดวงตาแห้ง วิธีการที่จะบาบัดได้ที่รวดเร็วสาหรับอาการตาแห้งก็คือการใช้ยาหยอด ตา โดยประกอบด้วยเมทธิลเซลลูโลส (Methyl cellulose) หรือโพลีไวนิลอัลกอฮอล์ (polyvinyl alcohol) ยาหยอด ตาจะช่วยยับยั้งการครั่งของเลือดบริเวณตา หรือการบีบรัดที่เป็นต้นเหตุในการเกิดอาการตาแห้งไร้ความชุ่มชื่น ไม่ว่า คุณจะใช้ยาหยอดตาหรือการกะพริบตาบ่อย ๆ ทุก 5 วินาที ก็สามารถช่วยให้ดวงตามีน้าหล่อเลี้ยงดวงตาอยู่เสมอ ตัวบ่งบอกเกี่ยวกับสายตา เกิดอะไรขึ้นเมื่อคุณมองดูหน้าจอคอมพิวเตอร์ของคุณเองไม่ชัด หรือบางครั้งอาจมองเห็นภาพซ้อน และ ในขณะที่ทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์มักจะเกิดอาการปวดคอ ซึ่งอาการเหล่านี้ไม่เป็นเพียงกับคุณคนเดียว เท่านั้น แต่ยังมีผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์อีกนับล้าน ๆ คนที่ต้องทนทรมานกับอาการเมื่อยล้ากล้ามเนื้อตา อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ดังเหตุทั้งสองที่จะกล่าว  การทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องใช้สายตา และข้อบกพร่องของสายตาที่เกิดขึ้นอยู่ก่อน แล้ว ที่เป็นต้นเหตุให้เมื่อยล้าตาได้ แต่ถ้าหากคุณไม่รู้สึกตัวว่าเกิดข้อบกพร่องกับตาของคุณแล้วจะ ทาให้ยากแก่การมองเห็นจอภาพได้wbr>wbr>wกรณีที่เกิดข้อบกพร่องกับตาแล้ว  สายตาที่มีปัญหา ซึ่งมีวิธีการแก้ปัญหาที่เกิดกับสายตาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งการทางานด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องทาการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสายตาเพื่อให้สามารถมองจอภาพได้ดี เนื่องจากสายตาของคนเรานั้นมักจะเสื่อมไปตามอายุ ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ล้วนแต่ต้องการมี สุขภาพตาที่ดี และวิธีการในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสายตา แว่นตาหรือคอนแทคเลนส์ช่วยให้การมองดีขึ้น และสะดวกสบายสาหรับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์นับล้าน ๆ คน คุณต้องการแว่นตาหรือไม่ ปัญหาของการมองที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขมีอยู่อย่างมากมาย ซึ่งพบว่ามีอยู่ไม่น้อยเลยในวัยทางานที่ยังคง ปล่อยปะละเลยในการแก้ไขปัญหาของสายตามที่มีปัญหา  ความต้องการในขณะทางาน นัยน์ตาที่มีการใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่เป็นประจามักต้องการสภาพแวดล้อมในการใช้สายตา ซึ่งแต่ ละคนก็มีความต้องการแตกต่างกันไป และสุขภาพตาที่ดีพออาจช่วยแก้ปัญหาของนัยน์ตาได้ โดยสามารถ รับมือกับปัญหาที่ทรมานนัยน์ตาได้แต่ก็คงไม่มากนัก ปัญหาที่มักเกิดกับนัยน์ตา แว่นตาและคอนแทคเลนส์ได้ออกแบบมาสาหรับแก้ปัญหาที่แตกต่างกันไปตามสภาพของนัยน์ตา  Myopia ภาวะสายตาสั้นเป็นภาวะที่ไม่สามารถมองเห็นวัตถุในระยะที่ตั้งไว้ไกลเกินจากโฟกัสของสายตา โดยที่จุด โฟกัสของภาพที่มองตกก่อนที่จะถึงจอรับภาพของนัยน์ตา คนที่สายตาสั้นบางคนเท่านั้นที่อาจจะไม่ต้อง อาศัยแว่นตาและทางานอยู่กับคอมพิวเตอร์ได้อย่างสบาย แต่เมื่อเกิดภาวะสายตาสั้นมากขึ้น ก็จะปรากฎ ท่าทางที่บ่งบอกว่านัยน์ตานั้นเริ่มแย่แล้ว โดยจะนั่งใกล้ติดกับจอคอมพิวเตอร์มากเกินไป และอาจจะเกิดผล อย่างอื่นตามมาอีก  Hyperopia ภาวะสายตายาวนี้จะมองเห็นได้ดีในระยะไกลโดยไม่ต้องอาศัยแว่นตา แต่จะมีผลกับการทางานบ้าง ซึ่ง โฟกัสที่ได้จากวัตถุในระยะไกลจะมองเห็นได้ดี แต่ถ้าเป็นการมองวัตถุที่อยู่ใกล้ ๆ นัยน์ตาจะต้องพยายามจับ โฟกัสของวัตถุนั้น ฉะนั้นเมื่อต้องดูคาที่เขียนบนจอภาพก็จาเป็นต้องใช้สายตามองในระยะที่พอประมาณ คน ที่สายตายาวจึงต้องพยายามใช้สายตาในการมองในระยะที่ใกล้จึงทาให้เกิดอาการเมื่อยกล้ามเนื้อตาหรือ
  • 20. Astigmatism ภาวะตาพร่านี้จะเกิดจากการผิดปกติของเลนส์ตาที่มีส่วนโค้งผิดปกติ ซึ่งเมื่อมองแล้วจะทาให้เกิดอาการ เบลอไม่เกี่ยวกับระยะของวัตถุ โดยทั่ว ๆ ไปแล้วปัญหาของภาวะสายตาสั้น หรือสายตายาว และภาวะตา พร่านั้นเมื่อถูกสะสมไว้ก็จะก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา  Presbyopia ภาวะนี้เป็นการสูญเสียความสามารถของโฟกัสไปตามธรรมชาติ ซึ่งเกิดจากการเสื่อมไปตามอายุของคนเรา โดยจุดโฟกัสของภาพที่มองเห็นตกเลยจอรับภาพ (เรตินา) และได้ภาพที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งภาวะนี้อาจจะทาให้ เกิดอาการปวดคอเมื่อทางานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ การแก้ปัญหาเหล่านี้ก็คงจะต้องอาศัยแว่นตา เพื่อให้ ได้ระยะห่างที่เหมาะสมระหว่างสายตากับจอเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ โดยทั่ว ๆ ไปผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จ้องมองแต่หน้าจอเป็นระยะเวลานาน ๆ ก็มักจะทาให้เกิดอาการ เมื่อยล้าเกร็งกล้ามเนื้อตา เพื่อให้ได้โฟกัสและทิศทางของสายตาที่จ้องมอง ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์มักจะกวาดสายตาในทิศทางที่ซ้า ๆ ในขณะทางาน จึงก่อให้เกิดอาการเมื่อยล้า กล้ามเนื้อตาได้ง่าย แสงสว่างที่จ้ามากสาหรับนัยน์ตาและระยะของวัตถุ รวมทั้งการจับโฟกัสของสายตา ในภาวะสายตาสั้น นัยน์ตาก็จะต้องทางานหนักมากขึ้นเพื่อมองภาพในระยะที่ไกล ส่วนใหญ่แล้วจอคอมพิวเตอร์ที่ไม่สว่างมาก จะช่วยลดความรุนแรงที่เกิดกับนัยน์ตาได้ ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์มักจะทางานอยู่ในบรรยากาศที่แห้ง ๆ ซึ่งควรจะมีการกะพริบตาบ่อย ๆ เพื่อที่จะลด ภาวะที่เป็นอันตรายกับนัยน์ตา อาการเตือนเมื่อต้องการแว่นตา องค์การที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับนัยน์ตา The American Optometric Association (AOA) ได้กล่าวว่าอาการที่ เกิดจากความเมื่อยนัยน์ตาของคุณอาจจะเป็นดังนี้ o อาการปวดศีรษะบ่อย ๆ o อาการเบลอหรือเมื่อยล้านัยน์ตา o การมองเห็นที่มัวพร่า o ความถี่ในการเกิดอุบัติเหตุ o ทาการจอดรถได้ยาก o อ่านหนังสือพิมพ์หรือตัวอักษรเล็ก ๆ ได้ยาก o เล่นกีฬาแย่ลง o ลดความสนใจในการทางาน การทดสอบสายตา องค์การ AOA ได้แนะนาให้มีการตรวจสอบหรือทดสอบนัยน์ตาก่อนที่จะเริ่มทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ และติดตามผลการทดสอบทุก ๆ ปี จากตัวเลขที่เพิ่มขึ้นที่ผู้เชี่ยวชาญด้านดูแลสุขภาพตาพบว่าองค์ประกอบที่มีส่วนเกี่ยวข้องเป็นพิเศษกับ สุขภาพนัยน์ แต่ก็ไม่ใช่ว่าองค์ประกอบอื่น ๆ จะไม่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้เชี่ยวชาญที่ดูแลสุขภาพตาก็เริ่มมีการ ต่อต้านเกี่ยวกับการทางานที่ใกล้เกินไปกับจอคอมพิวเตอร์ และการทางานที่ทาให้ต้องใส่แว่นตา แว่นตาและคอนแทคเลนส์ แว่นตาและคอนแทคเลนส์อาจจะก่อให้เกิดปัญหาเฉพาะอย่างในขณะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ อาทิเช่น แว่นตาที่มีทั้งเลนส์มองระยะใกล้และระยะไกล (bifocal), trifocal และคอนแทคเลนส์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ไม่ได้ถูก ออกแบบมาโดยตรงสาหรับใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ ในขณะที่มีการใส่คอนแทคเลนส์ก็อาจจะมีอาการ เหมือนกับการมองไม่สัมพันธ์กัน วิธีการแก้ปัญหาก็อาจจะทาได้โดยเลือกแว่นตาหรือคอนแทคเลนส์ให้ เหมาะกับสภาพสายตาและสภาวะแวดล้อมใน  Computer glasses
  • 21. แว่นตาสาหรับงานคอมพิวเตอร์ โดยปกติแล้วจะออกแบบเน้นในเรื่องระยะทางจุดโฟกัสและมุมมองเพื่อให้ คุณมองเห็นหน้าจอได้ง่าย แว่นตาที่มีราคาค่อนข้างแพงก็อาจจะช่วยลดการระคายเคืองของนัยน์ตาที่ เมื่อยล้าได้ ประมาณ 40% ของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่เห็นปัญหาของนัยน์ตาที่เกิดจากการทางานด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์ และยอมรับว่าการใส่แว่นตามีส่วนช่วยในขณะทางานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์  Bifocals แว่นตาสาหรับคนที่สายตาเริ่มเสื่อมไปตามธรรมชาติ (prebyopia) เป็นแว่นตาที่ประกอบด้วยเลนส์สองเลนส์ คือเลนส์ที่มองในระยะปกติที่เหมาะสมกับสายตา และอีกเลนส์ที่เป็นเลนส์ล่างของแว่นตา สาหรับมอง ระยะใกล้ ๆ มีโฟกัสอยู่ที่ 16 นิ้ว หรือ 40 เซนติเมตรที่อยู่ระดับล่างของแว่นตา ที่ช่วยให้มองดีขึ้น อย่างเช่น การอ่านหนังสือบนโต๊ะหรือหนังสือที่อยู่ในมือ แต่ก็ยังช่วยอะไรไม่ได้ในการเปลี่ยนโฟกัสในการมองหรือการ หันไปมองสิ่งต่าง ๆ แล้วหันกับมามองที่จอภาพจะทาให้เกิดอาการตาลาย ซึ่งเป็นผลทาให้เกิดการปวดคอ และหลัง การทดสอบแว่นตา bifocal ซึ่งเป็นเลนส์ที่สามารถช่วยในการมองหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้ เลนส์ล่างในการมองระยะการทางานที่ใกล้ ๆ การแก้ปัญหาเหล่านี้อาจจะใช้แว่นตาสาหรับงานคอมพิวเตอร์ ช่วยก็ได้  Trifocal เป็นเลนส์แว่นตาที่เลนส์ตรงกลางมีโฟกัสเหมาะสาหรับระยะการทางานกับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากเลนส์ตรง กลางเหล่านี้เป็นเลนส์ที่ผู้ใช้เลือกและต้องการเป็นพิเศษในการสวมใส่ อย่างไรก็ตามผู้ที่ใส่แบบ trifocal ก็ อาจจะมีความรู้สึกเกิดอาการตาลายได้บ่อย ๆ เนื่องจากมีเลนส์ที่บรรจุอยู่สามเลนส์และตาต้องคอยปรับ โฟกัสอยู่เสมอ ซึ่งแว่นตาสาหรับงานคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะหรือแบบพิเศษ bifocal ก็อาจจะช่วยให้อาการ เมื่อยกล้ามเนื้อตาหรือปวดตาลดน้อยลง  Progressive addition lenses เป็นเลนส์ที่มีเลนส์พิเศษต่าง ๆ รวมอยู่ด้วยกันบนเลนส์หนึ่ง ๆ ซึ่งเกิดจากความก้าวหน้าของการพัฒนาเลนส์ ให้เลนส์มีระยะโฟกัสที่ไล่ระดับกันไปบนเลนส์แว่นตาอันเดียวกัน ซึ่งจะเริ่มจากเลนส์บนเป็นเลนส์ที่ช่วยให้ เราสามารถมองวัตถุได้ในระยะไกล และเลนส์ล่างจะเป็นเลนส์ที่ช่วยในการมองวัตถุในระยะใกล้ ๆ โดยการ กวาดตามองลงผ่านเลนส์แว่นตาแบบนี้จะช่วยเปลี่ยนระยะโฟกัสไปตามเลนส์ที่บรรจุอยู่อย่างสม่าเสมอ ดังนั้นคุณสามารถที่จะมองได้ปกติเมื่อมีการเปลี่ยนระยะการมองเพื่อให้เห็นได้ใกล้หรือชัดขึ้น ผู้ใส่แว่นแบบ นี้หลาย ๆ คนที่สามารถมองการพิมพ์ตัวอักษรบนจอได้เป็นระยะเวลานาน ๆ อย่างไรก็ตามยังมีแบบใหม่ ๆ ที่ ออกแบบมาสาหรับการทางานในระยะใกล้ได้ดีเช่นกัน  Contact lense ปกติคอนแทคเลนส์จะถูกออกแบบให้มีโฟกัสอยู่ที่ 20 ฟุต และอาจยังไม่ดีพอสาหรับการทางานกับ จอคอมพิวเตอร์ในระยะใกล้ที่มีความสว่างของจอภาพน้อย ซึ่งในขณะที่ใส่คอนแทคเลนส์ทางานกับเครื่อง คอมพิวเตอร์จะมีความรู้สึกเร็วมากกับอาการนัยน์ตาแห้ง และทาให้เกิดการระคายเคืองนัยน์ตาได้ จึงขอ แนะนาว่าในบางครั้งควรจะสวมแว่นตาสาหรับทางานกับคอมพิวเตอร์เข้าไปอีกชั้นหนึ่ง เช่นเดียวกับคอน แทคเลนส์ชนิด bifocal (เป็นเลนส์ที่มีเลนส์สองเลนส์ใกล้และไกล) ที่สามารถช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ ส่งท้าย อาการปวดตาและเมื่อยล้าของนัยน์ตาก็คงจะเคยเกิดกับผู้ที่ทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์บ้างแล้ว ซึ่งเกิด จากการจ้องมอง เพ่งมองตัวอักษรที่พิมพ์ออกทางจอภาพ หรือสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมกับการทางาน กับเครื่องคอมพิวเตอร์ล้วนแล้วแต่ส่งผลเสียหายให้กับดวงตาของเรา ฉะนั้นนัยน์ตาของคนเรานับว่ามีค่ายิ่ง ควรแก่การทนุถนอมไว้ โดยการหลีกเลี่ยงต้นเหตุ และป้องกันโดยการหยุดพักสายตาและกะพริบตาบ่อย ๆ ในระหว่างทางานอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือวิธีการอื่น ๆ เช่น การใส่แว่นตา หรือคอนแทคเลนส์ที่ เหมาะสมกับสายตา เพื่อช่วยให้ดวงตาอยู่กับเราตราบนานเท่านาน ที่มา : กัลยา เบญจพร วารสารไมโครคอมพิวเตอร์ ยูสเซอร์ ฉบับที่ 11 (ตุลาคม 2537)
  • 22. ปวดหลังปวดเอว พญ.ลลิตา ธีระสิริ ใครที่ปวดหลัง หากไปตรวจแล้วไม่พบว่าเป็นเรื่องใหญ่ ไม่ใช่ความผิดปกติของกระดูกสันหลัง หรือหมอน รองกระดูกสันหลังที่ร้ายแรง ไม่ใช่โรคไต ก็สามารถบรรเทาอาการด้วยตนเอง ดังนี้ 1. เช็กที่นอนและเก้าอี้ เช็กที่นอนก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งใครก็ตามที่มีอาการปวดหลังเวลาตื่นนอน ที่นอนที่ถูก สุขลักษณะจะต้องแข็งแบบกดไม่ลง แต่ควรจะมีความหยุ่นตัวเล็กน้อยไม่ใช่แข็งโป๊กแบบพื้น กระดาน เวลานอนลงไปจะได้ไม่เจ็บ... เก้าอี้ที่เหมาะสมกับการนั่งทางานนาน ๆ ได้แก่เก้าอี้ของพนักงานพิมพ์ดีด ที่มีพนักหลังพยุงส่วน หลังเอาไว้พอดี ปล่อยให้หลังส่วนบนเคลื่อนที่ได้เป็นอิสระ ความสูงของเก้าอี้ก็สาคัญ เวลาคุณนั่ง ลงไปเท้าจะต้องเหยียบพื้นได้ และทาให้เข่างอเป็นมุม 90 องศาพอดี คุณจึงจะอยู่ในท่าผ่อนคลาย ไม่เกร็ง และถ้ามีที่เท้าแขนเพื่อรับน้าหนักของแขนได้ยิ่งดีใหญ่ 2. ปรับท่าในการทางาน ไม่ควรก้ม ๆ เงย ๆ ในการทางาน คุณควรจะทางานในท่าที่หลังตรงอยู่ตลอดเวลา และไม่ควรใช้ หลังยกของ เช่น ท่าก้มลงยกของหนัก หากเมื่อใดที่ต้องการยกของขึ้นจากพื้น ให้ย่อตัวลงนั่งแล้ว ยกของขึ้น ท่านี้เป็นการใช้กล้ามเนื้อขาซึ่งมีขนาดมัดใหญ่กว่ายกของขึ้นแทนการใช้กล้ามเนื้อหลัง 3. บริหารหลัง การยืดกล้ามเนื้อหลังเป็นประจาจะช่วยบรรเทาอาการปวด ซึ่งทาได้ง่าย ๆ คือ ให้นอนหงาย เอามือ โน้มเข่าข้างหนึ่งเข้าหาอก แล้วยกตัวขึ้น โน้มตัวเข้าหาเข่าให้จมูกชิดเข่า ให้อยู่ในท่านี้นานเท่ากับ นับ 1-5 แล้วกลับลงไปนอนเช่นเดิม ทาเช่นนี้ข้างละ 10 ครั้ง และให้ทาวันละ 2 รอบ คือเช้าครั้ง หนึ่ง และเย็นครั้งหนึ่ง 4. การประคบกล้ามเนื้อหลัง การประคบหลังจะช่วยทาให้หายอาการปวดหลังได้อย่างรวดเร็ว เร็วกว่าการใช้ยาเสียอีก ทาได้ ดังนี้คือ ให้นอนคว่าลง เอาผ้าขนหนูผืนใหญ่ชุบน้าอุ่นจัด ๆ วางลงไปบนเอวนาน 3 นาที จากนั้น เปลี่ยนใช้ผ้าอีกผืนชุบน้าเย็นจัด ๆ เปลี่ยนวางลงไปบนเอวนาน 2 นาที สลับร้อนเย็น เช่นนี้ 3 รอบ 5. อาหารเสริมสาหรับกล้ามเนื้อ ปกติให้ใช้แคลเซียมที่อยู่ร่วมกับแมกนีเซียม ซึ่งเรียกว่า โดโลไมท์ ในอัตราส่วน แคลเซียม : แมกนีเซียม 2 : 1 วันละ 800 : 400 มก. ลองนาเคล็ดลับนี้ไปใช้กันดูนะคะเพื่อสุขภาพหลังที่ดี...