SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
1 
หน่วยที่ 5 
ระบบการจัดเก็บเอกสาร 
5.1. งานเก็บเอกสาร 
ความหมายและความสำาคัญของการเก็บเอกสาร 
การเก็บเอกสาร (Filing) หมายถึง กระบวนการในการจำาแนก 
จัดเก็บเอกสารให้เป็นระเบียบเพื่อให้ค้นหาเอกสารได้ทันทีที่ต้องการใช้ 
ความสำาคัญของการเก็บเอกสาร เมื่อธุรกิจให้ความสำาคัญกับ 
เอกสารโดยถือว่าเอกสารเป็นเสมือนความจำาของธุรกิจและเอกสารใช้ 
เป็นหลักฐานสำาคัญที่ต้องเก็บไว้เพื่อการตรวจสอบหรือค้นคว้าใน 
อนาคตแล้ว ดังนี้ธุรกิจจึงต้องมีการจัดเก็บเอกสารที่ดี เพื่อรวบรวม 
เอกสารให้เป็นหมวดหมู่ เป็นระเบียบ เอกสารไม่ชำารุดเสียหาย สะดวก 
ต่อการค้นหาเมื่อต้องการใช้ และเป็นวิธีการเก็บเอกสารที่เหมาะสมกับ 
ธุรกิจ ซึ่งผู้ที่มีหน้าที่ในการเก็บเอกสารจำาเป็นต้องมีความรู้ด้านการเก็บ 
เอกสารเป็นอย่างดีด้วย ดังนั้นก่อนจะเก็บเอกสารจะต้องมีการวางแผน 
ไว้ล่วงหน้าให้พร้อมโดยคำานึงถึงสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สถานที่เก็บ 
เอกสาร อุปกรณ์สำาหรับเก็บเอกสาร ระบบการจัดเก็บเอกสาร ขั้นตอนใน 
การปฏิบัติเกี่ยวกับเอกสาร เป็นต้น 
วัตถุประสงค์ของการเก็บเอกสาร 
แหล่งเก็บเอกสารเปรียบเสมือนศูนย์ความจำาของธุรกิจและเป็นที่ 
รวบรวมหลักฐานต่าง ๆ ของธุรกิจไว้ทั้งหมด การที่ธุรกิจเก็บเอกสารต่าง 
ๆ เหล่านี้ไว้รวมกันก็เพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 
1. เพื่อรวบรวมเอกสารที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันจัดเข้าไว้ให้ 
เป็นหมวดหมู่และแหล่งเดียวกัน 
2. เพื่อความสะดวกรวดเร็วและง่ายต่อการค้นหา 
3. เพื่อให้เอกสารอยู่ในที่ที่ปลอดภัย 
4. เพื่อเก็บเอกสารไว้เป็นหลักฐานอ้างอิงในอนาคต 
องค์ประกอบในการเก็บเอกสาร 
1. เจ้าหน้าที่เก็บเอกสาร 
2. เอกสาร 
3. ระบบการจัดเก็บ 
4. อุปกรณ์ในการจัดเก็บ 
5. สถานที่ในการเก็บ 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
ระบบการเก็บเอกสาร 
2 
ระบบการเก็บเอกสารของแต่ละหน่วยงานอาจจะแตกต่างกัน ทั้งนี้ 
ขึ้นอยู่กับลักษณะงาน จำานวนเอกสารที่แตกต่างกัน และความเหมาะสม 
ดังนั้นจึงอาจสรุปได้ว่าระบบการเก็บเอกสารที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบัน 
แบ่งออกได้เป็น 8 วิธี คือ 
1. การเก็บเอกสารตามลำาดับตัวอักษร(Alphabetic Filing) 
เป็นวิธีการเก็บเอกสารที่นิยมมากที่สุด เป็นการเก็บเอกสารโดยเรียงตาม 
ตัวอักษร โดยดูจากชื่อบุคคล ชื่อบริษัทหรือห้างร้านก็ได้ ในการจัดเรียง 
ลำาดับนั้นจะคำานึงถึงตัวพยัญชนะว่า พยัญชนะใดมาก่อนหลัง ซึ่งใน 
ภาษาไทยเรียงจาก ก-ฮ และในภาษาอังกฤษเรียงจาก A-Z 
2. การเก็บเอกสารตามตัวเลข (Numeric Filing) เป็นวิธีการ 
เก็บเอกสารโดยใช้ตัวเลขแทนชื่อบุคคล ชื่อบริษัท-ห้างร้าน โดยจะใช้ 
ตัวเลขเป็นหลักในการจัดเก็บ 
3. การเก็บเอกสารตามภูมิศาสตร์ (Geographic Filing) เป็น 
วิธีการเก็บเอกสารโดยใช้ชื่อสถานที่ตั้ง ประเทศ จังหวัด อำาเภอ ตำาบล 
หมู่บ้าน เป็นหน่วยในการจัดเก็บ 
4. การเก็บเอกสารตามชื่อเรื่อง (Subject Filing) เป็นการจัด 
เก็บเอกสาร โดยใช้ชื่อเรื่องเป็นหน่วยในการจัดเก็บ โดยแยกเอกสาร 
ออกเป็นแต่ละเรื่องแล้วจึงเรียงตามลำาดับตัวอักษรอีกครั้งหนึ่ง 
5. การเก็บเอกสารตามเสียง (Soundex Filing) ใช้ในระบบ 
การเก็บเอกสารภาษาอังกฤษ โดยนำาเอาชื่อที่มีเสียงคล้ายกันมารวมกัน 
ไว้ในที่เดียวกันโดยไม่คำานึงถึงตัวสะกด 
6. กา ร เก็บเอกสา รตามสี (Color Filing) เป็นวิธีการจัดเก็บ 
เอกสารที่ใช้สีเข้าช่วยในการจัดเก็บ โดยอาศัยสีเป็นเครื่องจำาแนก 
หมวดหมู่เอกสาร 
7. การเก็บเอกสารตามปีปฏิทิน (Chronological Filing) เป็น 
วิธีการเก็บเอกสารตามวัน เดือน ปีปฏิทิน โดยอาศัยการเรียงลำาดับ 
เอกสารตามลำาดับวันที่ที่ได้รับเอกสารนั้น 
8. กา ร เก็บเอกส า รด้วยไมโครฟิล์ม (Microfilming) เป็น 
ระบบเก็บเอกสารโดยถ่ายย่อเอกสารลงบนแผ่นฟิล์ม เพื่อประหยัดเนื้อที่ 
ในการจัดเก็บ และสะดวกในการค้นหา วิธีการเก็บด้วยไมโครฟิล์มนี้ 
ถือว่าเป็นวิธีการเก็บเอกสารที่ดีที่สุด แต่เสียค่าใช้จ่ายสูงมาก 
ระบบการจัดเก็บเอกสารที่ดี ประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้ คือ 
1. ง่าย คือ ต้องเป็นระบบที่ง่ายในการปฏิบัติ 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
3 
2. ประหยัด ต้องเป็นระบบที่ประหยัดค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน 
3. เหมาะสม ต้องเหมาะสมกับเอกสารและลักษณะของธุรกิจ 
4. สามารถขยายระบบการจัดเก็บได้ 
5. ควบคุมและทำาลายได้ง่าย คือ ต้องเป็นระบบที่สามารถควบคุม 
เอกสารไม่ให้กระจัดกระจายและไม่สูญหาย 
6. สะดวกในการจัดเก็บและค้นหา 
5.2. การเก็บเอกสารตามลำาดับตัวอักษรภาษาอังกฤษ 
การเก็บเอกสารตามลำาดับตัวอักษรภาษาอังกฤษจะมีการจัดเรียง 
ลำาดับพยัญชนะภาษาอังกฤษ คือ A-Z (A B C D E F G H I J K L M N 
O P Q R S T U V W X Y Z ) โดยถือว่าตัวอักษรที่ปรากฏอยู่นั้นเป็น 
พยัญชนะทุกตัวถึงแม้ว่าพยัญชนะบางตัว (A E I O U ) จะทำาหน้าที่เป็น 
สระก็ตาม 
ตัวอย่างการจัดเรียงตามลำาดับ เช่น Abel, Benson, Carton, 
Dallar ซึ่งเมื่อนำามาจัดเรียงลำาดับก็จะได้เป็น A-B-C-D เป็นต้น หลัก 
ในการพิจารณาจัดเรียงลำาดับคำาตามตัวอักษรภาษาอังกฤษจะต้อง 
พิจารณาดังต่อไปนี้ คือ 
1. พิจารณาตัวอักษรแต่ละตัวว่าอะไรมาก่อนกัน 
ตัวอย่างเช่น Bill กับ Mary นั้นจะเห็นไดว่า B มาก่อน M ดัง 
นั้นจึงสรุปได้ว่า Bill ต้องมาก่อน Mary 
2. ถ้าตัวอักษรตัวแรกเหมือนกันก็จะต้องไปพิจารณาตัวอักษรต่อ 
ไป เพื่อทำาการเปรียบเทียบ ตัวอย่าง เช่น Bell กับ Bill จะเห็นได้ว่าตัว 
อักษรตัว แ ร กข อ งทั้ง 2 คำา คือ B เหมือนกัน ดังนั้นจึงต้องไป 
พิจารณาตัวอักษรตัวต่อไปคือ ระหว่าง e กับ I ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบ 
ตัวอักษรแล้วปรากฏว่า e มาก่อน I ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า Bell ต้องมา 
ก่อน Bill 
3. ถ้าตัวอักษรเหมือนกันทั้งคำาในหน่วยที่ 1 จะต้องไปพิจารณา 
ที่หน่วยต่อไป ตัวอย่างเช่น Central Shop กับ Central Bank จะ 
เห็นได้ว่าหน่วยที่ 1 คือ Central เหมือนกันทั้ง 2 คำา ดังนั้นในการ 
พิจารณาจัดลำาดับที่จึงต้องไปพิจารณาที่หน่วยที่ 2 คือระหว่าง Shop 
กับ Bank คือพิจารณาระหว่าง S กับ B ปรากฏว่า B มาก่อน S ดังนั้น 
จึงสรุปได้ว่า Central Bank มาก่อน Central Shop 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
ศัพท์ที่ใช้ในการเก็บเอกสาร 
4 
ก่อนที่จะได้ศึกษากฎการเก็บเอกสารผู้เรียนควรจะมีความเข้าใจ 
เกี่ยวกับศัพท์ที่ใช้ในการเก็บเอกสารอันได้แก่ 
1. หน่วย (Unit) คือ คำาแต่ละคำาที่ปรากฏในชื่อบุคคล ชื่อบริษัท- 
ห้างร้าน โดยถือว่าคำาแต่ละคำาเป็นแต่ละหน่วยในการเก็บ 
ตัวอย่างเช่น John Benson ซึ่งเป็นชื่อบุคคลนี้ จะมีหน่วยอยู่ 2 
หน่วย คือ Benson เป็นหน่วยที่ 1 และ John เป็นหน่วยที่ 2 
2. หน่วยดัชนี (Indexing Unit) หมายถึง การนำาชื่อบุคคล ชื่อ 
บริษัท-ห้างร้าน มาพิจารณาว่า หน่วยใดจะเป็นหน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
และหน่วยที่ 3 ตามลำาดับ การจัดหน่วยดัชนีต้องเป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่ 
จะได้ศึกษาต่อไป 
ตัวอย่างเช่น Mary K. Thomson ในการจัดหน่วยดัชนีจะจัดดังนี้ 
คือ 
ดัชนีหน่วยที่ 1 Thomson 
ดัชนีหน่วยที่ 2 Mary 
ดัชนีหน่วยที่ 3 K 
กฎเกณฑ์การจัดเรียงหน่วยดัชนีภาษาอังกฤษ 
แบ่งออกเป็น 4 หัวข้อดังนี้คือ 
1. ชื่อบุคคล 
2. ชื่อบริษัท-ห้างร้าน 
3. ชื่อธนาคารและหน่วยงานรัฐบาล 
4. ชื่ออื่น ๆ 
ซึ่งชื่อต่างๆเหล่านี้จะมีวิธีการจัดแยกหน่วยดัชนีและจัดเรียงลำาดับ 
หน่วยดัชนีแตกต่างกันดังรายละเอียดต่อไปนี้ 
1. ชื่อบุคคล 
กฎข้อที่ 1 การจัดเรียงหน่วยดัชนีชื่อบุคคลโดยปกติชื่อชาวต่าง 
ประเทศนิยมมี 3 หน่วย คือ มีชื่อตัว ชื่อกลาง และชื่อสกุล ซึ่งในการจัด 
ดัชนีชื่อนั้นจะให้ความสำาคัญที่ชื่อสกุลก่อน ดังนั้นจะจัดหน่วยดัชนีดังนี้ 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
5 
คือ ชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 1 ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 2 และชื่อกลางเป็นหน่วยที่ 
3 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 
ลำาดับที่ 
1. Auther S. Benson Benson Auther S. 
1 
2. John Hamilton Hamilton John - 2 
3. A. D. Judson Judson A. D. 
3 
4. H. J. Thompson Thompson H. J. 
5 
5. Ross Anne Miller Miller Ross Anne 
4 
กฎข้อที่ 2 2.1. ชื่อที่สั้นจะเรียงลำาดับก่อนชื่อที่ยาว 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 
1. A.S. Aron Aron A. S. 
1 
2. Auther A. Aron Aron Auther A. 
2 
3. Harry S. Baron Baron Harry S. 
3 
4. Harry Samuel Baron Baron Harry 
Samuel 4 
จากตัวอย่างข้อ 1 - 2 หน่วยที่ 1 คือ Aron เหมือนกันทุกตัว 
อักษร จึงต้องไปพิจารณาที่หน่วยที่ 2 คือระหว่าง A. กับ Auther 
ซึ่งจะเห็นได้ว่าในข้อ 1 มี A เพียงตัวเดียว ซึ่งถือว่าสั้นกว่า Auther 
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า A. S. Aron มาก่อน Auther A. Aron 
จากตัวอย่างข้อ 3-4 หน่วยที่ 1 และหน่วยที่ 2 เหมือนกันทุก 
ตัวอักษร จึงต้องไปพิจารณาที่หน่วยที่ 3 คือ S. กับ Samuel ซึ่งจะเห็น 
ว่าในข้อ 3 มี S. เพียงตัวเดียว ซึ่งถือว่าสั้นกว่า Samuel ดังนั้นจึงสรุป 
ได้ว่า Harry S. Baron มาก่อน Harry Samuel Baron 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
6 
2.2. ชื่อตัว – ชื่อสกุล ที่ไม่มีชื่อกลา งจะจัดเ รียงลำา ดับ 
ก่อนชื่อตัว - ชื่อสกุลที่มีชื่อกลาง 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 
1. John Smith Smith John - 
1 
2. John H. Smith Smith John H. 
2 
3. William Smith Smith William - 
3 
4. William Thomas Smith Smith William 
Thomas 4 
จากตัวอย่างข้อ 1-2 หน่วยที่ 1 และหน่วยที่ 2 เหมือนกันทุกตัว 
อักษร จึงต้องไปพิจารณาที่หน่วยที่ 3 ซึ่งข้อ 1 ไม่มี แต่ข้อ 2 มี คือ H 
จึงสรุปได้ว่า John Smith มาก่อน John H. Smith 
จากตัวอย่างข้อ 3-4 หน่วยที่ 1 และหน่วยที่ 2 เหมือนกันทุกตัว 
อักษร จึงต้องไปพิจารณาที่หน่วยที่ 3 ซึ่งข้อ 3 ไม่มี แต่ ข้อ 4 มี คือ 
Thomas จึงสรุปได้ว่า William Smith มาก่อน William Thomas 
Smith 
กฎข้อที่ 3 ชื่อสกุลที่มีอุปสรรค (prefix) เช่น d, , D, , De, de, la, 
di, Fits, La, Le, M, , Mc, Mac, O, Van, van Von, Vonder, 
vonder และ St. เป็นต้น คำาเหล่านี้ให้ถือว่าเป็นหน่วยเดียวกับชื่อ 
สกุล และจัดเรียงตามลำาดับตัวอักษร (ยกเว้น St. จะต้องเขียนเป็นตัว 
เต็มว่า Saint) 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 
ลำาดับที่ 
1. Hugh O, Neill O, Neill Hugh - 
4 
2. Sara McFadden McFadden Sara - 
2 
3. Michael D, Fao D, Fao Michael - 
1 
4. J. B. VanTime VanTime J. B. 
5 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
7 
5. Luke R. McGuiness McGuiness Luke R. 
3 
กฎข้อที่ 4 ชื่อสกุลที่เชื่อมด้วยเครื่องหมายยัติภังค์ (Hyphenated 
Surname) ชื่อสกุลที่เชื่อมด้วยยัติภังค์ (-) ให้ถือว่าเป็นหน่วยเดียวกัน 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 
ลำาดับที่ 
1. J. Frank Hall-Quest hall-Quest J. Frank 
1 
2. Allen L. Ross-Sanders Ross-Sanders Allen 
L. 3 
3. Fred Klingen-Smith Klingen-Smith Fred - 
2 
4. Leslie B. Smith-Jones Smith-Jones Leslie 
B. 4 
5. Milton F. Taft-Bartly Taft-Bartly Milton 
F. 5 
กฎข้อที่ 5 ชื่อบุคคลที่มีคำาย่อ (Abbreviations) ชื่อบุคคลที่มีคำาย่อใน 
การจัดหน่วยดัชนีจะต้องเปลี่ยนคำาย่อให้เป็นคำาเต็มเสียก่อนและถือเป็น 
หน่วยดัชนีหน่วยหนึ่งด้วย 
Benj. = Benjamin Robt. = Robert 
Chas= Charles Sam , l = Samuel 
Don. = Donald St. = Saint (ให้ถือเป็นหน่วยเก็บ) 
Ed. = Edward Theo. = Thoeder 
Geo. = George Thos. = Thomas 
Jas. = James Wm = William 
Jh. = John Jos. = Joseph 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 
ลำาดับที่ 
1. Chas. R. Laporte Laporte Charles R. 
2 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
8 
2. Wm. W. Buist Buist William W. 
1 
3. Jas. Morrison Morrison James - 
3 
4. Benj. R. Webb Webb Benjamin 
R. 5 
5. Ed. K. VonDerpool VonDerpool Edward K. 
4 
กฎข้อที่ 6 ชื่อยากและแปลกโดยปกติชื่อชาวเอเชียถือเป็นชื่อยากและ 
แปลก และตามประเพณีนิยมถือว่า ชื่อตัวสำาคัญกว่าชื่อสกุล การแยก 
หน่วยดัชนีให้ใช้ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 1 ชื่อกลาง (ถ้ามี) เป็นหน่วยที่ 2 
และชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 3 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ ว ย ที่ 3 
ลำาดับที่ 
1. Pan Chin Shih Pan Chin Shit 
4 
2. Sharda Pati Sharda Pati - 
5 
3. Chiang Kai-Shek Chiang Kai-Shek - 
1 
4. Chong Lu Chong Lu - 
2 
5. Lui Feng Lui Feng - 3 
กฎข้อที่ 7 คำานำาหน้าชื่อ (Titles) 
1. คำานำาหน้าชื่อส่วนตัวที่บอกเพศ เช่น Mr., Mrs., Miss และ 
Esq. คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วย 
สุดท้าย 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 
1. Mrs. Mary Blaine Blaine Mary (Mrs.) 
- 2 
2. Mr. Edward Frantz Frantz Edward (Mr.) - 
3 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
9 
3. Francis Fuller, Esq. Fuller Francis (Esq.) - 
4 
4. Miss Mary M. Allan Allan Mary M. 
(Miss) 1 
5. Mrs. Anna R. Laber Laber Anna R. 
(Mrs.) 5 
2. คำา นำา ห น้า ชื่อ ท า ง อ า ชีพ เ ช่น Dr. (Doctor), Prof. 
(Professor), Director, Mayor คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วย 
เก็บให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 
ลำาดับที่ 
1. John G. Kirk, Director Kirk John G. 
(Director) 3 
2. Dr. Harry Blain Blain Harry (Dr.) 
- 1 
3. Mayor John J. Ryan Ryan John J. (Mayor) 
4 
4. Dr. Walter Greene Greene Walter (Dr.) - 
2 
5. Prof. William Winchester Winchester William (Prof.) 
- 5 
3. คำานำาหน้าชื่อในภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ เช่น 
Madame, Monsieur, Signor, Signornita คำานำาชื่อเหล่านี้ให้นับ 
เป็นหน่วยดัชนีด้วย โดยให้เก็บไว้เป็นหน่วยที่ 1 และตามด้วยชื่อสกุล 
เป็นหน่วยที่ 2 ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 3 ชื่อกลาง (ถ้ามี) เป็นหน่วยที่ 4 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 
ลำาดับที่ 
1. Madame X Madame X - 2 
2. Signor Emile Geschick Signor Geschick 
Emile 4 
3. Monsieur J. Louise Monsieur Louise J. 
3 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
10 
4. Madame Bertha Wisler Madame Wisler Bertha 
1 
5. Signornita Mervine Signornita Mervine - 
5 
4. คำา นำา หน้าชื่อทางศาสนา เช่น Father, Sister, Brother, 
Elder, Pope คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้นับเป็นหน่วยดัชนีด้วย โดยให้เก็บ 
ไว้เป็นหน่วยที่ 1 และตามด้วยชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 2 ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 
3 ชื่อกลาง (ถ้ามี) เป็นหน่วยที่ 4 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 
1. Brother Andrew Brother Andrew - 1 
2. Father Pierre Father Pierre - 
3 
3. Sister Mary Martha Sister Martha Mary 
5 
4. Sister Jones Sister Jones - 
4 
5. Elder Walter Daniel Elder Daniel Walter 
2 
5. คำานำาหน้าชื่อที่แสดงฐานันดรศักดิ์ คำาแสดงฐานันดรศักดิ์ 
ขุนนางอังกฤษ เช่น Duke, Earl, Sir, Lord คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ 
ถือเป็นหน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย แต่ถ้าคำาแสดงฐานันดร 
ศัก ดิ์ขุน น า ง ข อ ง ช า ติอื่น เ ช่น Baron, Baronness, Count, 
Countess etc. คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้นับเป็นหน่วยดัชนีด้วย โดยให้ 
เก็บไว้เป็นหน่วยที่ 1 
ข้อยกเว้นคำา แ ส ด ง ฐ า นัน ด ร ศัก ดิ์ King, Queen, Prince, 
Princess ให้ถือเป็นหน่วยดัชนี โดยให้เก็บไว้เป็นหน่วยที่ 1 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 
1. Sir William M. Brogan Brogan William M. 
(Sir) 2 
2. Princess Margaret Princess Margaret - 4 
3. Lord Robert J. RossRoss Robert J. (Lord) 
5 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
11 
4. Baron Samuel Martha Baron Martha 
Samuel 1 
5. Count Zelda Smith Count Smith Zelda 
3 
กฎข้อที่ 8 คำำแสดงคุณวุฒิ (Degrees) หมำยถึง กำรระบุชื่อปริญญำ 
ที่ได้รับ ซึ่งจะเขียนต่อท้ำยชื่อบุคคล เช่น B.A., M.A., M.Sc., M.D., 
Ph.D. เป็นต้น คำำเหล่ำนี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ท้ำยหน่วย 
สุดท้ำย 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 
ลำำดับที่ 
1. Prof. John Andrews Andrews John (Prof.) - 
1 
2. John G. Culver, Ph.D. Culver John G. 
(Ph.D.) 4 
3. Arthur E. Brown, M.D. Brown Arthur E. 
(M.D.) 2 
4. Laura H. Cadwallader, B.A.,Ph.D. Cadwallader Laura 
H. (B.A.,Ph.D.) 3 
5. S. Ada Rice, B.S. in Ed. Rice S. Ada 
(B.S. in Ed.) 5 
กฎข้อที่ 9 คำำแสดงอำวุโส (Seniority) โดยปกติจะเขียนไว้ต่อท้ำยชื่อ 
ซึ่งถ้ำเป็นคำำย่อจะต้องสะกดเป็นคำำเต็มเสียก่อนและถือเป็นหน่วยเก็บ 
หน่วยสุดท้ำยของชื่อนั้น คำำแสดงอำวุโสได้แก่คำำว่ำ 
Jr = Junior Sr. = Senior 
I = Frist II = Second 
III = Third IV = Fourth 
V = Fifth 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วย 
ที่ 3 หน่วยที่4 ลำำดับที่ 
1. Frank A. Braddock,II Braddock Frank A 
Third 3 
วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
12 
2. King Henry I King Henry First 
- 4 
3. King Henry III King Henry Third 
- 5 
4. Mr. Robert K. Barker, Jr. Barker Robert K. 
Junior(Mr.) 1 
5. Mr. Robert K. Barker, Sr. Barker Robert K. 
Senior(Mr.) 2 
กฎข้อที่ 10 สตรีที่แต่งงำนแล้ว ตำมปกติสตรีที่แต่งงำนถูกต้องตำม 
กฎหมำยแล้วจะต้องใช้ชื่อ – สกุล ของสำมี และใส่ชื่อ-สกุลเดิมไว้ใน 
วงเล็บ เช่น Mrs. John H. Kennedy (Jackerleine Gardner) ซึ่งเวลำ 
จัดหน่วยดัชนีจะจัดดังนี้ คือ นำมสกุลสำมี (Kennedy) เป็นหน่วยที่ 1 
ชื่อต้นของผู้หญิง (Jackerleine) เป็นหน่วยที่ 2 นำมสกุลของผู้หญิง 
(Gardner) เป็นหน่วยที่ 3 และจะวงเล็บคำำนำำหน้ำชื่อพร้อมทั้งชื่อต้น 
และชื่อกลำงของสำมีไว้ (Mrs. John H.) 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 
ลำำดับที่ 
1. Mrs. Thomas Smith Smith Mary Parker 
3 
(Mary Parker) (Mrs.Thomas) 
2. Mrs. Frank Zeller Zeller Evelyn Marie 
5 
(Evelyn Marie) (Mrs.Frank) 
3. Mrs Henry R. David David Henry R. 
(Mrs.) 1 
4. Mrs. John New New Anna Wister (Mrs. 
John) 2 
(Anna Wister) 
5. Mrs. Davis C. Thomas Jame (Mrs.Davis C.) - 
4 
Thomas (Jame) 
กฎข้อที่ 11 ชื่อบุคคลที่มีที่อยู่รวมอยู่ด้วย กำรจัดหน่วยดัชนีที่อยู่นั้น 
จะจัดเรียงตำมลำำดับขั้นดังนี้ คือ ชื่อเมือง ชื่อรัฐ ชื่อถนน บ้ำนเลขที่ 
วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
13 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 
หน่วยที่ 4 หน่วยที่ 5 หน่วยที่ 6 ลำำดับที่ 
1. John Smith Smith John Kingston 
Illinois Beech Street 145 4 
145 Beech St. Kingston Ill. 
2. Harry Manton Manton Harry 
Kingston New YorkPearl Street 204 3 
204 Pearl St. Kingston, N.Y. 
3. Thomas Harrison Harrison Thomas 
ClevelandOhio First Street 10 1 
10 First St. Cleveland, Ohio 
4. Thomas Harrison Harrison Thomas 
Dayton Ohio Second Street 203 
2 
203 Second St. Dayton, Ohio 
5. John Smith Smith John Kingston 
New York State Street 350 5 
350 State St. Kingston, N.Y. 
วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
14 
2. ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำน 
กฎข้อที่ 1 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำน จะจัดหน่วยดัชนีตำมลำำดับที่เขียน คำำที่ 
บอกว่ำเป็นสถำนประกอบกำรจะถือเป็นหน่วยเก็บด้วย หำกคำำที่บอก 
ธุรกิจนั้นเป็นคำำย่อต้องสะกดให้เป็นคำำเต็มด้วย คำำที่บอกประเภทธุรกิจ 
เช่น 
Assn. = Association Bro. = Brother 
Bros. = Brothers Bldg. = Building 
Co. = Company Corp. = Corporation 
Dept. = Department Inc. = Incorporated 
Intl. = International Ltd. = Limited 
Mfr. = Manufacture Mfg. = Manufacturing 
Mkt. = Market Mt. = Mount 
Nat , l = National 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 
ลำำดับที่ 
1. Little Repair Shop Little Repair Shop 
4 
2. Gunn Printing Company Gunn Printing. 
Company 2 
3. Robertson Grocery Co. Robertson Grocery 
Company 5 
4. Corn Exchange Market Corn ExchangeMarket 
1 
5. Hermitage Garage Hermitage Garage 
- 3 
กฎข้อที่ 2 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำน ที่นำำเอำชื่อ-สกุล ของบุคคลมำตั้งเป็นชื่อ 
ร้ำน กำรจัดหน่วยดัชนีจะจัดเช่นเดียวกับชื่อบุคคล คือ ชื่อสกุลเป็น 
หน่วยที่ 1 ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 2 ชื่อกลำงเป็นหน่วยที่ 3 และคำำที่บอก 
ประเภทของธุรกิจจะเป็นหน่วยต่อไป 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ ว ย ที่ 3 
หน่วยที่4 ลำำดับที่ 
1. Albert Benton Coal Benton Albert Coal 
- 1 
วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
15 
2. John S. Kramer Co. Kramer John S. 
Company 3 
3. Thomson Fruit Store Thomson Fruit Store - 
5 
4. William A. Huber Huber William A. 
Handicraft 2 
5. Harry F. Parke Bros. Parke Harry F. 
Brothers 4 
กฎข้อที่ 3 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำนที่นำำเอำชื่อ-สกุลมำตั้งเป็นชื่อร้ำน และ 
ชื่อ-สกุลของบุคคลนั้นเป็นชื่อยำกและแปลก ก็ให้จัดแยกหน่วยดัชนีตำม 
กำรจัดชื่อยำกและแปลก โดยให้ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 1 ชื่อกลำง (ถ้ำมี) 
เป็นหน่วยที่ 2 ชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 3 และคำำที่บอกประเภทธุรกิจเป็น 
หน่วยต่อไป 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 
หน่วยที่4 ลำำดับที่ 
1. Chang Sui Book Store Chang Sui Book 
Store 1 
2. U-Tin Mong Department Store U-Tin Mong 
Department Store 4 
3. Hong Chin Pao Laundry Hong Chin Pao 
Laundry 2 
4. Kim Hong Beauty Saloon Kim Hong 
Beauty Saloon 3 
5. Young Kee Sea Food Young Kee Sea 
Food 5 
กฎข้อที่ 4 คำำนำำหน้ำชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำนที่ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บ ได้แก่ 
Article เช่น a, an, the 
Prepositions เช่น at, by, for, on, to, in 
Conjunction เช่น and 
Ampersand เช่น & 
วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
16 
คำำเหล่ำนี้ไม่ถือเป็นหน่วยดัชนีใส่ไว้ในวงเล็บตรงหน่วยที่คำำเหล่ำ 
นี้วำงอยู่ ยกเว้น The เมื่อขึ้นต้นชื่อ บริษัท-ห้ำงร้ำน ต้องใส่วงเล็บและ 
ไว้ท้ำยหน่วยสุดท้ำย 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 
3 หน่วยที่ 4 ลำำดับที่ 
1. The Cen Hat Co. Cen Hat 
Company(The) - 3 
2. Black & Davis Black (&)Davis - 
- 1 
3. Black and Davis Drugs Black (and) Davis 
Drugs - 2 
4. Janes A to Z Service Janes A (to) Z 
Service 5 
5. John the Tailor John (the) Tailor - 
- 4 
กฎข้อที่ 5 ชื่อบริษัท – ห้ำงร้ำนที่มีเครื่องหมำยยติภังค์ (Hyphen) 
1. ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำน ที่นำำเอำชื่อ-สกุลมำตั้งเป็นชื่อห้ำงร้ำน และ 
ชื่อสกุลนั้นเชื่อมด้วยเครื่องหมำยยติภังค์ (-) ชื่อสกุลนั้นจะถือเป็นหน่วย 
เดียวกัน 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ห น่ว ย 
ที่4 ลำำดับที่ 
1. Hall-KramerPrinting Co. Hall-Kramer Printing 
Company - 3 
2. John K. Kitty-Kat Products Kitty-Kat John K. 
Products 4 
3. Hubert Smith-Johnson Smith-JohnsonHubert 
Food Dispenser 5 
Food Dispenser 
4. Uscar K. Clark-Harly Co. Clark-Harly Uscar K. 
Company 1 
5. Jame Fitz-Gerald Fitz-Gerald Jame 
Dress Shop 2 
วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
17 
2. คำำ ๆ เดียวกัน เมื่อเวลำเขียนต้องมีเครื่องหมำยยติภังค์ (-) 
เชื่อม เช่น Up-to-date, Co-operative, Pre-eminent, X-ray ให้ 
ถือว่ำคำำเหล่ำนี้เป็นหน่วยดัชนีหน่วยเดียวกัน 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
หน่วยที่ 3 หน่วยที่4 ลำำดับ 
1. Pre-eminent Products Inc., Pre-eminent Products 
Incorporated - 3 
2. Bangkok Co-operative Store Bankok Co-operative 
Store - 1 
3. Up-to-date Corp. Up-to-date Corporation 
- - 4 
4. X-ray Laboratory X-ray Laboratory - 
- 5 
5. Bangna Commercial Bangna Commercial 
College Co-operative 2 
College Co-operative 
3. ตัวเลขที่เขียนเป็นตัวหนังสือและเชื่อมด้วยเครื่องหมำยยติภังค์ 
(-) ให้ถือว่ำเป็นหน่วยดัชนีหน่วยเดียวกัน 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 ห น่ว ย ที่ 2 
หน่วยที่ 3 ลำำดับที่ 
1. Fourteen-Thirty Locust Store Fourteen-Thirty Locust 
Store 3 
2. Fifteen-Twelve Department Store Fifteen-Twelve 
Department Store 1 
3. Thirty Coins Corp. Thirty Coins 
Corporation 4 
4. Forty-One Drug Store Forty-One Drug 
Store 2 
5. Twenty-Eleven Gun Co. Twenty-Eleven Gun 
Company 5 
4. คำำสองคำำที่เชื่อมด้วยเครื่องหมำยยติภังค์ (-) และไม่ใช่ชื่อสกุล 
ให้ถือว่ำเป็นคำำละหน่วยดัชนี 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
หน่วยที่ 3 หน่วยที่4 ลำำดับที่ 
วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
18 
1. Lyon-Murphy Furniture Co. Lyon Murphy 
Furniture Company 5 
2. Davison-Winter Barber Davison Winter 
Barber - 1 
3. Dolin-Norton Co. Dolin Norton Company 
- 2 
4. G. - T. Hardware Co. G. T. Hardware 
Company 3 
5. Hill-Chase & Co. Hill Chase (&) Company 
- 4 
กฎข้อที่ 6 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำนที่เป็นอักษรเดียวหรืออักษรย่อ (มีจุด 
แสดงกำรย่อ) ให้ถือเป็นอักษรละหน่วยดัชนี 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 
หน่วยที่4 หน่วยที่5 ลำำดับที่ 
1. J. Co., Ltd. J. Company Limited - - 
4 
2. P. S. K. Rubber Co. P. S. K. Rubber 
Company 5 
3. H. Coffee Shop H. Coffee Shop - - 
3 
4. A. B. C. Printer A. B. C. Printer 
- 2 
5. A & A Auto Part A. (&) A Auto Part - 
1 
กฎข้อที่ 7 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำนที่ขึ้นต้นด้วยตัวเลขให้สะกดตัวเลขเป็น 
ตัวอักษรโดยสะกดเป็นคู่ ๆ ไป และให้ถือเป็นหน่วยเก็บ 1 หน่วย 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 
ลำำดับที่ 
1. 40 Winks Motel Forty Winks 
Motel 2 
2. 31st Barber Shop Thirty-First Barber 
Shop 5 
วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
19 
3. 1430 Gift Shop Fourteen-Thirty Gift Shop 
3 
4. The 40 West Co. Forty West 
Company (The) 1 
5. 19th Street Garage Nineteenth Street 
Garage 4 
กฎข้อที่ 8 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำนที่นำำชื่อบุคคลมำตั้งเป็นชื่อบริษัท-ห้ำง 
ร้ำน และชื่อบุคคลนั้นมีคำำย่อต้องเขียนคำำย่อนั้นเป็นคำำเต็มและจัดหน่วย 
ดัชนีเช่นเดียวกับชื่อบุคคล โดยคำำที่บอกประเภทธุรกิจจะอยู่ต่อท้ำย 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ห น่ว ย 
ที่4 ลำำดับที่ 
1. Theo. Gery Tailor Shop Gery Theoder Tailor 
Shop 1 
2. Jh. M. Smith & Sons Smith (&) John M. Sons 
4 
3. Jos. O. Wilson Garage Wilson Joseph O. 
Garage 5 
4. Robt. Hay Richard Saloon Richard Robert 
Hay Saloon 2 
5. James K. St. John Furniture Saint John James K. 
Furniture 3 
กฎข้อที่ 9 คำำที่บอกทิศทำง ซึ่งอำจจะเขียนติดกันหรือเขียนแยกจำก 
กันก็ได้ให้ถือว่ำคำำ ๆ นั้นเป็นหน่วยดัชนีเดียวกัน 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย 
ที่ 3 ลำำดับที่ 
1. North Western Laundry North Western 
Laundry - 2 
2. Northeastern Restaurant Northeastern 
Restaurant - 1 
3. Northwestern Loan Co. Northwestern Loan 
Company 3 
4. Southeastern Express Co. Southeastern 
Express Company 5 
5. South Western Banking Co. South Western 
Banking Company 4 
วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
20 
กฎข้อที่ 10 คำำที่แสดงควำมเป็นเจ้ำของ (Apostrophe) 
1. ชื่อบริษัท – ห้ำงร้ำนที่มี ,s ติดอยู่นั้น ,s ไม่ถือว่ำเป็นส่วน 
ประกอบของคำำนั้นในวงเล็บ ,s ไว้หลังคำำที่ตำมนั้น 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ห น่ว ย 
ที่4 ลำำดับที่ 
1. Mary,s Bakery Mary (,s )Bakery - 
- 5 
2. Jame,s Fruit Store Jame(,s ) Fruit Store 
- 4 
3. Difabio,s Trucking Co. Difabio(,s ) Trucking 
Company - 1 
4. Garret,s Interior 
Decoration Co. Garret(,s )Interior Decoration 
Company 3 
5. Fitzpatrick,s Garage Fitzpatrick(,s ) Garage - 
- 2 
2. ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำนที่มี s, ติดอยู่ด้วยนั้น s ถือว่ำเป็นส่วน 
ประกอบของคำำและให้วงเล็บ ,ไว้หลังคำำที่ตำมมำนั้น 
ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 
ลำำดับที่ 
1. Girls, Friendly Society Girl (,) Friendly 
Society 5 
2. Boys, Club Boys(, ) Club - 
1 
3. Girl Scouts, Camp Girl Scouts(, ) Camp 
4 
4. Georges, Lamp Store Georges(, ) Lamp 
Store 3 
5. Garris, Hardware Store Garris(, ) Hardware Store 
2 
กฎข้อที่ 11 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำน ที่มีคำำในวงเล็บด้วยให้ถือว่ำคำำที่อยู่ 
ในวงเล็บนั้นเป็นหน่วยดัชนีหน่วยหนึ่งด้วยและให้เอำวงเล็บออก 
วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
21 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 
หน่วยที่4 หน่วยที่ 5 ลำาดับที่ 
1. Kodak (Thailand) Kodak Thailand Company 
Limited - 2 
Co., Ltd. 
2. Panasonic (Thailand) Panasonic ThailandCompany 
Limited - 4 
Co., Ltd. 
3. Mitsubishi Belting Mitsubishi Belting Bangkok 
Company Limited 3 
(Bangkok) Co., Ltd. 
4. Robinson Department Robinson Department Store 
Srilom - 5 
Store (Srilom) 
5. Advanced Infortech Advanced Infortech Thailand 
Company Limited 1 
(Thailand) Co., Ltd. 
กฎข้อที่ 12 ชื่อบริษัท-ห้างร้านที่นำาเอาชื่อทางภูมิศาสตร์ที่ต้องเขียน 
รวมหลายคำาเป็นหนึ่งคำาให้ถือว่าคำาที่รวมนั้นแยกเป็นคำาละหนึ่งหน่วย 
ดัชนี 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วย 
ที่ 3 หน่วยที่4 ลำาดับที่ 
1. South California Paper Co. South California 
Paper Company 4 
2. North Dakota Fish Market North Dakota Fish 
Market 3 
3. South Carolina Furniture Co. South Carolina 
Furniture Company 2 
4. New York Candy Shop New York Candy Shop 
- 5 
5. New London Grocery New London Grocery 
- - 1 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
22 
3. ชื่อธนาคารและหน่วยงานรัฐบาล 
ชื่อธนาคาร มีวิธีการจัดหน่วยดัชนี 2 วิธี คือ 
1. ชื่อธนาคารและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ตั้งชื่อไม่เหมือนกับชื่อเมือง 
การจัดหน่วยดัชนีจะเป็นดังนี้ คือ ชื่อเมืองเป็นหน่วยที่ 1 และตามด้วยชื่อ 
ธนาคารและชื่อรัฐเรียงกันตามลำาดับ 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 
หน่วยที่4 หน่วยที่ 5 ลำาดับที่ 
1. Franklin Saving Scranton Franklin Saving Bank 
Pensylvania 4 
Bank Scranton, Pa. 
2. First National Boston First National Bank 
Massachusetts 1 
Bank Boston, 
Massachusetts. 
3. Provident Trust Rutland Provident Trust Company 
Vermont 3 
Company Rutland, 
Vermont. 
4. Security Trust Malden Security Trust 
Company Texas 2 
Co., Malden, 
Texas. 
5. Southern Seattle Southern National Bank 
Washington 5 
National Bank 
Seattle Washington 
2. ชื่อธนาคารและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่นำาชื่อเมืองมาตั้งเป็น 
ชื่อธนาคาร จะจัดหน่วยดัชนีดังนี้ คือ ชื่อธนาคารเป็นหน่วยที่1 และ 
ตามด้วยชื่อรัฐ (โดยตัดชื่อเมืองออก) 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
23 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย 
ที่ 3 หน่วยที่4 ลำาดับที่ 
1. Tokyo Bank Tokyo, Japan Tokyo Bank Japan 
- 5 
2. Cleveland Bank Cleveland, Ohio Cleveland Bank 
Ohio - 2 
3. Austin Trust Co., Austin, TexasAustin Trust 
Company Texas 1 
4. Houston Bank Houston, Texas Houston Bank 
Texas - 3 
5. Princeton Bank Princeton, IowaPrinceton Bank Iowa 
- 4 
4. ชื่ออื่น ๆ 
ชื่อหน่วยงานต่าง ๆ เช่น สถานศึกษา สถานพยาบาล องค์การ 
สมาคม วัด โบสถ์ ฯลฯ เมื่อจัดแยกหน่วยดัชนี ให้ชื่อสถานที่นั้นเป็น 
หน่วยที่ 1 และตามด้วยชื่อที่ระบุว่าเป็นสถานที่ประเภทใด 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 
ลำาดับที่ 
1. Association of Jobbers Jobbers Association(of) 
- 2 
2. Rotary Club Rotary Club - 
4 
3. University of Pennsylvania Pennsylvania University 
(of) - 3 
4. St. Paul Church Saint Paul Church 
5 
5. Chulalongkorn University Chulalongkorn University 
- 1 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
24 
ในการเก็บเอกสารตามลำาดับตัวอักษรภาษาไทยนั้น จะเรียงตาม 
ตัวพยัญชนะและสระโดยยึดหลักที่ใช้กันอยู่ในพจนานุกรม ฉบับ 
ราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2493 ซึ่งหลักเกณฑ์ในการเรียงตัวอักษร 
คล้ายกับการเก็บเอกสารภาษาอังกฤษ แต่จะมีเรื่องยุ่งยากมากกว่าภาษา 
อังกฤษ กล่าวคือในการเก็บเอกสารตามลำาดับภาษาไทยจะมีสระและ 
วรรณยุกต์เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยดังนั้นจึงอาจสรุปหลักเกณฑ์กว้างๆ 
สำาหรับการเก็บเอกสารตามลำาดับตัวอักษรภาษาไทยดังนี้คือ 
1. พยัญชนะ เรียงตามลำาดับตัวพยัญชนะ ก-ฮ ซึ่งตามหลัก 
ภาษาไทยแล้วพยัญชนะจะมีทั้งสิ้น 44 ตัวแต่ในหลักการเก็บเอกสารให้ 
เพิ่มมาอีก 4 ตัว คือ ฤ ฤา โดยจัดเรียงดังนี้คือ ฤ ฤา จะอยู่หลัง ร 
และ ฦ ฦา จะอยู่หลัง ล ซึ่งพยัญชนะทั้งหมดจะเรียงเป็นลำาดับได้ 
ดังนี้ 
ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ 
ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ 
ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤา ล ฦ ฦา 
ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ 
สำาหรับพยัญชนะบางตัว เช่น ว อ ย ซึ่งทำาหน้าที่เป็นสระก็ให้ 
ถือว่าเป็นพยัญชนะเสมอ ตัวอย่าง 
เช่น 
กาญจนา มาก่อน ลาวัลย์ (เพราะพยัญชนะ 
ก มาก่อน ล) 
ลักษณา มาก่อน ฦาชา (เพราะพยัญชนะ 
ล มาก่อน ฦา ) 
มารยาทมาก่อน วัลลี (เพราะพยัญชนะ ม มาก่อน 
ว) 
2. ส ร ะ ในการเรียงสระจะจัดเรียงตามหลักเกณฑ์ของ 
ราชบัณฑิตยสถาน คือจะจัดลำาดับตามรูป สระไม่ได้จัดเรียงตามเสียง 
ดังนั้นจะจัดเรียงลำาดับไว้ตามรูปสระดังนี้ 
ะ  า ำำ ำิำีำึำืำุำู เ แ โ ใ 
ไ 
ตัวอย่างเช่น 
การุณรัตน์ มาก่อน กิติพร (เพราะ สระ มา 
ก่อน สระ ) 
เชาวลิต มาก่อน โชคชัย (เพราะ สระ เ มาก่อน 
สระ โ) 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
25 
สำาหรับรูปสระผสมก็จะจัดลำาดับก่อนหลัง เช่นเดียวกับ 
การเรียงสระเดี่ยวตัวอย่าง เช่น 
เจียมใจ มาก่อน เจือจันทร์ (เพราะสระ ี มา 
ก่อน สระ ) 
เติมศักย์มาก่อน เตียงเฮง (เพราะ สระ  มา 
ก่อน สระ ี) 
พยัญชนะใดทีไม่มีสระติดอยู่ด้วยให้ถือว่าพยัญชนะตัวนั้นมี สระ 
อะ ติดอยู่แต่เป็นสระอะที่ลดรูปเสมอ สำาหรับสระ อะ นั้นจะมีอยู่ 3 
ลักษณะคือ สระอะลดรูป สระอะที่มีรูป (ะ) และสระอะที่เปลี่ยนรูปเป็น 
ไม้ผัด (  ) เมื่อเวลาจัดเรียงรูปสระอะจะจัดเรียงดังนี้ 
สระอะลดรูป ( - ) มาก่อน สระอะมีรูป ( ะ ) 
สระอะมีรูป ( ะ ) มาก่อน สระอะเปลี่ยนรูป ( ) 
ตัวอย่าง เช่น 
กมล มาก่อน กะลาสี (เพราะ กมล ก จะมีสระอะ ติดอยู่แต่เป็นสระ 
อะที่ลดรูป(-) ย่อมมาก่อน กะ ซึ่งมีรูปสระอะติดอยู่) 
ชะอำา มาก่อน ชัยยนต์ (เพราะชะอำา ชะ จะมีสระอะติดอยู่ย่อมมา 
ก่อน ชัย ซึ่งมี สระอะที่เปลี่ยนรูปเป็น 
ไม้ผัด ( ) 
3. วรรณยุกต์ โดยปกติแล้วในการจัดเก็บเอกสารตามลำาดับตัว 
อักษรภาษาไทยนั้น วรรณยุกต์จะไม่ถือเป็นหน่วยในการจัดเรียง 
ลำาดับ ยกเว้น คำาสองคำาที่เขียนเหมือนกันหมดแต่แตกต่างกันที่ 
วรรณยุกต์ก็ให้จัดเรียงตามรูปวรรณยุกต์ เป็นหลัก และให้ถือว่าคำาที่ 
ไม่มีวรรณยุกต์ย่อมมาก่อนเสมอ การเรียงวรรณยุกต์จะเรียงดังนี้ 
    ็ ์ 
ตัวอย่าง เช่น 
ซกเอง มาก่อน ซกเอ็ง (เพราะไม่มีวรรณยุกต์มาก่อน 
วรรณยุกต์) 
เตี้ยวเฮงมาก่อน เตี๋ยวเฮง (เพราะวรรณยุกต์  มาก่อนวรรณยุกต์ 
 ) 
4. การกระจายพยัญชนะ ในการจัดเรียงคำาตามลำาดับตัวอักษร 
ภาษาไทยนั้น ผู้จำาเป็นต้องแยกพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ออก 
มาให้ได้เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบคำาซึ่งจะต้องนำาไปจัดลำาดับอีกครั้ง 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
26 
หนึ่ง การกระจายพยัญชนะนั้นหมายถึงการแยกพยัญชนะออกเป็นตัวๆ 
ไป โดยถือพยัญชนะทุกตัวจะต้องมี 
สระติดอยู่เสมอ ถ้าพยัญชนะตัวใดไม่มีสระติดอยู่ให้ถือว่าเป็นสระอะลด 
รูปโดยให้สัญลักษณ์ ( ะ ) แทน เมื่อ 
กระจายพยัญชนะได้แล้วจะทำาให้การจัดลำาดับง่ายยิ่งขึ้น 
ตัวอย่าง เช่น 
กาญจนา กระจายได้เป็น กา- ญ ( ะ)-จ (ะ) - นา 
กมล กระจายได้เป็น ก (ะ) – ม (ะ)- ล (ะ) 
กะลาสี กระจายได้เป็น กะ – ลา - สี 
กรรณิการ์ กระจายได้เป็น ก (ะ) – ร (ะ) – ร (ะ) – 
ณิ –กา – ร (ะ) 
เกตุแก้ว กระจายได้เป็น กเ- ตุ- กแ – ว (ะ) 
กรวุฒิ กระจายได้เป็น ก (ะ) –ร (ะ) – วุ - ฒิ 
จิราภรณ์ กระจายได้เป็น จิ- รา –ภ (ะ) – ร (ะ) – ณ (ะ) 
เจริญ กระจายได้เป็น จเ – ริ – ญ (ะ) 
ซกเจ็ง กระจายได้เป็น ซ (ะ) – ก (ะ) – จเ - ง 
(ะ) 
5. การจัดลำาดับคำา เป็นการเรียงลำาดับว่าคำาใดจะเป็นลำาดับที่ 
1 2 3 โดยวิธีการจัดลำาดับคำาจะพิจารณาที่พยัญชนะก่อน โดยเรียง 
ลำาดับ ก - ฮ ถ้าพยัญชนะตัวแรกของคำาแตกต่างกันก็จะจัดลำาดับได้ 
ทันทีโดยไม่ต้องคำานึงถึงสระที่ติดมากับพยัญชนะตัวนั้น 
ตัวอย่าง เช่น 
นเรศ มาก่อน ประเสริฐ (เพราะ น มาก่อน ป โดยจะ 
ไม่นำาสระมาพิจารณา) 
แต่ถ้าพยัญชนะตัวแรกเป็นพยัญชนะตัวเดียวกันให้พิจารณาสระที่ 
ติดมากับพยัญชนะตัวนั้น โดยการจัดเรียงลำาดับสระให้เป็นไปตามที่ได้ 
กล่าวมาแล้วข้างต้น 
ตัวอย่างที่ 1 เจนจิรา กับ ใจนภา 
เจนจิรา กระจายได้เป็น จเ – น (ะ) – จิ - รา 
ใจนภา กระจายได้เป็น จใ – น (ะ) – ภา 
ในการพิจารณาจัดลำาดับระหว่างเจนจิรากับใจนภา จะพิจารณา 
ดังนี้ 
ขั้นที่ 1 จะพิจารณาที่อักษรตัวแรก ของคำาทั้งสองคำานี้ ซึ่งเหมือน 
กัน คือ จ 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
27 
ขั้นที่ 2 จะพิจารณาสระที่ติดกับตัวอักษร จ เจนจิรา สระที่ติดมา 
กับ จ คือสระเอ(เ) ใจนภา สระที่ติดมากับ จ คือสระใอ (ใ) เมื่อ 
มาเปรียบเทียบระหว่างสระเอ (เ) และสระใอ (ใ) สระเอ (เ) มาก่อน 
สระใอ (ใ) 
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เจนจิรา มาก่อน ใจนภา 
ตัวอย่างที่ 2 นพชาติ กับ นภดล 
นพชาติ กระจายได้เป็น น (ะ) – พ (ะ) – ชา - ติ 
นพดล กระจายได้เป็น นะ(ะ) – พ (ะ) – ด (ะ) – 
ล (ะ) 
ในการพิจารณาจัดลำาดับระหว่างนพชาติกับนภดลจะพิจารณาดังนี้ 
ขั้นที่ 1 จะพิจารณาที่ตัวอักษรตัวแรกของคำาทั้ง สองคำานี้ ซึ่ง 
เหมือนกันคือ น 
ขั้นที่ 2 จะพิจารณาที่สระ ที่ติดมากับอักษร น ซึ่งจะเห็นได้ว่าเป็น 
สระอะ (ะ) ลดรูปทั้ง 2 คำา เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วจะต้องไปพิจารณาตัว 
อักษรตัวต่อไป 
ขั้นที่ 3 จะพิจารณาที่ตัวอักษรตัวต่อไปของคำาทั้ง 2 คำา ซึ่งเหมือน 
กันคือ พ 
ขั้นที่ 4 จะพิจารณาที่สระที่ติดมากับอักษร พ ซึ่งจะเห็นได้ว่าเป็น 
สระอะ (ะ) ลดรูปทั้ง 2 คำา เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วจะต้องไปพิจารณาตัว 
อักษรตัวต่อไป 
ขั้นที่ 5 จะพิจารณาที่ตัวอักษรตัวต่อไปของคำาทั้ง 2 คำา ซึ่งก็คือ ช 
กับ ด เมื่อตัวอักษรทั้ง 2 ตัว ไม่เหมือนกันก็ให้พิจารณาว่า ตัวอักษร 
ตัวใดมาก่อนกัน ซึ่งปรากฏว่า ช มาก่อน ด 
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า นพชาติ มาก่อน นพดล 
ในกรณีการจัดลำาดับคำานี้ จะมีการเปรียบเทียบคำาทีละหน่วย ถ้า 
หน่วยที่ 1 เหมือนกันหมดก็ให้ไปพิจารณาที่หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ต่อ 
ไป 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ธีรเดช สินธุวงศ์ 
ธีรเดช อรุณเสถียร 
จากตัวอย่างนี้จะเห็นได้ว่า หน่วยที่ 1 คือ ธีรเดช เหมือนกัน ใน 
การพิจารณาจัดลำาดับคำา จึงต้องไป 
พิจารณาที่หน่วยที่ 2 ระหว่างสินธุวงศ์กับอรุณเสถียร คือพิจารณา 
ระหว่าง ส กับ อ ซึ่งปรากฏว่า ส มาก่อน อ 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
28 
จึงสรุปได้ว่า ธีรเดช สินธุวงศ์ มาก่อน ธี ร เ ด ช 
อรุณเสถียร 
กฎเกณฑ์การจัดเรียงหน่วยดัชนีภาษาไทย แบ่งออกเป็น 3 หัวข้อดังนี้ 
คือ 
1. ชื่อบุคคล 
2. ชื่อบริษัท-ห้างร้าน 
3. ชื่ออื่นๆ 
ซึ่งชื่อต่างๆเหล่านี้จะมีวิธีการจัดแยกและจัดเรียงหน่วยดัชนีแตกต่าง 
กัน ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 
1. ชื่อบุคคล 
กฎข้อที่ 1 ชื่อบุคคลภาษาไทย โดยปกติจะใช้ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 
1 และชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 2 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ลำาดับที่ 
1. ประภาส เกิดดี ประภาส เกิดดี 
3 
2. อรุณ ไขแสง อรุณ ไขแสง 
5 
3. เรณู พุ่มเจริญ เรณู พุ่มเจริญ 
4 
4. จักรกฤษณ์ แก้วใจดี จักรกฤษณ์ แก้วใจดี 
1 
5. ชา กิจไพบูลย์ ชา กิจไพบูลย์ 
2 
กรณีชื่อบุคคลที่มีชื่อรองด้วยนั้นจะเรียงดังนี้ คือ ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 1 
ชื่อรองเป็นหน่วยที่ 2 และชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 3 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
29 
1. ประภัสสร อินทรกำาแหง รวยแท้ ประภัสสร อินทรกำาแหง 
รวยแท้ 2 
2. กัณฑรีย์ น สิมะเสถียร กัณฑรีย์ น สิมะ 
เสถียร 1 
3. โอภาส ศ ศิลปิน โอภาส ศ ศิลปิน 
5 
4. พีระเกิด จ เลิศฤทธิ์ พีระเกิด จ 
เลิศฤทธิ์ 3 
5. สิทธิชัย บ เบญจา สิทธิชัย บ เบญจา 
4 
กฎข้อที่ 2 ชื่อสกุล 
1. ชื่อสกุลพระราชทานที่มีคำาว่า ร ต่อท้ายชื่อสกุล เช่น ณ อยุธยา 
ณ สกลนคร ฯลฯ การจัดหน่วยดัชนีให้ถือว่า ณ อยุธยา ณ สกลนคร 
ฯลฯ เป็นอีกหน่วยหนึ่งแยกจากชื่อสกุล 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 
1. เสาวนีย์ อิศรางงกูร ณ อยุธยา เสาวนีย์ อิศรางกูร ณ 
อยุธยา 4 
2. รักชาติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา รักชาติ เทพหัสดิน 
ณ อยุธยา 2 
3. แก้ว ณ นคร แก้ว ณ นคร - 
1 
4. เอกราช พรหมสาขา ณ สกลนคร เอกราช พรหมสาขา 
ณ สกลนคร 5 
5. สิทธิชัย ณ ถลาง สิทธิชัย ณ ถลาง - 
3 
2. คำานำาหน้าชื่อสกุลของชาวจีน คำาว่า “แซ่” ที่ใช้นำาหน้าชื่อ 
สกุลของชาวจีนนั้นไม่ถือว่าเป็นหน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ลำาดับที่ 
1. จำาลอง แซ่ลิ้ม จำาลอง ลิ้ม (แซ่) 
1 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
30 
2. ใจเฮง แซ่ตัน ใจเฮง ตัน (แซ่) 
2 
3. ซีอัน แซ่เอี้ยว ซีอัน เอี้ยว (แซ่) 
3 
4. ไทยสิ้ว แซ่เล็ก ไทยสิ้ว เล็ก (แซ่) 
4 
5. มักฮง แซ่ตั้ง มักฮง ตั้ง (แซ่) 
5 
กฎข้อที่ 3 คำานำาหน้าชื่อ 
1. คำานำาหน้าชื่อที่บอกเพศ วัย เช่น นาย นาง นางสาว เด็กหญิง 
เด็กชาย คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บ ให้วงเล็บไว้ท้าย 
หน่วยสุดท้าย 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ลำาดับที่ 
1. นายประกิต เกิดไทย ประกิต เกิดไทย 
(นาย) 3 
2. ด.ญ. วราภรณ์ ศรีม่วง วราภรณ์ ศรีม่วง (เด็กหญิง) 
5 
3. นางสาวจารุณี สุขสวัสดิ์ จารุณี สุขสวัสดิ์ 
(นางสาว) 2 
4. นางกรรณิการ์ ธรรมเกษร กรรณิการ์ ธรรมเกษร 
(นาง) 1 
5. นายเลิศ สุจริตกุล เลิศ สุจริตกุล (นาย) 
4 
2. คำานำาหน้าชื่อที่เป็นยศ เช่น ยศทางทหาร ตำารวจ เช่น พันตรี 
ร้อยตำารวจเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก พลเรือตรี ฯลฯ คำานำาหน้าชื่อ 
เหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ลำาดับที่ 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
31 
1. ร.ต. ประเสริฐ มุ่งการดี ประเสริฐ มุ่งการดี (ร้อยตรี) 
2 
2. น.อ. อุดม ศุภระมงคล อุดม ศุภระมงคล (นาวา 
เอก) 5 
3. พ.อ. วิจักษณ์ เพชรบุศย์ วิจักษณ์ เพชร 
บุศย์ (พันเอก) 4 
4. ร.ต.ท. กมล เศรษฐการ กมล เศรษฐการ(ร้อย 
ตำารวจโท) 1 
5. พ.ต.อ.ประเสริฐ วิทยาอาภา ประเสริฐ วิทยา 
อาภา(พันตำารวจเอก) 3 
3. คำานำาหน้าชื่อทางอาชีพ เช่น นายแพทย์ ด๊อกเตอร์ 
ศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ อาจารย์ ฯลฯ คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็น 
หน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ท้ายสุดท้าย 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ลำาดับที่ 
1. นพ.เจริญ ปราโมช เจริญ ปราโมช (นาย 
แพทย์) 1 
2. ศจ. ประภาศ สุขโกศล ประภาศ สุข 
โกศล(ศาสตราจารย์) 2 
3. ผศ.วิรุณ พิทักษ์ผล วิรุณ พิทักษ์ผล(ผู้ช่วย 
ศาสตราจารย์) 3 
4. ดร.เสรี วงศ์มณฑา เสรี วงศ์มณฑา(ด็อก 
เตอร์) 5 
5. รศ.ศิริวรรณ เสรีรัตน์ ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (รอง 
ศาสตราจารย์) 4 
4. คำานำาหน้าชื่อที่เป็นบรรดาศักดิ์ เช่น คุณหญิง คุณ ท่านผู้หญิง 
พระยา พระ หลวง ขุน ฯลฯ คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บ 
ให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ลำาดับที่ 
1. หลวงอภิบาลพลขันธ์ อภิบาลพลขันธ์ (หลวง) 
- 4 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
32 
2. พระอศรานุพงศ์พิสุทธ อิศรานุพงศ์พิสุทธ (พระ) - 
5 
3. กรมหมื่นเทวานุรักษ์ เทวานุรักษ์ (กรมหมื่น) 
- 1 
4. ท่านผู้หญิงบุณเรือน ชุณหะวัณ บุญเรือน ชุณหะ 
วัณ(ท่านผู้หญิง) 2 
5. ดร.คุณหญิงภรณี มหานุนท์ ภรณี มหา 
นนท์(ดอกเตอร์,คุณหญิง) 3 
5. คำานำาหน้าชื่อที่เป็นฐานันดรศักดิ์ เช่น หม่อมหลวง หม่อม 
ราชวงศ์ หม่อมเจ้า ฯลฯ คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บให้ 
วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ลำาดับที่ 
1. ม.ร.ว. กระจ่าง อิศรางกูร กระจ่าง อิศรา 
งกูร (หม่อมราชวงศ์) 1 
2. ม.ล.เนื่องพร สุทัศน์ เนื่องพร สุทัศน์ 
(หม่อมหลวง) 5 
3. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช คึกฤทธิ์ ปราโมช 
(หม่อมราชวงศ์) 2 
4. ม.จ.ชะอุ่ม อิศรางกูร ชอุ่ม อิศรางกูร 
(หม่อมเจ้า) 4 
5. ม.ล.แฉล้ม สนิทวงศ์ แฉล้ม สนิท 
วงศ์ (หม่อมหลวง) 3 
ข้อยกเว้น ฐานันดรศักดิ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จ 
พระนางเจ้าพระบรมราชินี สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ สมเด็จพระเจ้า 
ลูกเธอ เจ้าฟ้า และพระราชวงศ์ที่ใกล้ชิด ให้ถือว่าฐานันดรศักดิ์เหล่านี้ 
เป็นหน่วยเก็บและเป็นหน่วยเก็บหน่วยที่ 1 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ลำาดับที่ 
1. พระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จ ภู มิพ ล 
อดุลยเดช 1 
ภูมิพลอดุลยเดช พระเจ้าอยู่หัว 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
33 
2. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สมเด็จพระบรมโอรสา เ จ้า ฟ้า 
มหาวิชิราลงกรณ์ 2 
เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ ธิราช สยามมกุฏราชกุมาร 
สยามมกุฎราชกุมาร 
6. คำานำาหน้าชื่อที่เป็นสมณศักดิ์ เช่น สมเด็จ พระครู มหา ฯลฯ 
คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บแต่ให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วย 
สุดท้าย 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ลำาดับที่ 
1. พระเทพมุนี เทพมุนี (พระ) - 
1 
2. พระครูวิสุทธิสถาพร วิสุทธิสถาพร (พระครู) - 
4 
3. พระครูภาวนาภิธาน ภาวนาภิธาน (พระครู) - 
3 
4. มหาอมรเมธาจารย์ อมรเมธาจารย์ (มหา) - 
5 
5. พระธรรมปาโมกข์ ธรรมปาโมกข์ (พระ) - 
2 
กฎข้อที่ 4 ชื่อชาวยุโรปที่เขียนเป็นภาษาไทย ให้จดัหน่วยดัชนีแบบ 
ภาษาอังกฤษ คือ ชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 1 ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 2 ชื่อรอง 
เป็นหน่วยที่ 3 คำานำาหน้าชื่อให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 
1. นายจอห์น เอ รีดเดอร์ รีดเดอร์ จอห์น 
เอ (นาย) 5 
2. นางมาร์กาเร็ต แธตเชอร์ แธตเชอร์ มาร์กาเร็ต (นาง) 
- 2 
3. นายปีเตอร์ โอเฮน เฟลล์เนอร์ เฟลล์เนอร์ปีเตอร์ โอ 
เฮน (นาย) 4 
4. นายอเล็กซานเดอร์ เค เมสเบิต์ตนิค เมสเบิร์ตนิค อเล็กซานเด 
อร์ เค (นาย) 3 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
34 
5. นายยิดซัด ชามีร์ ชามีร์ ยิดซัด (นาย) - 
1 
กฎข้อที่ 5 ชื่อบุคคลที่มีที่อยู่รวมอยู่ด้วยนั้น การจัดหน่วยดัชนีจะจัด 
ดังนี้ คือ ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 1 ชื่อรองเป็นหน่วยที่ 2 ชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 
3 และจะตามด้วยที่อยู่โดยจะเรียงจากหน่วยใหญ่ที่สุดไปหาหน่วยที่เล็ก 
ที่สุด คือ จังหวัด อำาเภอ ตำาบล ถนน ตรอก/ซอย หมู่ที่ บ้านเลขที่ ซึ่ง 
คำานำาหน้าว่าเป็นจังหวัด อำาเภอ ฯลฯ จะไม่ถือเป็นหน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ 
ท้ายหน่วยที่ปรากฏ 
2. ชื่อบริษัท – ห้างร้าน 
กฎข้อที่ 1 ชื่อสถานประกอบการค้า การจัดหน่วยดัชนีชื่อห้างร้านให้ 
จัดเรียงตามลำาดับที่เขียนมา โดยคำาที่บอกว่าเป็นสถานประกอบการค้า 
ประเภทใดที่นำาหน้าอยู่นั้นจะไม่ถือเป็นหน่วยเก็บ เช่น คำาว่า ร้าน บริษัท 
ห้างหุ้นส่วนจำากัด สำานักงาน ฯลฯ ซึ่งคำาเหล่านี้จะวงเล็บไว้หลังหน่วย 
สุดท้าย 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ลำาดับที่ 
1. ร้านกระจกสหไทย สหไทย (ร้านกระจก) - 
4 
2. ห้างหุ้นส่วนจำากัดมิ่งสิลป์ มิ่งศิลป์ (ห้างหุ้นส่วนจำากัด) - 
3 
3. ร้านสิทธิเดช สิทธิเดช (ร้าน) - 
5 
4. ร้านขายทองทวีผล ทวีผล (ร้านขายทอง) - 
2 
5. ห้องอาหารจวนทอง จวนทอง (ห้องอาหาร) 
- 1 
กฏข้อที่ 2 ชื่อสถานประกอบการค้าที่ใช้ชื่อตัวและชื่อสกุลมาตั้งเป็นชื่อ 
สถานประกอบการค้า ก็ให้จัดเก็บดัชนีแบบชื่อบุคคล และคำาที่บอก 
ประเภทของธุรกิจให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
35 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ลำาดับที่ 
1. สำานักงานรัชนี สมิทธิพงศ์ รัชนี สมิทธิพงศ์ 
(สำานักงาน) 3 
2. ร้านอาหารนันทิดา แก้วบัวสาย นันทิดา แก้วบัว 
สาย 1 
3. สำานักงานบ้านและที่ดินสุนทร เปรมฤทัย สุนทร 
เปรมฤทัย(สำานักงาน 5 
บ้านและที่ดิน) 
4. ห้างขายยาบวร มงคลสัย บวร มงคลสัย (ห้าง 
ขายยา) 2 
5. โรงพิมพ์วัฒนา เกิดสุข วัฒนา เกิดสุข (โรง 
พิมพ์) 4 
กฎข้อที่ 3 ชื่อสถานประกอบการค้าที่มีคำาบอกประเภทของธุรกิจตาม 
หลังชื่อ ให้นับเป็นหน่วยเก็บด้วยซึ่งคำาบอกประเภทของธุรกิจที่ตามหลัง 
ชื่อนั้นบางครั้งเขียนติดกับชื่อ บางครั้งเขียนแยกจากชื่อ ซึ่งถ้าคำาที่บอก 
ประเภทของธุรกิจนั้นเขียนติดกับชื่อให้ถือว่าเป็นหน่วยเดียวกันกับชื่อ 
แต่ถ้าคำาที่บอกธุรกิจเขียนแยกจากชื่อให้ถือว่าเป็นคนละหน่วยกับชื่อนั้น 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 
ลำาดับที่ 
1. ห้างหุ้นส่วนจำากัดพนาสินก่อสร้าง พนาสินก่อสร้าง - 
4 
(ห้างหุ้นส่วนจำากัด) 
2. บางนา โพลีคลีนิค บางนา โพลีคลีนิค 
2 
3. สมิหราทัวร์ สมิหราทัวร์ - 
5 
4. ร้านประจักษ์ เฟอร์นิเจอร์ ประจักษ์ 
เฟอร์นิเจอร์(ร้าน) 3 
5. ร้านแก้วใจ สโตร์ แก้วใจ สโตร์ (ร้าน) 
1 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
36 
กฎข้อที่ 4 ชื่อสถานประกอบการค้าที่มีคำาว่า “จำากัด” ต่อท้ายชื่อบริษัท 
ให้ถือว่าคำาว่า “จำากัด” เป็นหน่วยเก็บหน่วยหนึ่งด้วย 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 
ลำาดับที่ 
1. บริษัทอินทรา เซรามิค จำากัด อินทรา เซรามิค 
จำากัด (บริษัท) 5 
2. บริษัทไมโครบริดจ์ จำากัด ไมโครบริดจ์ จำากัด (บริษัท) 
- 3 
3. ห้างหุ้นส่วนจำากัดทอมกาดา ทอมกาดา(ห้างหุ้นส่วนจำากัด) 
- 1 
4. บริษัทเมโทร จำากัด เมโทร จำากัด (บริษัท) - 
2 
5. บริษัทสากลภัณฑ์ จำากัด สากลภัณฑ์ จำากัด (บริษัท) - 
4 
กฎข้อที่ 5 ชื่อสถานประกอบการค้าที่มีอักษรย่อรวมอยู่ด้วย ให้ถือว่า 
อักษรย่อแต่ละตัวนั้นเป็นหน่วยเก็บหน่วยหนึ่ง 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 
1. ร้าน ก พานิช ก พานิช (ร้าน - 
3 
2. ห้างขายยา ก ข ค ก ข ค (ห้างขาย 
ยา) 2 
3. บริษัท ก กิ่งแก้ว จำากัด ก กิ่งแก้ว จำากัด (บริษัท) 
1 
4. ร้าน ช การช่าง ช การช่าง (ร้าน) - 
5 
5. โรงหล่อ จ เจริญกิจ จ เจริญกิจ (โรงหล่อ) - 
4 
กฎข้อที่ 6 ชื่อสถานประกอบการค้าที่มีคำาอยู่ในวงเล็บด้วย ในการจัด 
หน่วยดัชนีให้ถือว่าคำาที่อยู่ในวงเล็บเป็นหน่วยเก็บหน่วยหนึ่งและต้อง 
เอาวงเล็บออก 
ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วย 
ที่ 3 หน่วยที่ 4 ลำาดับที่ 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
37 
1. บริษัทรีไลอันซ์ เอ็นจิเนียริ่ง รีไลอันซ์ เอ็นจิเนียริ่ง 
ประเทศไทย จำากัด(บริษัท) 4 
(ประเทศไทย) จำากัด 
2. บริษัทย่งเช็งง้วน (กรุงเทพ) จำากัด ย่งเช็งง้วน กรุงเทพ 
จำากัด (บริษัท) - 3 
3. บริษัทพีม (ประเทศไทย) จำากัด พีม ประเทศไทย จำากัด 
(บริษัท) - 2 
4. หจก. ซื่อเจริญกิจ (นำ่าฮั่วหลี) ชื่อเจริญกิจ นำ่าฮั่วหลี 
(ห้างหุ้นส่วนจำากัด) - 1 
5. บริษัทล็อกซเล่ย์ (กรุงเทพ) จำากัด ล็อกซเล่ย์ กรุงเทพ 
จำากัด (บริษัท) - 5 
วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน

More Related Content

What's hot

ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้Theyok Tanya
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3Khunnawang Khunnawang
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มeeii
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยEakkamol Dechudom
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้Ploykarn Lamdual
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 

What's hot (20)

หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 

Viewers also liked

《數字堡壘》作者:丹·布朗著
《數字堡壘》作者:丹·布朗著《數字堡壘》作者:丹·布朗著
《數字堡壘》作者:丹·布朗著stewardccm
 
การจัดเอกสาร
การจัดเอกสารการจัดเอกสาร
การจัดเอกสารkoratswpark
 
การทำงานธุรการ สารบรรณ
การทำงานธุรการ สารบรรณการทำงานธุรการ สารบรรณ
การทำงานธุรการ สารบรรณSukanya Polratanamonkol
 
เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน Panuwat Noonkong
 
ธุรการ
ธุรการธุรการ
ธุรการMa Meaw Naka
 
ระบบจัดเก็บแฟ้มทะเบียนประวัติพนักงาน Employee self service
ระบบจัดเก็บแฟ้มทะเบียนประวัติพนักงาน Employee self serviceระบบจัดเก็บแฟ้มทะเบียนประวัติพนักงาน Employee self service
ระบบจัดเก็บแฟ้มทะเบียนประวัติพนักงาน Employee self serviceIcezaa Chokmoa
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยChatchamon Uthaikao
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลSatapon Yosakonkun
 

Viewers also liked (9)

《數字堡壘》作者:丹·布朗著
《數字堡壘》作者:丹·布朗著《數字堡壘》作者:丹·布朗著
《數字堡壘》作者:丹·布朗著
 
การจัดเอกสาร
การจัดเอกสารการจัดเอกสาร
การจัดเอกสาร
 
การทำงานธุรการ สารบรรณ
การทำงานธุรการ สารบรรณการทำงานธุรการ สารบรรณ
การทำงานธุรการ สารบรรณ
 
เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน
 
ธุรการ
ธุรการธุรการ
ธุรการ
 
การจัดการเอกสาร
การจัดการเอกสารการจัดการเอกสาร
การจัดการเอกสาร
 
ระบบจัดเก็บแฟ้มทะเบียนประวัติพนักงาน Employee self service
ระบบจัดเก็บแฟ้มทะเบียนประวัติพนักงาน Employee self serviceระบบจัดเก็บแฟ้มทะเบียนประวัติพนักงาน Employee self service
ระบบจัดเก็บแฟ้มทะเบียนประวัติพนักงาน Employee self service
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทย
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
 

More from 0981081205

งานแพท
งานแพทงานแพท
งานแพท0981081205
 
การนำเสนอนี้เป็นผลงานของ
การนำเสนอนี้เป็นผลงานของการนำเสนอนี้เป็นผลงานของ
การนำเสนอนี้เป็นผลงานของ0981081205
 
ใบงายที่14ใบงานประชาสัมพันธ์
ใบงายที่14ใบงานประชาสัมพันธ์ใบงายที่14ใบงานประชาสัมพันธ์
ใบงายที่14ใบงานประชาสัมพันธ์0981081205
 
ใบงานที่11 แผ่นพับ
ใบงานที่11 แผ่นพับใบงานที่11 แผ่นพับ
ใบงานที่11 แผ่นพับ0981081205
 
ใบงานที่ 18 จดหมายเวียน
ใบงานที่ 18 จดหมายเวียนใบงานที่ 18 จดหมายเวียน
ใบงานที่ 18 จดหมายเวียน0981081205
 
ใบงานที่ 16 แบบพิมพ์ 16.1
ใบงานที่ 16 แบบพิมพ์ 16.1ใบงานที่ 16 แบบพิมพ์ 16.1
ใบงานที่ 16 แบบพิมพ์ 16.10981081205
 
ใบงานที่ 15 บัตรอวยพร
ใบงานที่ 15 บัตรอวยพรใบงานที่ 15 บัตรอวยพร
ใบงานที่ 15 บัตรอวยพร0981081205
 
ใบงานที่ 13 แบบพิมพ์ 13.1
ใบงานที่ 13 แบบพิมพ์ 13.1 ใบงานที่ 13 แบบพิมพ์ 13.1
ใบงานที่ 13 แบบพิมพ์ 13.1 0981081205
 
ใบงานที่ 12 แบบพิมพ์ 12.1
ใบงานที่ 12 แบบพิมพ์ 12.1 ใบงานที่ 12 แบบพิมพ์ 12.1
ใบงานที่ 12 แบบพิมพ์ 12.1 0981081205
 
ใบงานที่ 10 แบบพิมพ์ที่ 10.1
ใบงานที่ 10 แบบพิมพ์ที่ 10.1 ใบงานที่ 10 แบบพิมพ์ที่ 10.1
ใบงานที่ 10 แบบพิมพ์ที่ 10.1 0981081205
 
ใบงานที่ 9 แบบพิมพ์ 9.1
ใบงานที่ 9 แบบพิมพ์ 9.1ใบงานที่ 9 แบบพิมพ์ 9.1
ใบงานที่ 9 แบบพิมพ์ 9.10981081205
 
ใบงานที่ 8 แบบพิมพ์ 8.1
ใบงานที่ 8 แบบพิมพ์ 8.1 ใบงานที่ 8 แบบพิมพ์ 8.1
ใบงานที่ 8 แบบพิมพ์ 8.1 0981081205
 
ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1
ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1
ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.10981081205
 
ใบงานที่ 6 แบบพิมพ์ 6.1
ใบงานที่ 6 แบบพิมพ์ 6.1ใบงานที่ 6 แบบพิมพ์ 6.1
ใบงานที่ 6 แบบพิมพ์ 6.10981081205
 
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.10981081205
 
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.20981081205
 
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.1
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.1 ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.1
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.1 0981081205
 
ใบงานที่ 3 แบบพิมพ์ 3.2
ใบงานที่ 3 แบบพิมพ์ 3.2 ใบงานที่ 3 แบบพิมพ์ 3.2
ใบงานที่ 3 แบบพิมพ์ 3.2 0981081205
 
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษแบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ0981081205
 
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาไทย
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาไทยแบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาไทย
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาไทย0981081205
 

More from 0981081205 (20)

งานแพท
งานแพทงานแพท
งานแพท
 
การนำเสนอนี้เป็นผลงานของ
การนำเสนอนี้เป็นผลงานของการนำเสนอนี้เป็นผลงานของ
การนำเสนอนี้เป็นผลงานของ
 
ใบงายที่14ใบงานประชาสัมพันธ์
ใบงายที่14ใบงานประชาสัมพันธ์ใบงายที่14ใบงานประชาสัมพันธ์
ใบงายที่14ใบงานประชาสัมพันธ์
 
ใบงานที่11 แผ่นพับ
ใบงานที่11 แผ่นพับใบงานที่11 แผ่นพับ
ใบงานที่11 แผ่นพับ
 
ใบงานที่ 18 จดหมายเวียน
ใบงานที่ 18 จดหมายเวียนใบงานที่ 18 จดหมายเวียน
ใบงานที่ 18 จดหมายเวียน
 
ใบงานที่ 16 แบบพิมพ์ 16.1
ใบงานที่ 16 แบบพิมพ์ 16.1ใบงานที่ 16 แบบพิมพ์ 16.1
ใบงานที่ 16 แบบพิมพ์ 16.1
 
ใบงานที่ 15 บัตรอวยพร
ใบงานที่ 15 บัตรอวยพรใบงานที่ 15 บัตรอวยพร
ใบงานที่ 15 บัตรอวยพร
 
ใบงานที่ 13 แบบพิมพ์ 13.1
ใบงานที่ 13 แบบพิมพ์ 13.1 ใบงานที่ 13 แบบพิมพ์ 13.1
ใบงานที่ 13 แบบพิมพ์ 13.1
 
ใบงานที่ 12 แบบพิมพ์ 12.1
ใบงานที่ 12 แบบพิมพ์ 12.1 ใบงานที่ 12 แบบพิมพ์ 12.1
ใบงานที่ 12 แบบพิมพ์ 12.1
 
ใบงานที่ 10 แบบพิมพ์ที่ 10.1
ใบงานที่ 10 แบบพิมพ์ที่ 10.1 ใบงานที่ 10 แบบพิมพ์ที่ 10.1
ใบงานที่ 10 แบบพิมพ์ที่ 10.1
 
ใบงานที่ 9 แบบพิมพ์ 9.1
ใบงานที่ 9 แบบพิมพ์ 9.1ใบงานที่ 9 แบบพิมพ์ 9.1
ใบงานที่ 9 แบบพิมพ์ 9.1
 
ใบงานที่ 8 แบบพิมพ์ 8.1
ใบงานที่ 8 แบบพิมพ์ 8.1 ใบงานที่ 8 แบบพิมพ์ 8.1
ใบงานที่ 8 แบบพิมพ์ 8.1
 
ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1
ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1
ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1
 
ใบงานที่ 6 แบบพิมพ์ 6.1
ใบงานที่ 6 แบบพิมพ์ 6.1ใบงานที่ 6 แบบพิมพ์ 6.1
ใบงานที่ 6 แบบพิมพ์ 6.1
 
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
 
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.2
 
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.1
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.1 ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.1
ใบงานที่ 4 แบบพิมพ์ 4.1
 
ใบงานที่ 3 แบบพิมพ์ 3.2
ใบงานที่ 3 แบบพิมพ์ 3.2 ใบงานที่ 3 แบบพิมพ์ 3.2
ใบงานที่ 3 แบบพิมพ์ 3.2
 
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษแบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
 
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาไทย
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาไทยแบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาไทย
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาไทย
 

บทที่ 5

  • 1. 1 หน่วยที่ 5 ระบบการจัดเก็บเอกสาร 5.1. งานเก็บเอกสาร ความหมายและความสำาคัญของการเก็บเอกสาร การเก็บเอกสาร (Filing) หมายถึง กระบวนการในการจำาแนก จัดเก็บเอกสารให้เป็นระเบียบเพื่อให้ค้นหาเอกสารได้ทันทีที่ต้องการใช้ ความสำาคัญของการเก็บเอกสาร เมื่อธุรกิจให้ความสำาคัญกับ เอกสารโดยถือว่าเอกสารเป็นเสมือนความจำาของธุรกิจและเอกสารใช้ เป็นหลักฐานสำาคัญที่ต้องเก็บไว้เพื่อการตรวจสอบหรือค้นคว้าใน อนาคตแล้ว ดังนี้ธุรกิจจึงต้องมีการจัดเก็บเอกสารที่ดี เพื่อรวบรวม เอกสารให้เป็นหมวดหมู่ เป็นระเบียบ เอกสารไม่ชำารุดเสียหาย สะดวก ต่อการค้นหาเมื่อต้องการใช้ และเป็นวิธีการเก็บเอกสารที่เหมาะสมกับ ธุรกิจ ซึ่งผู้ที่มีหน้าที่ในการเก็บเอกสารจำาเป็นต้องมีความรู้ด้านการเก็บ เอกสารเป็นอย่างดีด้วย ดังนั้นก่อนจะเก็บเอกสารจะต้องมีการวางแผน ไว้ล่วงหน้าให้พร้อมโดยคำานึงถึงสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สถานที่เก็บ เอกสาร อุปกรณ์สำาหรับเก็บเอกสาร ระบบการจัดเก็บเอกสาร ขั้นตอนใน การปฏิบัติเกี่ยวกับเอกสาร เป็นต้น วัตถุประสงค์ของการเก็บเอกสาร แหล่งเก็บเอกสารเปรียบเสมือนศูนย์ความจำาของธุรกิจและเป็นที่ รวบรวมหลักฐานต่าง ๆ ของธุรกิจไว้ทั้งหมด การที่ธุรกิจเก็บเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ไว้รวมกันก็เพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. เพื่อรวบรวมเอกสารที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันจัดเข้าไว้ให้ เป็นหมวดหมู่และแหล่งเดียวกัน 2. เพื่อความสะดวกรวดเร็วและง่ายต่อการค้นหา 3. เพื่อให้เอกสารอยู่ในที่ที่ปลอดภัย 4. เพื่อเก็บเอกสารไว้เป็นหลักฐานอ้างอิงในอนาคต องค์ประกอบในการเก็บเอกสาร 1. เจ้าหน้าที่เก็บเอกสาร 2. เอกสาร 3. ระบบการจัดเก็บ 4. อุปกรณ์ในการจัดเก็บ 5. สถานที่ในการเก็บ วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 2. ระบบการเก็บเอกสาร 2 ระบบการเก็บเอกสารของแต่ละหน่วยงานอาจจะแตกต่างกัน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับลักษณะงาน จำานวนเอกสารที่แตกต่างกัน และความเหมาะสม ดังนั้นจึงอาจสรุปได้ว่าระบบการเก็บเอกสารที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบัน แบ่งออกได้เป็น 8 วิธี คือ 1. การเก็บเอกสารตามลำาดับตัวอักษร(Alphabetic Filing) เป็นวิธีการเก็บเอกสารที่นิยมมากที่สุด เป็นการเก็บเอกสารโดยเรียงตาม ตัวอักษร โดยดูจากชื่อบุคคล ชื่อบริษัทหรือห้างร้านก็ได้ ในการจัดเรียง ลำาดับนั้นจะคำานึงถึงตัวพยัญชนะว่า พยัญชนะใดมาก่อนหลัง ซึ่งใน ภาษาไทยเรียงจาก ก-ฮ และในภาษาอังกฤษเรียงจาก A-Z 2. การเก็บเอกสารตามตัวเลข (Numeric Filing) เป็นวิธีการ เก็บเอกสารโดยใช้ตัวเลขแทนชื่อบุคคล ชื่อบริษัท-ห้างร้าน โดยจะใช้ ตัวเลขเป็นหลักในการจัดเก็บ 3. การเก็บเอกสารตามภูมิศาสตร์ (Geographic Filing) เป็น วิธีการเก็บเอกสารโดยใช้ชื่อสถานที่ตั้ง ประเทศ จังหวัด อำาเภอ ตำาบล หมู่บ้าน เป็นหน่วยในการจัดเก็บ 4. การเก็บเอกสารตามชื่อเรื่อง (Subject Filing) เป็นการจัด เก็บเอกสาร โดยใช้ชื่อเรื่องเป็นหน่วยในการจัดเก็บ โดยแยกเอกสาร ออกเป็นแต่ละเรื่องแล้วจึงเรียงตามลำาดับตัวอักษรอีกครั้งหนึ่ง 5. การเก็บเอกสารตามเสียง (Soundex Filing) ใช้ในระบบ การเก็บเอกสารภาษาอังกฤษ โดยนำาเอาชื่อที่มีเสียงคล้ายกันมารวมกัน ไว้ในที่เดียวกันโดยไม่คำานึงถึงตัวสะกด 6. กา ร เก็บเอกสา รตามสี (Color Filing) เป็นวิธีการจัดเก็บ เอกสารที่ใช้สีเข้าช่วยในการจัดเก็บ โดยอาศัยสีเป็นเครื่องจำาแนก หมวดหมู่เอกสาร 7. การเก็บเอกสารตามปีปฏิทิน (Chronological Filing) เป็น วิธีการเก็บเอกสารตามวัน เดือน ปีปฏิทิน โดยอาศัยการเรียงลำาดับ เอกสารตามลำาดับวันที่ที่ได้รับเอกสารนั้น 8. กา ร เก็บเอกส า รด้วยไมโครฟิล์ม (Microfilming) เป็น ระบบเก็บเอกสารโดยถ่ายย่อเอกสารลงบนแผ่นฟิล์ม เพื่อประหยัดเนื้อที่ ในการจัดเก็บ และสะดวกในการค้นหา วิธีการเก็บด้วยไมโครฟิล์มนี้ ถือว่าเป็นวิธีการเก็บเอกสารที่ดีที่สุด แต่เสียค่าใช้จ่ายสูงมาก ระบบการจัดเก็บเอกสารที่ดี ประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้ คือ 1. ง่าย คือ ต้องเป็นระบบที่ง่ายในการปฏิบัติ วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 3. 3 2. ประหยัด ต้องเป็นระบบที่ประหยัดค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน 3. เหมาะสม ต้องเหมาะสมกับเอกสารและลักษณะของธุรกิจ 4. สามารถขยายระบบการจัดเก็บได้ 5. ควบคุมและทำาลายได้ง่าย คือ ต้องเป็นระบบที่สามารถควบคุม เอกสารไม่ให้กระจัดกระจายและไม่สูญหาย 6. สะดวกในการจัดเก็บและค้นหา 5.2. การเก็บเอกสารตามลำาดับตัวอักษรภาษาอังกฤษ การเก็บเอกสารตามลำาดับตัวอักษรภาษาอังกฤษจะมีการจัดเรียง ลำาดับพยัญชนะภาษาอังกฤษ คือ A-Z (A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z ) โดยถือว่าตัวอักษรที่ปรากฏอยู่นั้นเป็น พยัญชนะทุกตัวถึงแม้ว่าพยัญชนะบางตัว (A E I O U ) จะทำาหน้าที่เป็น สระก็ตาม ตัวอย่างการจัดเรียงตามลำาดับ เช่น Abel, Benson, Carton, Dallar ซึ่งเมื่อนำามาจัดเรียงลำาดับก็จะได้เป็น A-B-C-D เป็นต้น หลัก ในการพิจารณาจัดเรียงลำาดับคำาตามตัวอักษรภาษาอังกฤษจะต้อง พิจารณาดังต่อไปนี้ คือ 1. พิจารณาตัวอักษรแต่ละตัวว่าอะไรมาก่อนกัน ตัวอย่างเช่น Bill กับ Mary นั้นจะเห็นไดว่า B มาก่อน M ดัง นั้นจึงสรุปได้ว่า Bill ต้องมาก่อน Mary 2. ถ้าตัวอักษรตัวแรกเหมือนกันก็จะต้องไปพิจารณาตัวอักษรต่อ ไป เพื่อทำาการเปรียบเทียบ ตัวอย่าง เช่น Bell กับ Bill จะเห็นได้ว่าตัว อักษรตัว แ ร กข อ งทั้ง 2 คำา คือ B เหมือนกัน ดังนั้นจึงต้องไป พิจารณาตัวอักษรตัวต่อไปคือ ระหว่าง e กับ I ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบ ตัวอักษรแล้วปรากฏว่า e มาก่อน I ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า Bell ต้องมา ก่อน Bill 3. ถ้าตัวอักษรเหมือนกันทั้งคำาในหน่วยที่ 1 จะต้องไปพิจารณา ที่หน่วยต่อไป ตัวอย่างเช่น Central Shop กับ Central Bank จะ เห็นได้ว่าหน่วยที่ 1 คือ Central เหมือนกันทั้ง 2 คำา ดังนั้นในการ พิจารณาจัดลำาดับที่จึงต้องไปพิจารณาที่หน่วยที่ 2 คือระหว่าง Shop กับ Bank คือพิจารณาระหว่าง S กับ B ปรากฏว่า B มาก่อน S ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า Central Bank มาก่อน Central Shop วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 4. ศัพท์ที่ใช้ในการเก็บเอกสาร 4 ก่อนที่จะได้ศึกษากฎการเก็บเอกสารผู้เรียนควรจะมีความเข้าใจ เกี่ยวกับศัพท์ที่ใช้ในการเก็บเอกสารอันได้แก่ 1. หน่วย (Unit) คือ คำาแต่ละคำาที่ปรากฏในชื่อบุคคล ชื่อบริษัท- ห้างร้าน โดยถือว่าคำาแต่ละคำาเป็นแต่ละหน่วยในการเก็บ ตัวอย่างเช่น John Benson ซึ่งเป็นชื่อบุคคลนี้ จะมีหน่วยอยู่ 2 หน่วย คือ Benson เป็นหน่วยที่ 1 และ John เป็นหน่วยที่ 2 2. หน่วยดัชนี (Indexing Unit) หมายถึง การนำาชื่อบุคคล ชื่อ บริษัท-ห้างร้าน มาพิจารณาว่า หน่วยใดจะเป็นหน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 และหน่วยที่ 3 ตามลำาดับ การจัดหน่วยดัชนีต้องเป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่ จะได้ศึกษาต่อไป ตัวอย่างเช่น Mary K. Thomson ในการจัดหน่วยดัชนีจะจัดดังนี้ คือ ดัชนีหน่วยที่ 1 Thomson ดัชนีหน่วยที่ 2 Mary ดัชนีหน่วยที่ 3 K กฎเกณฑ์การจัดเรียงหน่วยดัชนีภาษาอังกฤษ แบ่งออกเป็น 4 หัวข้อดังนี้คือ 1. ชื่อบุคคล 2. ชื่อบริษัท-ห้างร้าน 3. ชื่อธนาคารและหน่วยงานรัฐบาล 4. ชื่ออื่น ๆ ซึ่งชื่อต่างๆเหล่านี้จะมีวิธีการจัดแยกหน่วยดัชนีและจัดเรียงลำาดับ หน่วยดัชนีแตกต่างกันดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. ชื่อบุคคล กฎข้อที่ 1 การจัดเรียงหน่วยดัชนีชื่อบุคคลโดยปกติชื่อชาวต่าง ประเทศนิยมมี 3 หน่วย คือ มีชื่อตัว ชื่อกลาง และชื่อสกุล ซึ่งในการจัด ดัชนีชื่อนั้นจะให้ความสำาคัญที่ชื่อสกุลก่อน ดังนั้นจะจัดหน่วยดัชนีดังนี้ วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 5. 5 คือ ชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 1 ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 2 และชื่อกลางเป็นหน่วยที่ 3 ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. Auther S. Benson Benson Auther S. 1 2. John Hamilton Hamilton John - 2 3. A. D. Judson Judson A. D. 3 4. H. J. Thompson Thompson H. J. 5 5. Ross Anne Miller Miller Ross Anne 4 กฎข้อที่ 2 2.1. ชื่อที่สั้นจะเรียงลำาดับก่อนชื่อที่ยาว ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. A.S. Aron Aron A. S. 1 2. Auther A. Aron Aron Auther A. 2 3. Harry S. Baron Baron Harry S. 3 4. Harry Samuel Baron Baron Harry Samuel 4 จากตัวอย่างข้อ 1 - 2 หน่วยที่ 1 คือ Aron เหมือนกันทุกตัว อักษร จึงต้องไปพิจารณาที่หน่วยที่ 2 คือระหว่าง A. กับ Auther ซึ่งจะเห็นได้ว่าในข้อ 1 มี A เพียงตัวเดียว ซึ่งถือว่าสั้นกว่า Auther ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า A. S. Aron มาก่อน Auther A. Aron จากตัวอย่างข้อ 3-4 หน่วยที่ 1 และหน่วยที่ 2 เหมือนกันทุก ตัวอักษร จึงต้องไปพิจารณาที่หน่วยที่ 3 คือ S. กับ Samuel ซึ่งจะเห็น ว่าในข้อ 3 มี S. เพียงตัวเดียว ซึ่งถือว่าสั้นกว่า Samuel ดังนั้นจึงสรุป ได้ว่า Harry S. Baron มาก่อน Harry Samuel Baron วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 6. 6 2.2. ชื่อตัว – ชื่อสกุล ที่ไม่มีชื่อกลา งจะจัดเ รียงลำา ดับ ก่อนชื่อตัว - ชื่อสกุลที่มีชื่อกลาง ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. John Smith Smith John - 1 2. John H. Smith Smith John H. 2 3. William Smith Smith William - 3 4. William Thomas Smith Smith William Thomas 4 จากตัวอย่างข้อ 1-2 หน่วยที่ 1 และหน่วยที่ 2 เหมือนกันทุกตัว อักษร จึงต้องไปพิจารณาที่หน่วยที่ 3 ซึ่งข้อ 1 ไม่มี แต่ข้อ 2 มี คือ H จึงสรุปได้ว่า John Smith มาก่อน John H. Smith จากตัวอย่างข้อ 3-4 หน่วยที่ 1 และหน่วยที่ 2 เหมือนกันทุกตัว อักษร จึงต้องไปพิจารณาที่หน่วยที่ 3 ซึ่งข้อ 3 ไม่มี แต่ ข้อ 4 มี คือ Thomas จึงสรุปได้ว่า William Smith มาก่อน William Thomas Smith กฎข้อที่ 3 ชื่อสกุลที่มีอุปสรรค (prefix) เช่น d, , D, , De, de, la, di, Fits, La, Le, M, , Mc, Mac, O, Van, van Von, Vonder, vonder และ St. เป็นต้น คำาเหล่านี้ให้ถือว่าเป็นหน่วยเดียวกับชื่อ สกุล และจัดเรียงตามลำาดับตัวอักษร (ยกเว้น St. จะต้องเขียนเป็นตัว เต็มว่า Saint) ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. Hugh O, Neill O, Neill Hugh - 4 2. Sara McFadden McFadden Sara - 2 3. Michael D, Fao D, Fao Michael - 1 4. J. B. VanTime VanTime J. B. 5 วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 7. 7 5. Luke R. McGuiness McGuiness Luke R. 3 กฎข้อที่ 4 ชื่อสกุลที่เชื่อมด้วยเครื่องหมายยัติภังค์ (Hyphenated Surname) ชื่อสกุลที่เชื่อมด้วยยัติภังค์ (-) ให้ถือว่าเป็นหน่วยเดียวกัน ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. J. Frank Hall-Quest hall-Quest J. Frank 1 2. Allen L. Ross-Sanders Ross-Sanders Allen L. 3 3. Fred Klingen-Smith Klingen-Smith Fred - 2 4. Leslie B. Smith-Jones Smith-Jones Leslie B. 4 5. Milton F. Taft-Bartly Taft-Bartly Milton F. 5 กฎข้อที่ 5 ชื่อบุคคลที่มีคำาย่อ (Abbreviations) ชื่อบุคคลที่มีคำาย่อใน การจัดหน่วยดัชนีจะต้องเปลี่ยนคำาย่อให้เป็นคำาเต็มเสียก่อนและถือเป็น หน่วยดัชนีหน่วยหนึ่งด้วย Benj. = Benjamin Robt. = Robert Chas= Charles Sam , l = Samuel Don. = Donald St. = Saint (ให้ถือเป็นหน่วยเก็บ) Ed. = Edward Theo. = Thoeder Geo. = George Thos. = Thomas Jas. = James Wm = William Jh. = John Jos. = Joseph ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 ลำาดับที่ 1. Chas. R. Laporte Laporte Charles R. 2 วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 8. 8 2. Wm. W. Buist Buist William W. 1 3. Jas. Morrison Morrison James - 3 4. Benj. R. Webb Webb Benjamin R. 5 5. Ed. K. VonDerpool VonDerpool Edward K. 4 กฎข้อที่ 6 ชื่อยากและแปลกโดยปกติชื่อชาวเอเชียถือเป็นชื่อยากและ แปลก และตามประเพณีนิยมถือว่า ชื่อตัวสำาคัญกว่าชื่อสกุล การแยก หน่วยดัชนีให้ใช้ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 1 ชื่อกลาง (ถ้ามี) เป็นหน่วยที่ 2 และชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 3 ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ ว ย ที่ 3 ลำาดับที่ 1. Pan Chin Shih Pan Chin Shit 4 2. Sharda Pati Sharda Pati - 5 3. Chiang Kai-Shek Chiang Kai-Shek - 1 4. Chong Lu Chong Lu - 2 5. Lui Feng Lui Feng - 3 กฎข้อที่ 7 คำานำาหน้าชื่อ (Titles) 1. คำานำาหน้าชื่อส่วนตัวที่บอกเพศ เช่น Mr., Mrs., Miss และ Esq. คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วย สุดท้าย ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. Mrs. Mary Blaine Blaine Mary (Mrs.) - 2 2. Mr. Edward Frantz Frantz Edward (Mr.) - 3 วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 9. 9 3. Francis Fuller, Esq. Fuller Francis (Esq.) - 4 4. Miss Mary M. Allan Allan Mary M. (Miss) 1 5. Mrs. Anna R. Laber Laber Anna R. (Mrs.) 5 2. คำา นำา ห น้า ชื่อ ท า ง อ า ชีพ เ ช่น Dr. (Doctor), Prof. (Professor), Director, Mayor คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วย เก็บให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 ลำาดับที่ 1. John G. Kirk, Director Kirk John G. (Director) 3 2. Dr. Harry Blain Blain Harry (Dr.) - 1 3. Mayor John J. Ryan Ryan John J. (Mayor) 4 4. Dr. Walter Greene Greene Walter (Dr.) - 2 5. Prof. William Winchester Winchester William (Prof.) - 5 3. คำานำาหน้าชื่อในภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ เช่น Madame, Monsieur, Signor, Signornita คำานำาชื่อเหล่านี้ให้นับ เป็นหน่วยดัชนีด้วย โดยให้เก็บไว้เป็นหน่วยที่ 1 และตามด้วยชื่อสกุล เป็นหน่วยที่ 2 ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 3 ชื่อกลาง (ถ้ามี) เป็นหน่วยที่ 4 ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. Madame X Madame X - 2 2. Signor Emile Geschick Signor Geschick Emile 4 3. Monsieur J. Louise Monsieur Louise J. 3 วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 10. 10 4. Madame Bertha Wisler Madame Wisler Bertha 1 5. Signornita Mervine Signornita Mervine - 5 4. คำา นำา หน้าชื่อทางศาสนา เช่น Father, Sister, Brother, Elder, Pope คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้นับเป็นหน่วยดัชนีด้วย โดยให้เก็บ ไว้เป็นหน่วยที่ 1 และตามด้วยชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 2 ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 3 ชื่อกลาง (ถ้ามี) เป็นหน่วยที่ 4 ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. Brother Andrew Brother Andrew - 1 2. Father Pierre Father Pierre - 3 3. Sister Mary Martha Sister Martha Mary 5 4. Sister Jones Sister Jones - 4 5. Elder Walter Daniel Elder Daniel Walter 2 5. คำานำาหน้าชื่อที่แสดงฐานันดรศักดิ์ คำาแสดงฐานันดรศักดิ์ ขุนนางอังกฤษ เช่น Duke, Earl, Sir, Lord คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ ถือเป็นหน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย แต่ถ้าคำาแสดงฐานันดร ศัก ดิ์ขุน น า ง ข อ ง ช า ติอื่น เ ช่น Baron, Baronness, Count, Countess etc. คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้นับเป็นหน่วยดัชนีด้วย โดยให้ เก็บไว้เป็นหน่วยที่ 1 ข้อยกเว้นคำา แ ส ด ง ฐ า นัน ด ร ศัก ดิ์ King, Queen, Prince, Princess ให้ถือเป็นหน่วยดัชนี โดยให้เก็บไว้เป็นหน่วยที่ 1 ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. Sir William M. Brogan Brogan William M. (Sir) 2 2. Princess Margaret Princess Margaret - 4 3. Lord Robert J. RossRoss Robert J. (Lord) 5 วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 11. 11 4. Baron Samuel Martha Baron Martha Samuel 1 5. Count Zelda Smith Count Smith Zelda 3 กฎข้อที่ 8 คำำแสดงคุณวุฒิ (Degrees) หมำยถึง กำรระบุชื่อปริญญำ ที่ได้รับ ซึ่งจะเขียนต่อท้ำยชื่อบุคคล เช่น B.A., M.A., M.Sc., M.D., Ph.D. เป็นต้น คำำเหล่ำนี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ท้ำยหน่วย สุดท้ำย ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 ลำำดับที่ 1. Prof. John Andrews Andrews John (Prof.) - 1 2. John G. Culver, Ph.D. Culver John G. (Ph.D.) 4 3. Arthur E. Brown, M.D. Brown Arthur E. (M.D.) 2 4. Laura H. Cadwallader, B.A.,Ph.D. Cadwallader Laura H. (B.A.,Ph.D.) 3 5. S. Ada Rice, B.S. in Ed. Rice S. Ada (B.S. in Ed.) 5 กฎข้อที่ 9 คำำแสดงอำวุโส (Seniority) โดยปกติจะเขียนไว้ต่อท้ำยชื่อ ซึ่งถ้ำเป็นคำำย่อจะต้องสะกดเป็นคำำเต็มเสียก่อนและถือเป็นหน่วยเก็บ หน่วยสุดท้ำยของชื่อนั้น คำำแสดงอำวุโสได้แก่คำำว่ำ Jr = Junior Sr. = Senior I = Frist II = Second III = Third IV = Fourth V = Fifth ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วย ที่ 3 หน่วยที่4 ลำำดับที่ 1. Frank A. Braddock,II Braddock Frank A Third 3 วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
  • 12. 12 2. King Henry I King Henry First - 4 3. King Henry III King Henry Third - 5 4. Mr. Robert K. Barker, Jr. Barker Robert K. Junior(Mr.) 1 5. Mr. Robert K. Barker, Sr. Barker Robert K. Senior(Mr.) 2 กฎข้อที่ 10 สตรีที่แต่งงำนแล้ว ตำมปกติสตรีที่แต่งงำนถูกต้องตำม กฎหมำยแล้วจะต้องใช้ชื่อ – สกุล ของสำมี และใส่ชื่อ-สกุลเดิมไว้ใน วงเล็บ เช่น Mrs. John H. Kennedy (Jackerleine Gardner) ซึ่งเวลำ จัดหน่วยดัชนีจะจัดดังนี้ คือ นำมสกุลสำมี (Kennedy) เป็นหน่วยที่ 1 ชื่อต้นของผู้หญิง (Jackerleine) เป็นหน่วยที่ 2 นำมสกุลของผู้หญิง (Gardner) เป็นหน่วยที่ 3 และจะวงเล็บคำำนำำหน้ำชื่อพร้อมทั้งชื่อต้น และชื่อกลำงของสำมีไว้ (Mrs. John H.) ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำำดับที่ 1. Mrs. Thomas Smith Smith Mary Parker 3 (Mary Parker) (Mrs.Thomas) 2. Mrs. Frank Zeller Zeller Evelyn Marie 5 (Evelyn Marie) (Mrs.Frank) 3. Mrs Henry R. David David Henry R. (Mrs.) 1 4. Mrs. John New New Anna Wister (Mrs. John) 2 (Anna Wister) 5. Mrs. Davis C. Thomas Jame (Mrs.Davis C.) - 4 Thomas (Jame) กฎข้อที่ 11 ชื่อบุคคลที่มีที่อยู่รวมอยู่ด้วย กำรจัดหน่วยดัชนีที่อยู่นั้น จะจัดเรียงตำมลำำดับขั้นดังนี้ คือ ชื่อเมือง ชื่อรัฐ ชื่อถนน บ้ำนเลขที่ วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
  • 13. 13 ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 4 หน่วยที่ 5 หน่วยที่ 6 ลำำดับที่ 1. John Smith Smith John Kingston Illinois Beech Street 145 4 145 Beech St. Kingston Ill. 2. Harry Manton Manton Harry Kingston New YorkPearl Street 204 3 204 Pearl St. Kingston, N.Y. 3. Thomas Harrison Harrison Thomas ClevelandOhio First Street 10 1 10 First St. Cleveland, Ohio 4. Thomas Harrison Harrison Thomas Dayton Ohio Second Street 203 2 203 Second St. Dayton, Ohio 5. John Smith Smith John Kingston New York State Street 350 5 350 State St. Kingston, N.Y. วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
  • 14. 14 2. ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำน กฎข้อที่ 1 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำน จะจัดหน่วยดัชนีตำมลำำดับที่เขียน คำำที่ บอกว่ำเป็นสถำนประกอบกำรจะถือเป็นหน่วยเก็บด้วย หำกคำำที่บอก ธุรกิจนั้นเป็นคำำย่อต้องสะกดให้เป็นคำำเต็มด้วย คำำที่บอกประเภทธุรกิจ เช่น Assn. = Association Bro. = Brother Bros. = Brothers Bldg. = Building Co. = Company Corp. = Corporation Dept. = Department Inc. = Incorporated Intl. = International Ltd. = Limited Mfr. = Manufacture Mfg. = Manufacturing Mkt. = Market Mt. = Mount Nat , l = National ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 ลำำดับที่ 1. Little Repair Shop Little Repair Shop 4 2. Gunn Printing Company Gunn Printing. Company 2 3. Robertson Grocery Co. Robertson Grocery Company 5 4. Corn Exchange Market Corn ExchangeMarket 1 5. Hermitage Garage Hermitage Garage - 3 กฎข้อที่ 2 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำน ที่นำำเอำชื่อ-สกุล ของบุคคลมำตั้งเป็นชื่อ ร้ำน กำรจัดหน่วยดัชนีจะจัดเช่นเดียวกับชื่อบุคคล คือ ชื่อสกุลเป็น หน่วยที่ 1 ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 2 ชื่อกลำงเป็นหน่วยที่ 3 และคำำที่บอก ประเภทของธุรกิจจะเป็นหน่วยต่อไป ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ ว ย ที่ 3 หน่วยที่4 ลำำดับที่ 1. Albert Benton Coal Benton Albert Coal - 1 วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
  • 15. 15 2. John S. Kramer Co. Kramer John S. Company 3 3. Thomson Fruit Store Thomson Fruit Store - 5 4. William A. Huber Huber William A. Handicraft 2 5. Harry F. Parke Bros. Parke Harry F. Brothers 4 กฎข้อที่ 3 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำนที่นำำเอำชื่อ-สกุลมำตั้งเป็นชื่อร้ำน และ ชื่อ-สกุลของบุคคลนั้นเป็นชื่อยำกและแปลก ก็ให้จัดแยกหน่วยดัชนีตำม กำรจัดชื่อยำกและแปลก โดยให้ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 1 ชื่อกลำง (ถ้ำมี) เป็นหน่วยที่ 2 ชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 3 และคำำที่บอกประเภทธุรกิจเป็น หน่วยต่อไป ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 หน่วยที่4 ลำำดับที่ 1. Chang Sui Book Store Chang Sui Book Store 1 2. U-Tin Mong Department Store U-Tin Mong Department Store 4 3. Hong Chin Pao Laundry Hong Chin Pao Laundry 2 4. Kim Hong Beauty Saloon Kim Hong Beauty Saloon 3 5. Young Kee Sea Food Young Kee Sea Food 5 กฎข้อที่ 4 คำำนำำหน้ำชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำนที่ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บ ได้แก่ Article เช่น a, an, the Prepositions เช่น at, by, for, on, to, in Conjunction เช่น and Ampersand เช่น & วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
  • 16. 16 คำำเหล่ำนี้ไม่ถือเป็นหน่วยดัชนีใส่ไว้ในวงเล็บตรงหน่วยที่คำำเหล่ำ นี้วำงอยู่ ยกเว้น The เมื่อขึ้นต้นชื่อ บริษัท-ห้ำงร้ำน ต้องใส่วงเล็บและ ไว้ท้ำยหน่วยสุดท้ำย ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 4 ลำำดับที่ 1. The Cen Hat Co. Cen Hat Company(The) - 3 2. Black & Davis Black (&)Davis - - 1 3. Black and Davis Drugs Black (and) Davis Drugs - 2 4. Janes A to Z Service Janes A (to) Z Service 5 5. John the Tailor John (the) Tailor - - 4 กฎข้อที่ 5 ชื่อบริษัท – ห้ำงร้ำนที่มีเครื่องหมำยยติภังค์ (Hyphen) 1. ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำน ที่นำำเอำชื่อ-สกุลมำตั้งเป็นชื่อห้ำงร้ำน และ ชื่อสกุลนั้นเชื่อมด้วยเครื่องหมำยยติภังค์ (-) ชื่อสกุลนั้นจะถือเป็นหน่วย เดียวกัน ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ห น่ว ย ที่4 ลำำดับที่ 1. Hall-KramerPrinting Co. Hall-Kramer Printing Company - 3 2. John K. Kitty-Kat Products Kitty-Kat John K. Products 4 3. Hubert Smith-Johnson Smith-JohnsonHubert Food Dispenser 5 Food Dispenser 4. Uscar K. Clark-Harly Co. Clark-Harly Uscar K. Company 1 5. Jame Fitz-Gerald Fitz-Gerald Jame Dress Shop 2 วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
  • 17. 17 2. คำำ ๆ เดียวกัน เมื่อเวลำเขียนต้องมีเครื่องหมำยยติภังค์ (-) เชื่อม เช่น Up-to-date, Co-operative, Pre-eminent, X-ray ให้ ถือว่ำคำำเหล่ำนี้เป็นหน่วยดัชนีหน่วยเดียวกัน ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 หน่วยที่4 ลำำดับ 1. Pre-eminent Products Inc., Pre-eminent Products Incorporated - 3 2. Bangkok Co-operative Store Bankok Co-operative Store - 1 3. Up-to-date Corp. Up-to-date Corporation - - 4 4. X-ray Laboratory X-ray Laboratory - - 5 5. Bangna Commercial Bangna Commercial College Co-operative 2 College Co-operative 3. ตัวเลขที่เขียนเป็นตัวหนังสือและเชื่อมด้วยเครื่องหมำยยติภังค์ (-) ให้ถือว่ำเป็นหน่วยดัชนีหน่วยเดียวกัน ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 ห น่ว ย ที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำำดับที่ 1. Fourteen-Thirty Locust Store Fourteen-Thirty Locust Store 3 2. Fifteen-Twelve Department Store Fifteen-Twelve Department Store 1 3. Thirty Coins Corp. Thirty Coins Corporation 4 4. Forty-One Drug Store Forty-One Drug Store 2 5. Twenty-Eleven Gun Co. Twenty-Eleven Gun Company 5 4. คำำสองคำำที่เชื่อมด้วยเครื่องหมำยยติภังค์ (-) และไม่ใช่ชื่อสกุล ให้ถือว่ำเป็นคำำละหน่วยดัชนี ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 หน่วยที่4 ลำำดับที่ วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
  • 18. 18 1. Lyon-Murphy Furniture Co. Lyon Murphy Furniture Company 5 2. Davison-Winter Barber Davison Winter Barber - 1 3. Dolin-Norton Co. Dolin Norton Company - 2 4. G. - T. Hardware Co. G. T. Hardware Company 3 5. Hill-Chase & Co. Hill Chase (&) Company - 4 กฎข้อที่ 6 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำนที่เป็นอักษรเดียวหรืออักษรย่อ (มีจุด แสดงกำรย่อ) ให้ถือเป็นอักษรละหน่วยดัชนี ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 หน่วยที่4 หน่วยที่5 ลำำดับที่ 1. J. Co., Ltd. J. Company Limited - - 4 2. P. S. K. Rubber Co. P. S. K. Rubber Company 5 3. H. Coffee Shop H. Coffee Shop - - 3 4. A. B. C. Printer A. B. C. Printer - 2 5. A & A Auto Part A. (&) A Auto Part - 1 กฎข้อที่ 7 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำนที่ขึ้นต้นด้วยตัวเลขให้สะกดตัวเลขเป็น ตัวอักษรโดยสะกดเป็นคู่ ๆ ไป และให้ถือเป็นหน่วยเก็บ 1 หน่วย ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำำดับที่ 1. 40 Winks Motel Forty Winks Motel 2 2. 31st Barber Shop Thirty-First Barber Shop 5 วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
  • 19. 19 3. 1430 Gift Shop Fourteen-Thirty Gift Shop 3 4. The 40 West Co. Forty West Company (The) 1 5. 19th Street Garage Nineteenth Street Garage 4 กฎข้อที่ 8 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำนที่นำำชื่อบุคคลมำตั้งเป็นชื่อบริษัท-ห้ำง ร้ำน และชื่อบุคคลนั้นมีคำำย่อต้องเขียนคำำย่อนั้นเป็นคำำเต็มและจัดหน่วย ดัชนีเช่นเดียวกับชื่อบุคคล โดยคำำที่บอกประเภทธุรกิจจะอยู่ต่อท้ำย ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ห น่ว ย ที่4 ลำำดับที่ 1. Theo. Gery Tailor Shop Gery Theoder Tailor Shop 1 2. Jh. M. Smith & Sons Smith (&) John M. Sons 4 3. Jos. O. Wilson Garage Wilson Joseph O. Garage 5 4. Robt. Hay Richard Saloon Richard Robert Hay Saloon 2 5. James K. St. John Furniture Saint John James K. Furniture 3 กฎข้อที่ 9 คำำที่บอกทิศทำง ซึ่งอำจจะเขียนติดกันหรือเขียนแยกจำก กันก็ได้ให้ถือว่ำคำำ ๆ นั้นเป็นหน่วยดัชนีเดียวกัน ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 ลำำดับที่ 1. North Western Laundry North Western Laundry - 2 2. Northeastern Restaurant Northeastern Restaurant - 1 3. Northwestern Loan Co. Northwestern Loan Company 3 4. Southeastern Express Co. Southeastern Express Company 5 5. South Western Banking Co. South Western Banking Company 4 วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
  • 20. 20 กฎข้อที่ 10 คำำที่แสดงควำมเป็นเจ้ำของ (Apostrophe) 1. ชื่อบริษัท – ห้ำงร้ำนที่มี ,s ติดอยู่นั้น ,s ไม่ถือว่ำเป็นส่วน ประกอบของคำำนั้นในวงเล็บ ,s ไว้หลังคำำที่ตำมนั้น ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ห น่ว ย ที่4 ลำำดับที่ 1. Mary,s Bakery Mary (,s )Bakery - - 5 2. Jame,s Fruit Store Jame(,s ) Fruit Store - 4 3. Difabio,s Trucking Co. Difabio(,s ) Trucking Company - 1 4. Garret,s Interior Decoration Co. Garret(,s )Interior Decoration Company 3 5. Fitzpatrick,s Garage Fitzpatrick(,s ) Garage - - 2 2. ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำนที่มี s, ติดอยู่ด้วยนั้น s ถือว่ำเป็นส่วน ประกอบของคำำและให้วงเล็บ ,ไว้หลังคำำที่ตำมมำนั้น ตัวอย่ำงเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำำดับที่ 1. Girls, Friendly Society Girl (,) Friendly Society 5 2. Boys, Club Boys(, ) Club - 1 3. Girl Scouts, Camp Girl Scouts(, ) Camp 4 4. Georges, Lamp Store Georges(, ) Lamp Store 3 5. Garris, Hardware Store Garris(, ) Hardware Store 2 กฎข้อที่ 11 ชื่อบริษัท-ห้ำงร้ำน ที่มีคำำในวงเล็บด้วยให้ถือว่ำคำำที่อยู่ ในวงเล็บนั้นเป็นหน่วยดัชนีหน่วยหนึ่งด้วยและให้เอำวงเล็บออก วิชำ กำรปฏิบัติงำนสำำนักงำน
  • 21. 21 ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 หน่วยที่4 หน่วยที่ 5 ลำาดับที่ 1. Kodak (Thailand) Kodak Thailand Company Limited - 2 Co., Ltd. 2. Panasonic (Thailand) Panasonic ThailandCompany Limited - 4 Co., Ltd. 3. Mitsubishi Belting Mitsubishi Belting Bangkok Company Limited 3 (Bangkok) Co., Ltd. 4. Robinson Department Robinson Department Store Srilom - 5 Store (Srilom) 5. Advanced Infortech Advanced Infortech Thailand Company Limited 1 (Thailand) Co., Ltd. กฎข้อที่ 12 ชื่อบริษัท-ห้างร้านที่นำาเอาชื่อทางภูมิศาสตร์ที่ต้องเขียน รวมหลายคำาเป็นหนึ่งคำาให้ถือว่าคำาที่รวมนั้นแยกเป็นคำาละหนึ่งหน่วย ดัชนี ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วย ที่ 3 หน่วยที่4 ลำาดับที่ 1. South California Paper Co. South California Paper Company 4 2. North Dakota Fish Market North Dakota Fish Market 3 3. South Carolina Furniture Co. South Carolina Furniture Company 2 4. New York Candy Shop New York Candy Shop - 5 5. New London Grocery New London Grocery - - 1 วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 22. 22 3. ชื่อธนาคารและหน่วยงานรัฐบาล ชื่อธนาคาร มีวิธีการจัดหน่วยดัชนี 2 วิธี คือ 1. ชื่อธนาคารและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ตั้งชื่อไม่เหมือนกับชื่อเมือง การจัดหน่วยดัชนีจะเป็นดังนี้ คือ ชื่อเมืองเป็นหน่วยที่ 1 และตามด้วยชื่อ ธนาคารและชื่อรัฐเรียงกันตามลำาดับ ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 หน่วยที่4 หน่วยที่ 5 ลำาดับที่ 1. Franklin Saving Scranton Franklin Saving Bank Pensylvania 4 Bank Scranton, Pa. 2. First National Boston First National Bank Massachusetts 1 Bank Boston, Massachusetts. 3. Provident Trust Rutland Provident Trust Company Vermont 3 Company Rutland, Vermont. 4. Security Trust Malden Security Trust Company Texas 2 Co., Malden, Texas. 5. Southern Seattle Southern National Bank Washington 5 National Bank Seattle Washington 2. ชื่อธนาคารและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่นำาชื่อเมืองมาตั้งเป็น ชื่อธนาคาร จะจัดหน่วยดัชนีดังนี้ คือ ชื่อธนาคารเป็นหน่วยที่1 และ ตามด้วยชื่อรัฐ (โดยตัดชื่อเมืองออก) วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 23. 23 ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 หน่วยที่4 ลำาดับที่ 1. Tokyo Bank Tokyo, Japan Tokyo Bank Japan - 5 2. Cleveland Bank Cleveland, Ohio Cleveland Bank Ohio - 2 3. Austin Trust Co., Austin, TexasAustin Trust Company Texas 1 4. Houston Bank Houston, Texas Houston Bank Texas - 3 5. Princeton Bank Princeton, IowaPrinceton Bank Iowa - 4 4. ชื่ออื่น ๆ ชื่อหน่วยงานต่าง ๆ เช่น สถานศึกษา สถานพยาบาล องค์การ สมาคม วัด โบสถ์ ฯลฯ เมื่อจัดแยกหน่วยดัชนี ให้ชื่อสถานที่นั้นเป็น หน่วยที่ 1 และตามด้วยชื่อที่ระบุว่าเป็นสถานที่ประเภทใด ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ห น่ว ย ที่ 3 ลำาดับที่ 1. Association of Jobbers Jobbers Association(of) - 2 2. Rotary Club Rotary Club - 4 3. University of Pennsylvania Pennsylvania University (of) - 3 4. St. Paul Church Saint Paul Church 5 5. Chulalongkorn University Chulalongkorn University - 1 วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 24. 24 ในการเก็บเอกสารตามลำาดับตัวอักษรภาษาไทยนั้น จะเรียงตาม ตัวพยัญชนะและสระโดยยึดหลักที่ใช้กันอยู่ในพจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2493 ซึ่งหลักเกณฑ์ในการเรียงตัวอักษร คล้ายกับการเก็บเอกสารภาษาอังกฤษ แต่จะมีเรื่องยุ่งยากมากกว่าภาษา อังกฤษ กล่าวคือในการเก็บเอกสารตามลำาดับภาษาไทยจะมีสระและ วรรณยุกต์เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยดังนั้นจึงอาจสรุปหลักเกณฑ์กว้างๆ สำาหรับการเก็บเอกสารตามลำาดับตัวอักษรภาษาไทยดังนี้คือ 1. พยัญชนะ เรียงตามลำาดับตัวพยัญชนะ ก-ฮ ซึ่งตามหลัก ภาษาไทยแล้วพยัญชนะจะมีทั้งสิ้น 44 ตัวแต่ในหลักการเก็บเอกสารให้ เพิ่มมาอีก 4 ตัว คือ ฤ ฤา โดยจัดเรียงดังนี้คือ ฤ ฤา จะอยู่หลัง ร และ ฦ ฦา จะอยู่หลัง ล ซึ่งพยัญชนะทั้งหมดจะเรียงเป็นลำาดับได้ ดังนี้ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤา ล ฦ ฦา ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ สำาหรับพยัญชนะบางตัว เช่น ว อ ย ซึ่งทำาหน้าที่เป็นสระก็ให้ ถือว่าเป็นพยัญชนะเสมอ ตัวอย่าง เช่น กาญจนา มาก่อน ลาวัลย์ (เพราะพยัญชนะ ก มาก่อน ล) ลักษณา มาก่อน ฦาชา (เพราะพยัญชนะ ล มาก่อน ฦา ) มารยาทมาก่อน วัลลี (เพราะพยัญชนะ ม มาก่อน ว) 2. ส ร ะ ในการเรียงสระจะจัดเรียงตามหลักเกณฑ์ของ ราชบัณฑิตยสถาน คือจะจัดลำาดับตามรูป สระไม่ได้จัดเรียงตามเสียง ดังนั้นจะจัดเรียงลำาดับไว้ตามรูปสระดังนี้ ะ  า ำำ ำิำีำึำืำุำู เ แ โ ใ ไ ตัวอย่างเช่น การุณรัตน์ มาก่อน กิติพร (เพราะ สระ มา ก่อน สระ ) เชาวลิต มาก่อน โชคชัย (เพราะ สระ เ มาก่อน สระ โ) วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 25. 25 สำาหรับรูปสระผสมก็จะจัดลำาดับก่อนหลัง เช่นเดียวกับ การเรียงสระเดี่ยวตัวอย่าง เช่น เจียมใจ มาก่อน เจือจันทร์ (เพราะสระ ี มา ก่อน สระ ) เติมศักย์มาก่อน เตียงเฮง (เพราะ สระ  มา ก่อน สระ ี) พยัญชนะใดทีไม่มีสระติดอยู่ด้วยให้ถือว่าพยัญชนะตัวนั้นมี สระ อะ ติดอยู่แต่เป็นสระอะที่ลดรูปเสมอ สำาหรับสระ อะ นั้นจะมีอยู่ 3 ลักษณะคือ สระอะลดรูป สระอะที่มีรูป (ะ) และสระอะที่เปลี่ยนรูปเป็น ไม้ผัด (  ) เมื่อเวลาจัดเรียงรูปสระอะจะจัดเรียงดังนี้ สระอะลดรูป ( - ) มาก่อน สระอะมีรูป ( ะ ) สระอะมีรูป ( ะ ) มาก่อน สระอะเปลี่ยนรูป ( ) ตัวอย่าง เช่น กมล มาก่อน กะลาสี (เพราะ กมล ก จะมีสระอะ ติดอยู่แต่เป็นสระ อะที่ลดรูป(-) ย่อมมาก่อน กะ ซึ่งมีรูปสระอะติดอยู่) ชะอำา มาก่อน ชัยยนต์ (เพราะชะอำา ชะ จะมีสระอะติดอยู่ย่อมมา ก่อน ชัย ซึ่งมี สระอะที่เปลี่ยนรูปเป็น ไม้ผัด ( ) 3. วรรณยุกต์ โดยปกติแล้วในการจัดเก็บเอกสารตามลำาดับตัว อักษรภาษาไทยนั้น วรรณยุกต์จะไม่ถือเป็นหน่วยในการจัดเรียง ลำาดับ ยกเว้น คำาสองคำาที่เขียนเหมือนกันหมดแต่แตกต่างกันที่ วรรณยุกต์ก็ให้จัดเรียงตามรูปวรรณยุกต์ เป็นหลัก และให้ถือว่าคำาที่ ไม่มีวรรณยุกต์ย่อมมาก่อนเสมอ การเรียงวรรณยุกต์จะเรียงดังนี้     ็ ์ ตัวอย่าง เช่น ซกเอง มาก่อน ซกเอ็ง (เพราะไม่มีวรรณยุกต์มาก่อน วรรณยุกต์) เตี้ยวเฮงมาก่อน เตี๋ยวเฮง (เพราะวรรณยุกต์  มาก่อนวรรณยุกต์  ) 4. การกระจายพยัญชนะ ในการจัดเรียงคำาตามลำาดับตัวอักษร ภาษาไทยนั้น ผู้จำาเป็นต้องแยกพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ออก มาให้ได้เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบคำาซึ่งจะต้องนำาไปจัดลำาดับอีกครั้ง วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 26. 26 หนึ่ง การกระจายพยัญชนะนั้นหมายถึงการแยกพยัญชนะออกเป็นตัวๆ ไป โดยถือพยัญชนะทุกตัวจะต้องมี สระติดอยู่เสมอ ถ้าพยัญชนะตัวใดไม่มีสระติดอยู่ให้ถือว่าเป็นสระอะลด รูปโดยให้สัญลักษณ์ ( ะ ) แทน เมื่อ กระจายพยัญชนะได้แล้วจะทำาให้การจัดลำาดับง่ายยิ่งขึ้น ตัวอย่าง เช่น กาญจนา กระจายได้เป็น กา- ญ ( ะ)-จ (ะ) - นา กมล กระจายได้เป็น ก (ะ) – ม (ะ)- ล (ะ) กะลาสี กระจายได้เป็น กะ – ลา - สี กรรณิการ์ กระจายได้เป็น ก (ะ) – ร (ะ) – ร (ะ) – ณิ –กา – ร (ะ) เกตุแก้ว กระจายได้เป็น กเ- ตุ- กแ – ว (ะ) กรวุฒิ กระจายได้เป็น ก (ะ) –ร (ะ) – วุ - ฒิ จิราภรณ์ กระจายได้เป็น จิ- รา –ภ (ะ) – ร (ะ) – ณ (ะ) เจริญ กระจายได้เป็น จเ – ริ – ญ (ะ) ซกเจ็ง กระจายได้เป็น ซ (ะ) – ก (ะ) – จเ - ง (ะ) 5. การจัดลำาดับคำา เป็นการเรียงลำาดับว่าคำาใดจะเป็นลำาดับที่ 1 2 3 โดยวิธีการจัดลำาดับคำาจะพิจารณาที่พยัญชนะก่อน โดยเรียง ลำาดับ ก - ฮ ถ้าพยัญชนะตัวแรกของคำาแตกต่างกันก็จะจัดลำาดับได้ ทันทีโดยไม่ต้องคำานึงถึงสระที่ติดมากับพยัญชนะตัวนั้น ตัวอย่าง เช่น นเรศ มาก่อน ประเสริฐ (เพราะ น มาก่อน ป โดยจะ ไม่นำาสระมาพิจารณา) แต่ถ้าพยัญชนะตัวแรกเป็นพยัญชนะตัวเดียวกันให้พิจารณาสระที่ ติดมากับพยัญชนะตัวนั้น โดยการจัดเรียงลำาดับสระให้เป็นไปตามที่ได้ กล่าวมาแล้วข้างต้น ตัวอย่างที่ 1 เจนจิรา กับ ใจนภา เจนจิรา กระจายได้เป็น จเ – น (ะ) – จิ - รา ใจนภา กระจายได้เป็น จใ – น (ะ) – ภา ในการพิจารณาจัดลำาดับระหว่างเจนจิรากับใจนภา จะพิจารณา ดังนี้ ขั้นที่ 1 จะพิจารณาที่อักษรตัวแรก ของคำาทั้งสองคำานี้ ซึ่งเหมือน กัน คือ จ วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 27. 27 ขั้นที่ 2 จะพิจารณาสระที่ติดกับตัวอักษร จ เจนจิรา สระที่ติดมา กับ จ คือสระเอ(เ) ใจนภา สระที่ติดมากับ จ คือสระใอ (ใ) เมื่อ มาเปรียบเทียบระหว่างสระเอ (เ) และสระใอ (ใ) สระเอ (เ) มาก่อน สระใอ (ใ) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เจนจิรา มาก่อน ใจนภา ตัวอย่างที่ 2 นพชาติ กับ นภดล นพชาติ กระจายได้เป็น น (ะ) – พ (ะ) – ชา - ติ นพดล กระจายได้เป็น นะ(ะ) – พ (ะ) – ด (ะ) – ล (ะ) ในการพิจารณาจัดลำาดับระหว่างนพชาติกับนภดลจะพิจารณาดังนี้ ขั้นที่ 1 จะพิจารณาที่ตัวอักษรตัวแรกของคำาทั้ง สองคำานี้ ซึ่ง เหมือนกันคือ น ขั้นที่ 2 จะพิจารณาที่สระ ที่ติดมากับอักษร น ซึ่งจะเห็นได้ว่าเป็น สระอะ (ะ) ลดรูปทั้ง 2 คำา เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วจะต้องไปพิจารณาตัว อักษรตัวต่อไป ขั้นที่ 3 จะพิจารณาที่ตัวอักษรตัวต่อไปของคำาทั้ง 2 คำา ซึ่งเหมือน กันคือ พ ขั้นที่ 4 จะพิจารณาที่สระที่ติดมากับอักษร พ ซึ่งจะเห็นได้ว่าเป็น สระอะ (ะ) ลดรูปทั้ง 2 คำา เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วจะต้องไปพิจารณาตัว อักษรตัวต่อไป ขั้นที่ 5 จะพิจารณาที่ตัวอักษรตัวต่อไปของคำาทั้ง 2 คำา ซึ่งก็คือ ช กับ ด เมื่อตัวอักษรทั้ง 2 ตัว ไม่เหมือนกันก็ให้พิจารณาว่า ตัวอักษร ตัวใดมาก่อนกัน ซึ่งปรากฏว่า ช มาก่อน ด ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า นพชาติ มาก่อน นพดล ในกรณีการจัดลำาดับคำานี้ จะมีการเปรียบเทียบคำาทีละหน่วย ถ้า หน่วยที่ 1 เหมือนกันหมดก็ให้ไปพิจารณาที่หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ต่อ ไป ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ธีรเดช สินธุวงศ์ ธีรเดช อรุณเสถียร จากตัวอย่างนี้จะเห็นได้ว่า หน่วยที่ 1 คือ ธีรเดช เหมือนกัน ใน การพิจารณาจัดลำาดับคำา จึงต้องไป พิจารณาที่หน่วยที่ 2 ระหว่างสินธุวงศ์กับอรุณเสถียร คือพิจารณา ระหว่าง ส กับ อ ซึ่งปรากฏว่า ส มาก่อน อ วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 28. 28 จึงสรุปได้ว่า ธีรเดช สินธุวงศ์ มาก่อน ธี ร เ ด ช อรุณเสถียร กฎเกณฑ์การจัดเรียงหน่วยดัชนีภาษาไทย แบ่งออกเป็น 3 หัวข้อดังนี้ คือ 1. ชื่อบุคคล 2. ชื่อบริษัท-ห้างร้าน 3. ชื่ออื่นๆ ซึ่งชื่อต่างๆเหล่านี้จะมีวิธีการจัดแยกและจัดเรียงหน่วยดัชนีแตกต่าง กัน ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. ชื่อบุคคล กฎข้อที่ 1 ชื่อบุคคลภาษาไทย โดยปกติจะใช้ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 1 และชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 2 ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ลำาดับที่ 1. ประภาส เกิดดี ประภาส เกิดดี 3 2. อรุณ ไขแสง อรุณ ไขแสง 5 3. เรณู พุ่มเจริญ เรณู พุ่มเจริญ 4 4. จักรกฤษณ์ แก้วใจดี จักรกฤษณ์ แก้วใจดี 1 5. ชา กิจไพบูลย์ ชา กิจไพบูลย์ 2 กรณีชื่อบุคคลที่มีชื่อรองด้วยนั้นจะเรียงดังนี้ คือ ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 1 ชื่อรองเป็นหน่วยที่ 2 และชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 3 ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 29. 29 1. ประภัสสร อินทรกำาแหง รวยแท้ ประภัสสร อินทรกำาแหง รวยแท้ 2 2. กัณฑรีย์ น สิมะเสถียร กัณฑรีย์ น สิมะ เสถียร 1 3. โอภาส ศ ศิลปิน โอภาส ศ ศิลปิน 5 4. พีระเกิด จ เลิศฤทธิ์ พีระเกิด จ เลิศฤทธิ์ 3 5. สิทธิชัย บ เบญจา สิทธิชัย บ เบญจา 4 กฎข้อที่ 2 ชื่อสกุล 1. ชื่อสกุลพระราชทานที่มีคำาว่า ร ต่อท้ายชื่อสกุล เช่น ณ อยุธยา ณ สกลนคร ฯลฯ การจัดหน่วยดัชนีให้ถือว่า ณ อยุธยา ณ สกลนคร ฯลฯ เป็นอีกหน่วยหนึ่งแยกจากชื่อสกุล ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. เสาวนีย์ อิศรางงกูร ณ อยุธยา เสาวนีย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 4 2. รักชาติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา รักชาติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา 2 3. แก้ว ณ นคร แก้ว ณ นคร - 1 4. เอกราช พรหมสาขา ณ สกลนคร เอกราช พรหมสาขา ณ สกลนคร 5 5. สิทธิชัย ณ ถลาง สิทธิชัย ณ ถลาง - 3 2. คำานำาหน้าชื่อสกุลของชาวจีน คำาว่า “แซ่” ที่ใช้นำาหน้าชื่อ สกุลของชาวจีนนั้นไม่ถือว่าเป็นหน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ลำาดับที่ 1. จำาลอง แซ่ลิ้ม จำาลอง ลิ้ม (แซ่) 1 วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 30. 30 2. ใจเฮง แซ่ตัน ใจเฮง ตัน (แซ่) 2 3. ซีอัน แซ่เอี้ยว ซีอัน เอี้ยว (แซ่) 3 4. ไทยสิ้ว แซ่เล็ก ไทยสิ้ว เล็ก (แซ่) 4 5. มักฮง แซ่ตั้ง มักฮง ตั้ง (แซ่) 5 กฎข้อที่ 3 คำานำาหน้าชื่อ 1. คำานำาหน้าชื่อที่บอกเพศ วัย เช่น นาย นาง นางสาว เด็กหญิง เด็กชาย คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บ ให้วงเล็บไว้ท้าย หน่วยสุดท้าย ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ลำาดับที่ 1. นายประกิต เกิดไทย ประกิต เกิดไทย (นาย) 3 2. ด.ญ. วราภรณ์ ศรีม่วง วราภรณ์ ศรีม่วง (เด็กหญิง) 5 3. นางสาวจารุณี สุขสวัสดิ์ จารุณี สุขสวัสดิ์ (นางสาว) 2 4. นางกรรณิการ์ ธรรมเกษร กรรณิการ์ ธรรมเกษร (นาง) 1 5. นายเลิศ สุจริตกุล เลิศ สุจริตกุล (นาย) 4 2. คำานำาหน้าชื่อที่เป็นยศ เช่น ยศทางทหาร ตำารวจ เช่น พันตรี ร้อยตำารวจเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก พลเรือตรี ฯลฯ คำานำาหน้าชื่อ เหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ลำาดับที่ วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 31. 31 1. ร.ต. ประเสริฐ มุ่งการดี ประเสริฐ มุ่งการดี (ร้อยตรี) 2 2. น.อ. อุดม ศุภระมงคล อุดม ศุภระมงคล (นาวา เอก) 5 3. พ.อ. วิจักษณ์ เพชรบุศย์ วิจักษณ์ เพชร บุศย์ (พันเอก) 4 4. ร.ต.ท. กมล เศรษฐการ กมล เศรษฐการ(ร้อย ตำารวจโท) 1 5. พ.ต.อ.ประเสริฐ วิทยาอาภา ประเสริฐ วิทยา อาภา(พันตำารวจเอก) 3 3. คำานำาหน้าชื่อทางอาชีพ เช่น นายแพทย์ ด๊อกเตอร์ ศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ อาจารย์ ฯลฯ คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็น หน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ท้ายสุดท้าย ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ลำาดับที่ 1. นพ.เจริญ ปราโมช เจริญ ปราโมช (นาย แพทย์) 1 2. ศจ. ประภาศ สุขโกศล ประภาศ สุข โกศล(ศาสตราจารย์) 2 3. ผศ.วิรุณ พิทักษ์ผล วิรุณ พิทักษ์ผล(ผู้ช่วย ศาสตราจารย์) 3 4. ดร.เสรี วงศ์มณฑา เสรี วงศ์มณฑา(ด็อก เตอร์) 5 5. รศ.ศิริวรรณ เสรีรัตน์ ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (รอง ศาสตราจารย์) 4 4. คำานำาหน้าชื่อที่เป็นบรรดาศักดิ์ เช่น คุณหญิง คุณ ท่านผู้หญิง พระยา พระ หลวง ขุน ฯลฯ คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บ ให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ลำาดับที่ 1. หลวงอภิบาลพลขันธ์ อภิบาลพลขันธ์ (หลวง) - 4 วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 32. 32 2. พระอศรานุพงศ์พิสุทธ อิศรานุพงศ์พิสุทธ (พระ) - 5 3. กรมหมื่นเทวานุรักษ์ เทวานุรักษ์ (กรมหมื่น) - 1 4. ท่านผู้หญิงบุณเรือน ชุณหะวัณ บุญเรือน ชุณหะ วัณ(ท่านผู้หญิง) 2 5. ดร.คุณหญิงภรณี มหานุนท์ ภรณี มหา นนท์(ดอกเตอร์,คุณหญิง) 3 5. คำานำาหน้าชื่อที่เป็นฐานันดรศักดิ์ เช่น หม่อมหลวง หม่อม ราชวงศ์ หม่อมเจ้า ฯลฯ คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บให้ วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ลำาดับที่ 1. ม.ร.ว. กระจ่าง อิศรางกูร กระจ่าง อิศรา งกูร (หม่อมราชวงศ์) 1 2. ม.ล.เนื่องพร สุทัศน์ เนื่องพร สุทัศน์ (หม่อมหลวง) 5 3. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช คึกฤทธิ์ ปราโมช (หม่อมราชวงศ์) 2 4. ม.จ.ชะอุ่ม อิศรางกูร ชอุ่ม อิศรางกูร (หม่อมเจ้า) 4 5. ม.ล.แฉล้ม สนิทวงศ์ แฉล้ม สนิท วงศ์ (หม่อมหลวง) 3 ข้อยกเว้น ฐานันดรศักดิ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จ พระนางเจ้าพระบรมราชินี สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ เจ้าฟ้า และพระราชวงศ์ที่ใกล้ชิด ให้ถือว่าฐานันดรศักดิ์เหล่านี้ เป็นหน่วยเก็บและเป็นหน่วยเก็บหน่วยที่ 1 ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ลำาดับที่ 1. พระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จ ภู มิพ ล อดุลยเดช 1 ภูมิพลอดุลยเดช พระเจ้าอยู่หัว วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 33. 33 2. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สมเด็จพระบรมโอรสา เ จ้า ฟ้า มหาวิชิราลงกรณ์ 2 เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ ธิราช สยามมกุฏราชกุมาร สยามมกุฎราชกุมาร 6. คำานำาหน้าชื่อที่เป็นสมณศักดิ์ เช่น สมเด็จ พระครู มหา ฯลฯ คำานำาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ถือเป็นหน่วยเก็บแต่ให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วย สุดท้าย ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ลำาดับที่ 1. พระเทพมุนี เทพมุนี (พระ) - 1 2. พระครูวิสุทธิสถาพร วิสุทธิสถาพร (พระครู) - 4 3. พระครูภาวนาภิธาน ภาวนาภิธาน (พระครู) - 3 4. มหาอมรเมธาจารย์ อมรเมธาจารย์ (มหา) - 5 5. พระธรรมปาโมกข์ ธรรมปาโมกข์ (พระ) - 2 กฎข้อที่ 4 ชื่อชาวยุโรปที่เขียนเป็นภาษาไทย ให้จดัหน่วยดัชนีแบบ ภาษาอังกฤษ คือ ชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 1 ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 2 ชื่อรอง เป็นหน่วยที่ 3 คำานำาหน้าชื่อให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. นายจอห์น เอ รีดเดอร์ รีดเดอร์ จอห์น เอ (นาย) 5 2. นางมาร์กาเร็ต แธตเชอร์ แธตเชอร์ มาร์กาเร็ต (นาง) - 2 3. นายปีเตอร์ โอเฮน เฟลล์เนอร์ เฟลล์เนอร์ปีเตอร์ โอ เฮน (นาย) 4 4. นายอเล็กซานเดอร์ เค เมสเบิต์ตนิค เมสเบิร์ตนิค อเล็กซานเด อร์ เค (นาย) 3 วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 34. 34 5. นายยิดซัด ชามีร์ ชามีร์ ยิดซัด (นาย) - 1 กฎข้อที่ 5 ชื่อบุคคลที่มีที่อยู่รวมอยู่ด้วยนั้น การจัดหน่วยดัชนีจะจัด ดังนี้ คือ ชื่อตัวเป็นหน่วยที่ 1 ชื่อรองเป็นหน่วยที่ 2 ชื่อสกุลเป็นหน่วยที่ 3 และจะตามด้วยที่อยู่โดยจะเรียงจากหน่วยใหญ่ที่สุดไปหาหน่วยที่เล็ก ที่สุด คือ จังหวัด อำาเภอ ตำาบล ถนน ตรอก/ซอย หมู่ที่ บ้านเลขที่ ซึ่ง คำานำาหน้าว่าเป็นจังหวัด อำาเภอ ฯลฯ จะไม่ถือเป็นหน่วยเก็บให้วงเล็บไว้ ท้ายหน่วยที่ปรากฏ 2. ชื่อบริษัท – ห้างร้าน กฎข้อที่ 1 ชื่อสถานประกอบการค้า การจัดหน่วยดัชนีชื่อห้างร้านให้ จัดเรียงตามลำาดับที่เขียนมา โดยคำาที่บอกว่าเป็นสถานประกอบการค้า ประเภทใดที่นำาหน้าอยู่นั้นจะไม่ถือเป็นหน่วยเก็บ เช่น คำาว่า ร้าน บริษัท ห้างหุ้นส่วนจำากัด สำานักงาน ฯลฯ ซึ่งคำาเหล่านี้จะวงเล็บไว้หลังหน่วย สุดท้าย ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ลำาดับที่ 1. ร้านกระจกสหไทย สหไทย (ร้านกระจก) - 4 2. ห้างหุ้นส่วนจำากัดมิ่งสิลป์ มิ่งศิลป์ (ห้างหุ้นส่วนจำากัด) - 3 3. ร้านสิทธิเดช สิทธิเดช (ร้าน) - 5 4. ร้านขายทองทวีผล ทวีผล (ร้านขายทอง) - 2 5. ห้องอาหารจวนทอง จวนทอง (ห้องอาหาร) - 1 กฏข้อที่ 2 ชื่อสถานประกอบการค้าที่ใช้ชื่อตัวและชื่อสกุลมาตั้งเป็นชื่อ สถานประกอบการค้า ก็ให้จัดเก็บดัชนีแบบชื่อบุคคล และคำาที่บอก ประเภทของธุรกิจให้วงเล็บไว้ท้ายหน่วยสุดท้าย วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 35. 35 ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ลำาดับที่ 1. สำานักงานรัชนี สมิทธิพงศ์ รัชนี สมิทธิพงศ์ (สำานักงาน) 3 2. ร้านอาหารนันทิดา แก้วบัวสาย นันทิดา แก้วบัว สาย 1 3. สำานักงานบ้านและที่ดินสุนทร เปรมฤทัย สุนทร เปรมฤทัย(สำานักงาน 5 บ้านและที่ดิน) 4. ห้างขายยาบวร มงคลสัย บวร มงคลสัย (ห้าง ขายยา) 2 5. โรงพิมพ์วัฒนา เกิดสุข วัฒนา เกิดสุข (โรง พิมพ์) 4 กฎข้อที่ 3 ชื่อสถานประกอบการค้าที่มีคำาบอกประเภทของธุรกิจตาม หลังชื่อ ให้นับเป็นหน่วยเก็บด้วยซึ่งคำาบอกประเภทของธุรกิจที่ตามหลัง ชื่อนั้นบางครั้งเขียนติดกับชื่อ บางครั้งเขียนแยกจากชื่อ ซึ่งถ้าคำาที่บอก ประเภทของธุรกิจนั้นเขียนติดกับชื่อให้ถือว่าเป็นหน่วยเดียวกันกับชื่อ แต่ถ้าคำาที่บอกธุรกิจเขียนแยกจากชื่อให้ถือว่าเป็นคนละหน่วยกับชื่อนั้น ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 ลำาดับที่ 1. ห้างหุ้นส่วนจำากัดพนาสินก่อสร้าง พนาสินก่อสร้าง - 4 (ห้างหุ้นส่วนจำากัด) 2. บางนา โพลีคลีนิค บางนา โพลีคลีนิค 2 3. สมิหราทัวร์ สมิหราทัวร์ - 5 4. ร้านประจักษ์ เฟอร์นิเจอร์ ประจักษ์ เฟอร์นิเจอร์(ร้าน) 3 5. ร้านแก้วใจ สโตร์ แก้วใจ สโตร์ (ร้าน) 1 วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 36. 36 กฎข้อที่ 4 ชื่อสถานประกอบการค้าที่มีคำาว่า “จำากัด” ต่อท้ายชื่อบริษัท ให้ถือว่าคำาว่า “จำากัด” เป็นหน่วยเก็บหน่วยหนึ่งด้วย ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. บริษัทอินทรา เซรามิค จำากัด อินทรา เซรามิค จำากัด (บริษัท) 5 2. บริษัทไมโครบริดจ์ จำากัด ไมโครบริดจ์ จำากัด (บริษัท) - 3 3. ห้างหุ้นส่วนจำากัดทอมกาดา ทอมกาดา(ห้างหุ้นส่วนจำากัด) - 1 4. บริษัทเมโทร จำากัด เมโทร จำากัด (บริษัท) - 2 5. บริษัทสากลภัณฑ์ จำากัด สากลภัณฑ์ จำากัด (บริษัท) - 4 กฎข้อที่ 5 ชื่อสถานประกอบการค้าที่มีอักษรย่อรวมอยู่ด้วย ให้ถือว่า อักษรย่อแต่ละตัวนั้นเป็นหน่วยเก็บหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 ลำาดับที่ 1. ร้าน ก พานิช ก พานิช (ร้าน - 3 2. ห้างขายยา ก ข ค ก ข ค (ห้างขาย ยา) 2 3. บริษัท ก กิ่งแก้ว จำากัด ก กิ่งแก้ว จำากัด (บริษัท) 1 4. ร้าน ช การช่าง ช การช่าง (ร้าน) - 5 5. โรงหล่อ จ เจริญกิจ จ เจริญกิจ (โรงหล่อ) - 4 กฎข้อที่ 6 ชื่อสถานประกอบการค้าที่มีคำาอยู่ในวงเล็บด้วย ในการจัด หน่วยดัชนีให้ถือว่าคำาที่อยู่ในวงเล็บเป็นหน่วยเก็บหน่วยหนึ่งและต้อง เอาวงเล็บออก ตัวอย่างเช่น หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วย ที่ 3 หน่วยที่ 4 ลำาดับที่ วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน
  • 37. 37 1. บริษัทรีไลอันซ์ เอ็นจิเนียริ่ง รีไลอันซ์ เอ็นจิเนียริ่ง ประเทศไทย จำากัด(บริษัท) 4 (ประเทศไทย) จำากัด 2. บริษัทย่งเช็งง้วน (กรุงเทพ) จำากัด ย่งเช็งง้วน กรุงเทพ จำากัด (บริษัท) - 3 3. บริษัทพีม (ประเทศไทย) จำากัด พีม ประเทศไทย จำากัด (บริษัท) - 2 4. หจก. ซื่อเจริญกิจ (นำ่าฮั่วหลี) ชื่อเจริญกิจ นำ่าฮั่วหลี (ห้างหุ้นส่วนจำากัด) - 1 5. บริษัทล็อกซเล่ย์ (กรุงเทพ) จำากัด ล็อกซเล่ย์ กรุงเทพ จำากัด (บริษัท) - 5 วิชา การปฏิบัติงานสำานักงาน