SlideShare a Scribd company logo
1 of 83
Download to read offline
แนวทางเวชปฏิบัติ
การดูแลรักษาผู้ป่วยปวดจากมะเร็ง
พญ.ฉันทนา หมอกเจริญพงศ์
กลุ่มงานเวชศาสตร์ประคับประคอง
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ความปวด ***** PAIN
An unpleasant sensory and emotional
experience associated with actual or potential
tissue damage, or described in terms of such
damage
ประสบการณ์ที่ไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ที่เกิดจากการ
บาดเจ็บของเนื้อเยื่อหรือศักยภาพที่จะทาให้มีการบาดเจ็บของ
เนื้อเยื่อ หรือประหนึ่งว่ามีการบาดเจ็บ
FACTS ABOUT CANCER PAIN
Frequency of occurrence varies with ;
• stage of the disease
• primary site of the tumor
Moderate or severe pain occurs in 30 - 40%
of the patients at the time of diagnosis and
60 - 100% with advanced cancer
Most cancer patients have more than
one pain
ความปวดที่พบในผู้ป่วยมะเร็ง
เกิดจากหลายสาเหตุ
CAUSES OF PAIN
1. Due to tumor involvement 78%
• bone, nerve, soft tissue, viscera
2. Associated with treatment 19%
• diagnosis and staging procedures
• surgery
• chemotherapy; mucositis, phlebitis,
tissue necrosis, myalgia, arthralagia
• radiotherapy; mucositis, neuropathy,
myelopathy
CAUSES OF PAIN
3. Due to general illness but not cancer (10%)
• constipation
• pressure
• gastric distention
• reflux esophagitis
• bladder spasm (with catheterization)
• musculoskeletal pain
• thrombosis and embolism
• mucositis
• post herpetic neuralgia
4. Unrelated to cancer or its treatment(10%)
ความปวดจากมะเร็งมีผลเสียทางด้านความเป็นอยู่ จิตใจ
อารมณ์ สังคม ของผู้ป่วยและผู้ใกล้ชิด
ASSESSMENT: REVIEW OF THE SYSTEMS
1. Systemic/constitutional
• anorexia เบื่ออาหาร
• weight loss น้าหนักลด
• cachectic ผอมหนังหุ้มกระดูก
• fatigue/weakness ความล้า / อ่อนแรง
• insomnia นอนไม่หลับ
2. Neurologic
• sedation ง่วงซึม
• confusion มึนงง สับสน
• hallucination ประสาทหลอน
• headache ปวดศีรษะ
• motor weakness กล้ามเนื้ออ่อนแรง
• altered sensation การรับความรู้สึกเปลี่ยนแปลง
• incontinence กลั้นไม่อยู่
ASSESSMENT: REVIEW OF THE SYSTEMS
3. Respiratory
• dyspnea, cough, hiccough
4. Gastrointestinal
• dysphagia - dehydration
• nausea/vomiting - constipation/diarrhea
5. Psychological
• irritability - depression
• anxiety - dementia
6. Integument
• decubitus
• dry, sore mouth
Physical
well-being
Psychological
well-being
Social
well-being
Spiritual
well-being
Quality of life for
cancer patients in pain
Pain
Total suffering
Psychological
problems
Physical
symptoms
Spiritual
concerns
Cultural factors
Social
difficulties
GETTING TO KNOW CANCER PAIN
• Acute pain – Chronic pain
• Nociceptive – Neuropathic
• Somatic – Visceral
• Basal – Breakthrough – Incidental pain
• Biopsychosocial impact
 Nociceptive pain
 Inflammatory
pain
 Neuropathic pain
 Visceral pain
 Bone pain
 Existing suffering
Cancer pain
KEY TO
SUCCESSFUL PAIN MANAGEMENT
• Comprehensive pain assessment and diagnosis
• Formulate treatment plan
• View the treatment as a dynamic process
• Explanation
• Rx of the underlying cause
• Elevation of the pain threshold
• Interruption/destruction/stimulation of the pain
pathways
• Change of life style
KEY TO
SUCCESSFUL PAIN MANAGEMENT
• WHO guidelines are the
mainstay
• But !!! Not the only solution
• Talk to the patient and care-
givers will
• Reinforce patient autonomy
• Increase pain tolerance
• Improve coping skills
• Allay misconceptions
HOW TO ACHIEVE MAXIMUM BENEFIT
FROM ANALGESIC LADDER
• Choose the drug according to severity of pain
• Only one drug in a class
• Combine one drug from each of different classes
• Multimodal analgesia – polypharmacy
• Use coanalgesics or adjuvants
HOW TO ACHIEVE MAXIMUM BENEFIT
FROM OPIOIDS
• For opioid naive patient with moderate pain
• Codeine 90-120 mg/day
• Tramadol 150-200 mg/day
• Morphine 15-20 mg/day
• Oxycodone 10 mg/day
• Titration for patient with severe pain
• Morphine immediate release (MIR)
• Morphine sustained release (MST)
• Big dose tramadol?
• Fentanyl TTS
HOW TO ACHIEVE MAXIMUM BENEFIT
FROM OPIOIDS
• Start with any appropriate route of administration
• Oral MIR 10 mg q 6 h (60 mg/day)
• IV bolus titration
• IV PCA
• Rescue dose 16% of total daily dose
• Increase dose by 33-50% or rescue dose + in
suitable interval
• Switch to oral dose of MST or Fentanyl TTS
BREAKTHROUGH PAIN, INCIDENTAL
PAIN AND RESCUE ANALGESIC
• Incidence 19-95%
• Medications:
• MIR: MSS, tablet
• Tramadol
• Dose 10-15% of total daily dose
• Mismatch between breakthrough pain profile and opioid
pharmacokinetics:
• Methadone
• Various routes of administration; IV, nasal, sublingual,
effervescent morphine, oral transmucosal fentanyl
HOW TO ACHIEVE MAXIMUM BENEFIT
FROM OPIOIDS
• Aware of the inter- and intra-individual response to
opioids
• Problematic start!!!!
• Sedation
• Nausea
• Patients with excruciating pain
• Fast titration
• Test dose IV morphine
• Re-evaluate the pain syndrome
HOW TO ACHIEVE MAXIMUM BENEFIT
FROM OPIOIDS
• Patients with poor respond;
• Wider opening therapeutic
window by aggressive side
effects treatment
• Opioid rotation
• Coanalgesics or adjuvants
• Non-pharmacological
approaches
การประเมินความปวด
PAIN ASSESSMENT
• Location of all the pain
• How the pain feels
• Intensity of the pain
• When, frequency, duration
• What ease the pain, what worsen
the pain
• Medications taking
• Side effects of pain medications
• Quality of life issues
•Pain diary!
PAIN ASSESSMENT
• Chronicity: Acute vs Chronic pain
• Pain intensity
• Pathophysiology:
somatic vs. visceral
nociceptive vs. neuropathic
• Course of the disease: continuous,
breakthrough, incident pain.
• Pain syndrome: brain metastasis,
bone pain
CHRONICITY
Acute pain Chronic
pain
Onset well-defined ill-defined
Cause acute injury or
illness
chronic
progress
Duration days/weeks
predictable
months/years
unpredictable
Physiologic
al
sympathetic over
activity
no sympathetic
over activity
Acute pain Chronic
pain
Affective anxiety depression
Cognitive meaningful meaningless
Behavioral inactivity until
recovery
changes in life
style
changes in
functional
ability
withdrawn
Treatment cause
temporary
analgesics
supportive
regular
analgesics
CATEGORAL SCALES
• Verbal rating scale (VRS)
(verbal descriptor scale)
• 2 – 7 words
None Mild Moderate Severe
• Pain relief
None Slight Moderate Good Complete
Numerical rating scale (NRS)
No pain 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 Worse pain
imaginable
Visual analog scale (VAS)
No pain ____________________ Worse pain
imaginable
HAPPY/SAD FACES
.
PAIN ASSESSMENT
• Chronicity: Acute vs Chronic pain
• Pain intensity
• Pathophysiology:
somatic vs. visceral
nociceptive vs. neuropathic
• Course of the disease: continuous,
breakthrough, incident pain.
• Pain syndrome: brain metastasis,
bone pain
• รูปตุ๊กตา pain
• ไฟล์ pdf cheop scales
PATHOPHYSIOLOGY
• Nociceptive ( somatic and visceral )
• constant and well localized
• aching, throbbing, gnawing
• vague in distribution and quality, deep, dull, aching,
dragging, squeezing, pressure-like
• Neuropathic
• may be constant, steady, and spontaneously
maintained, intermittent, shock-like, shooting,
lancinating, electrical, burning, tingling, numbing,
pressing, squeezing, and itching
• dysesthesia, hyperalgesia, allodynia, hyperesthesia,
hyperpathia
NEUROPATHIC PAIN
• Hardest mechanism to treat
• Diagnose straightforward: nerve or
dermatome distribution, no local tenderness
but referred
• Two types
• Mixed: nociceptive/neuropathic due to tumor
invasion or compression of nerve pathway;
brachial, lumbosacral plexus, chest wall invasion,
spinal cord compression
• Pure (Deafferentation): no nociceptive element;
PHN, post-thoracotomy syndrome, phantom pain
BONE PAIN
• Most common cause of pain in advanced
cancer
• Most common malignancies metastasize to
bone: breast, prostate, lung, kidney, thyroid
• Common problems: chronic bone pain, pathologic
fracture, hypercalcemia
• Treatment includes: NSAIDs, opioids, radiotherapy,
Strontium-89, bisphosphonate, corticosteroids, calcitonin.
• Early Orthopedic consultation and treatment is
important
PATTERN OF
PAIN
Constant pain
Breakthrough and
incident pain
Intermittent pain
หลักการระงับปวดในผู้ป่วยมะเร็ง
PRINCIPLE OF ANALGESIC USE
• Define the nature of pain
• Maximize the current regimen
• Understand the drug Pharmacology
• Speed of onset and duration of action
• Management of side effects
• Beware of the drug interactions
• Emphasize patient education
CANCER PAIN
MANAGEMENT
• Pharmacologic
treatment
• Non-
Pharmacologic
treatment
WHO ANALGESIC LADDER (1992--)
Non-opioid
+ Adjuvants
Opioid for
mild to moderate pain
+ Non-opioid + Adjuvants
Opioid for
Moderate to severe pain
+ Non-opioid + Adjuvants
Pain
Pain persist
Pain persist
Freedom from
cancer pain
MORPHINE
เป็นยาแก้ปวดรุนแรงที่ดีที่สุดในปัจจุบัน
ใช้กินได้สะดวก
บริหารได้หลายวิธี
ESSENTIAL CONCEPTS IN THE WHO
APPROACH TO DRUG THERAPY
•By the mouth
•By the clock
•By the ladder
•For the
individual
•With attention
to detail
PRINCIPLES OF ANALGESIC USED
• Administer on strict schedule to
prevent pain, not PRN
• Give instructions for treatment of
breakthrough pain
• Following analgesic ladder
• Review & assess
GENERAL
RECOMMENDATIONS
• Oral medications should be used as
the first line approach.
• Any proposed systemic regimen must
be individualized.
• There is no predetermined maximum
dose of an opioid.
• Dose titration may be required
periodically.
ADVERSE DRUG EFFECTS FROM OPIOID
THERAPY
• Tolerance
• Physical dependence
• Addiction
• Constipation
• Sedation
• Nausea-vomiting
• Mental clouding
• Myoclonus, pruritus, urinary retention
• respiratory depression
NAUSEA
• Moderate to severe 8.3 – 18.3%
• Direct effect of opioids on CTZ
• Decrease quality of life, limit food
intake
• Other underlying conditions; electrolyte
imbalance, dehydration, brain metastasis,
intestinal obstruction, ileus, chemotherapy,
tumor of the GI, constipation, infection,
blood poisoning, kidney problems, anxiety,
etc.
NAUSEA
• Usually subside within few days
• Treatment;
• Metoclopramide ( block in GI tract and CTZ)
• Butyrophenones (haloperidol, droperidol) (at
CTZ)
• Phenothiazine (CTZ, GI, vestibular)
• Antihistamine (dramamine,hydroxyzine) (H1
blockade and VC)
• Hyoscine, scopolamine (VC and GI)
• Ondansetron (5HT3 in GI and CTZ)
• Benzodiazepine (lorazepam) GABA agonist
CONSTIPATION
• The most troublesome, almost everyone is involved,
will not develop tolerance
TREATMENT OF CONSTIPATION
• Stimulant laxatives
• Senokot 1 tab hs – 4 tab tid orally
• Dulcolax 1 tab hs – 3 tab tid orally
• Bulk-forming laxatives
• Metamucil 1 tsp in 8 oz water OD – tid
• Bran
• Saline or osmotic cathartics
• MOM 15 – 40 ml OD – bid
• Magnesium citrate solution 240 ml OD
CNS EFFECTS
• Aggravating factors;
• High doses opioid
• Psychoactive drugs
• Renal failure
• Slow down of cognitive function, sedation,
hallucination and delirium, fluctuation of
consciousness, change in sleep-wake cycle,
agitation, myoclonus.
• Improve spontaneously
CNS EFFECTS
• Role of M-3-G
• Management;
• Opioid rotation
• Dose reduction
• Circadian modulation
• Hydration
• Psychostimulants
• Other drugs; haloperidol, midazolam, baclofen,
clonazepam,clonidine
ADJUVANTS
• Antidepressants : tricyclic antidepressant
(amitriptyline), SSRI (Fluoxitine)
• Anticonvulsants : Carbamazepine (tegretol),
Hydantion (dilantin), Gabapentin
(Neurontin)
• Sedatives, hypnotics, tranquilizers
• Steriod
• Muscle relaxants
ADJUVANTS
DRUGS
- Anticonvulsants
- Antidepressants
- Local anesthetics
- Corticosteroids
- Antihistaminics
- Muscle relaxants
- Psychostimulants
- Drug action on bone
INDICATIONS
- neuropathic pain
- neuropathic pain
- neuropathic pain
- multiple
- coanalgesic, antiemetic
- muscle spasm
- opioid sedation
- bone pain
ANTIDEPRESSANTS
• Used in neuropathic pain ; several studies in
Diabetic neuropathy, Post-herpetic neuralgia,
phantom limb pain, migraine headache
• Reduce insomnia and anxiety
• 1-2 weeks lag time for clinical effects
• Start 10-20 mg hs
• Escalated 4-5 day intervals to doses 100- 150
mg
• Abrupt escalation not recommended
TCA USES LIMITED BY SIDE EFFECTS
•Anticholinergic : dry mouth, visual
changes, constipation, tachycardia, urinary
retention, reduced gastric motility, worsen
narrow angle glaucoma
•Antihistamine : sedation
•Alpha adrenergic blockade :
orthoststic hypotension
•Sodium channel blockade :
prolonged QT and QRS
สรุปแนวทางการระงับปวดผู้ป่วยโรคมะเร็ง
•มะเร็งเป็นโรคที่มีผลร้ายต่อชีวิต มะเร็งระยะท้ายทาให้
ผู้ป่วยจานวนมากมีความปวด
•ความปวดที่พบในผู้ป่วยมะเร็งมีหลายสาเหตุ รักษาตาม
ความเหมาะสมของแต่ละสาเหตุ
•การประเมินความปวดมีทั้งทางกายและทางใจ
•ปริมาณความปวดดูได้จาก VAS ฯ
สรุปแนวทางการระงับปวดผู้ป่วยโรคมะเร็ง
•การระงับปวดใช้ยาเป็นหลัก
•ให้ยาระงับปวดตามความรุนแรง ตามเวลาอย่างต่อเนื่อง
เสริมเมื่อต้องการเพิ่ม และประเมินผลการรักษาบ่อยๆ
•ยังมีการระงับปวดโดยไม่ใช้ยาอีกหลายวิธี
•ดูแลคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย
Thank you
การดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน
•บริการที่ต้องสารวจ ประเมิน และสรุปความต้องการการ
ดูแลสุขภาพที่แท้จริงของผู้ป่วย
•เพื่อให้บริการป้องกัน แก้ไขปัญหาสุขภาพ ป้องกันการป่วย
ซ้าด้วยโรคเดิม และแก้ไขปัญหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหาสุขภาพ
•โดยกาหนดแผนการดูแลร่วมกับผู้ป่วย ครอบครัว และทีม
สุขภาพ ในขณะดาเนินการวางแผนจาหน่ายในหอผู้ป่วย
หรือเป็นแบบผู้ป่วยนอก
• การดูแลผู้ป่วยที่บ้านที่มีประสิทธิภาพจะช่วยให้ผู้ป่วย และครอบครัว
พัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองได้เร็วขึ้น
เกณฑ์ในการรับผู้ป่วยเพื่อการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
1. ผู้ป่วยที่ส่งปรึกษาจากแพทย์เจ้าของไข้หรือพยาบาล ซึ่งเป็น
ผู้ป่วยที่ต้องการดูแลยุ่งยากซับซ้อนเป็นรายกรณี และที่จาเป็น
ต้องการการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก
2. ผู้ป่วยที่ส่งปรึกษามาเพื่อต้องการใช้อุปกรณ์ หรือเครื่องมือพิเศษ
เมื่อกลับบ้าน เช่น เครื่องช่วยหายใจ เครื่องพ่นยาเป็นต้น
ขั้นตอน/กิจกรรมการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
•ก่อนการเยี่ยม
1. เตรียมความพร้อมของครอบครัวในการช่วยเหลือ ให้การดูแล หรือ
จัดการการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
2. กาหนดเป้าหมายและวางแผนการดูแลผู้ป่วยตามปัญหาที่กาหนด
ร่วมกับครอบครัวและ ทีมแพทย์ พยาบาล
3. นัดหมายการเยี่ยมบ้าน ภายใน 1 สัปดาห์ หลังการจาหน่าย
4. ประชุมปรึกษาก่อนการเยี่ยมดูแลที่บ้าน
ขั้นตอน/กิจกรรมการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
• ขณะเยี่ยม
1. ปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยที่บ้านร่วมกับครอบครัว
2. ประเมินผลการดูแลผู้ป่วยร่วมกับครอบครัว
3. นัดหมายการเยี่ยมครั้งต่อไป ตามผลการประเมินหลังการเยี่ยม
หรือตามแผนที่วางไว้
ขั้นตอน/กิจกรรมการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
•หลังการเยี่ยม
1. การบันทึก และรายงานผลการดูแลตามแผนและเป้าหมายที่วาง
ไว้
2. การวางแผนจาหน่ายและการประสานส่งต่อสถานบริการสุขภาพ
ใกล้บ้านเมื่อครอบครัวสามารถจัดการการดูแลผู้ป่วยที่บ้านได้
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลเยี่ยมบ้าน
• 1. ศึกษาข้อมูลผู้ป่วยจากแบบส่งปรึกษาต่อผู้ป่วยกับเกณฑ์การ
รับผู้ป่วย โทรศัพท์สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
จากพยาบาลประจาหอผู้ป่วย
•2. แนะนาตนเอง สร้างสัมพันธภาพ และบอกวัตถุประสงค์ใน
การดูแลผู้ป่วย แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
•3. ช่วยเหลือ เป็นที่ปรึกษาในการวางแผนดูแลผู้ป่วยในรายที่
พบปัญหา หรือรายที่มีความซับซ้อนในการดูแล
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลเยี่ยมบ้าน
•4. วางแผนและจัดการการดูแลร่วมกับครอบครัว โดยใช้กระบวนการ
พยาบาลเพื่อให้เกิดกระบวนการดูแล โดยครอบครัวในการ
ดูแลผู้ป่วยตลอด 24 ชั่วโมง จนกระทั่งจาหน่ายเมื่อครอบครัวสามารถ
จัดการการดูแลได้ด้วยตนเอง
•5. นัดหมายการเยี่ยมผู้ป่วยและครอบครัว
•6. วางแผนการจาหน่ายผู้ป่วยร่วมกับพยาบาลประจาหอผู้ป่วย และ
ครอบครัว เพื่อช่วยให้ครอบครัวสามารถ ดูแลผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่อง
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลเยี่ยมบ้าน
•7. ประสานงานทีมสุขภาพทั้งใน และนอกหน่วยงาน เพื่อให้ผู้ป่วย
ได้รับการดูแลต่อเนื่อง
•8. บันทึกการพยาบาลในแบบบันทึกตามกระบวนการพยาบาลอย่าง
ต่อเนื่องทุกขั้นตอน
•9. ปรับเปลี่ยนแผนการดูแลให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการ
การดูแลของผู้ป่วย
เอกสารที่ใช้ประกอบการปฏิบัติ
•1. แบบบันทึกการรับผู้ป่วย (HC. 01)
•2. แบบบันทึกการดูแลที่บ้าน (HC. 02)
•3. แบบส่งต่อเพื่อการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
เกณฑ์ในการเยี่ยมผู้ป่วยเพื่อการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
•1. ผู้ป่วยที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
•2. ผู้ป่วยที่ต้องพึ่งพาอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ต้องใช้ทักษะใน
การดูแล เช่น เครื่องดูดเสมหะ ออกซิเจนชนิดแทงค์ หรือเป็น
เครื่องผลิตออกซิเจน เป็นต้น
• ตาราง HC บันทึก แผ่นทึบ
เกณฑ์ในการเยี่ยมผู้ป่วยเพื่อการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
• 3. ผู้ป่วยมีความจาเป็นที่ต้องดูแลต่อเนื่องที่บ้าน มีปัญหาสุขภาพที่ซับซ้อน
ได้แก่ ผู้ป่วย Palliative cares หรือ ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายที่
ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ผู้ป่วยที่ต้องมีการจัดการเรื่องความเจ็บปวด (Pain
Management) ผู้ป่วยที่มีแผลมะเร็ง หรือแผลจากการทา
หัตถการที่ยุ่งยากซึ่งผู้ดูแลไม่มั่นใจว่าจะสามารถดูแลผู้ป่วยที่บ้านได้
• 4. ผู้ป่วยที่มีปัญหายุ่งยากซับซ้อนในการดูแลทั้งทางร่างกาย อารมณ์ สังคม จิต
วิญญาณ
เกณฑ์ในการเยี่ยมผู้ป่วยเพื่อการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
1.ในผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายที่มีคะแนน PPS v2 0%-30%
การดาเนินของโรค 3 ระดับ โดยใช้การประเมิน PPS Score ได้แก่
1.ระยะคงที่ คะแนน PPS v2 70%-100%
2.ระยะเปลี่ยนผ่าน คะแนน PPS v2 40%-60%
3.ระยะวาระสุดท้าย คะแนน PPS v2 0%-30%
PLEA OF A
PATIENT
When I come to you in pain
’This for comfort and not for gain
Should I need a narcotic
Lebel me not a drug addict
And when the pain is phenomenal
Don’t forget the non-steroidal
With the H2 blocker
or anti-ulcer
PLEA (คาขอร้อง)OF A
PATIENT
And if it’s time for the adjuvants
Do remember the antidepressants
Seek the cause of my pain
And ponder not if I feign
So when the pain fills me with dread(น่ากลัว)
Please don’t say it is in my head
When it’s time for eternity
Allow me to leave with dignity

More Related Content

What's hot

แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็กแนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็กPain clinic pnk
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain clinic pnk
 
TAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nurseTAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nursetaem
 
Teachingnurseinpainmanagement
TeachingnurseinpainmanagementTeachingnurseinpainmanagement
TeachingnurseinpainmanagementPain clinic pnk
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative careCAPD AngThong
 
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53Pain clinic pnk
 
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชUtai Sukviwatsirikul
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsCAPD AngThong
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life careการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life careKhanawut Nitikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น Utai Sukviwatsirikul
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็กแนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 
TAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nurseTAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nurse
 
Teachingnurseinpainmanagement
TeachingnurseinpainmanagementTeachingnurseinpainmanagement
Teachingnurseinpainmanagement
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
 
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
 
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
สาระปันยา 2553
สาระปันยา 2553สาระปันยา 2553
สาระปันยา 2553
 
Chronic muskeletal-2552 p2
Chronic muskeletal-2552 p2Chronic muskeletal-2552 p2
Chronic muskeletal-2552 p2
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life careการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
 
Nsaids
NsaidsNsaids
Nsaids
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
 

Similar to Cancer pain พระนั่งเกล้า2

Presedation assessment
Presedation assessmentPresedation assessment
Presedation assessmenttaem
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifeCAPD AngThong
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
Oa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้ว
Oa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้วOa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้ว
Oa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้วToey Sutisa
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Extern conference-orthopedic
Extern conference-orthopedicExtern conference-orthopedic
Extern conference-orthopedicToey Sutisa
 
Pearr osteosarcoma
Pearr osteosarcomaPearr osteosarcoma
Pearr osteosarcomaPuri Apipan
 
Orthopedic conference jekita
Orthopedic conference jekitaOrthopedic conference jekita
Orthopedic conference jekitaFonJekita
 
Presentation 2 (1)
Presentation 2 (1)Presentation 2 (1)
Presentation 2 (1)Toey Sutisa
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPCAPD AngThong
 
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อCAPD AngThong
 

Similar to Cancer pain พระนั่งเกล้า2 (18)

Presedation assessment
Presedation assessmentPresedation assessment
Presedation assessment
 
We can do palliative care
We can do palliative careWe can do palliative care
We can do palliative care
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
A man-with-back-pain
A man-with-back-painA man-with-back-pain
A man-with-back-pain
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
Oa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้ว
Oa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้วOa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้ว
Oa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้ว
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Extern conference-orthopedic
Extern conference-orthopedicExtern conference-orthopedic
Extern conference-orthopedic
 
Pearr osteosarcoma
Pearr osteosarcomaPearr osteosarcoma
Pearr osteosarcoma
 
Pearr osteosarcoma
Pearr osteosarcomaPearr osteosarcoma
Pearr osteosarcoma
 
Orthopedic conference jekita
Orthopedic conference jekitaOrthopedic conference jekita
Orthopedic conference jekita
 
Presentation 2 (1)
Presentation 2 (1)Presentation 2 (1)
Presentation 2 (1)
 
Conference
ConferenceConference
Conference
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
 
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
 

Cancer pain พระนั่งเกล้า2