SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
"...ธนาคารโคและกระบื อ ก็ คื อ การรวบรวมโคและกระบื อ โดยมี บั ญ ชี ควบคุ ม ดู แ ล
รั ก ษา แจกจ่ า ย ให้ ยื ม เพื่ อ ใช้ ป ระโยชน์ ใ นการเกษตร และเพิ่ ม ปริ ม าณโคและกระบื อ
ตามหลั ก การของธนาคาร ธนาคารโคและ กระบื อ เป็ น เรื่ อ งใหม่ ข องโลกที่ มี ค วาม
จาเป็ น เกิ ด ขึ้ น เพราะปั จ จุ บั น มี ค วามคิ ด แต่ จ ะใช้ เ ครื่ อ งกลไกเป็ น เครื่ อ งทุ่ น แรงใน
กิ จ การเกษตร แต่ เ มื่ อ ราคาน้ามั น เชื้ อ เพลิ ง แพงขึ้ น ความก้ า วหน้ า ในการใช้ เ ครื่ อ งกลไก
เสี ย ไป จาเป็ น ต้ อ งหั น มาพึ่ ง แรงงานจากสั ต ว์ ที่ เ คยใช้ อ ยู่ ก่ อ น เมื่ อ หั น กลั บ มาก็ ป รากฏ
ว่ า มี ปั ญ หามาก เพราะชาวนาไม่ มี เ งิ น ซื้ อ โคและกระบื อ มาเลี้ ย งเพื่ อ ใช้ ง าน
            ธนาคารโคและกระบื อ พอจะอนุ โ ลมใช้ ไ ด้ เ หมื อ นกั บ ธนาคารที่ ดาเนิ น การ
เกี่ ย วกั บ การเงิ น เพราะโดยความหมายทั่ ว ไป ธนาคารก็ ดาเนิ น กิ จ การเกี่ ย วกั บ สิ่ ง มี ค่ า
มี ป ระโยชน์ การตั้ ง ธนาคารโคและกระบื อ ก็ มิ ใ ช่ ว่ า ตั้ ง โรงขึ้ น มาเก็ บ โคหรื อ กระบื อ
เพี ย งแต่ มี ศู น ย์ ก ลางขึ้ น มา เช่ น อาจจั ด ให้ ก รมปศุ สั ต ว์ เ ป็ น ศู น ย์ ร วมใครจะสมทบ
ธนาคารโคกระบื อ ก็ ไ ม่ จาเป็ น ต้ อ งนาโคหรื อ กระบื อ ไปมอบให้ อ าจบริ จ าคในรู ป ของเงิ น
                                            นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
..."
 วัตถุประสงค์ที่สาคัญของ ธคก. คือ เพื่อช่วย
   ให้เกษตรกรที่ยากจนทั่วประเทศได้มีโค-
   กระบือไว้ใช้แรงงาน และเพิ่มผลผลิตทาง
   การเกษตร เป็นการช่วยให้เกษตรกรมีรายได้
   เพิ่มขึ้น




                                     นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
 ธนาคารโค-กระบือเพื่อ
  เกษตรกร ตามพระราชดาริ
  ดาเนินการในรูปของ
  คณะกรรมการจานวน 18 ราย มี
  อธิบดีกรมปศุสัตว์เป็นประธาน
  และหัวหน้ากลุ่มโครงการพิเศษ
  เป็นเลขานุการ โดยมีระเบียบ
  กรม ปศุสัตว์ ว่าด้วยการ
  ดาเนินการโครงการธนาคารโค-
  กระบือเพื่อเกษตรกร ตาม
  พระราชดาริ พ.ศ. 2547 เป็น
  แนวทางการปฏิบัติ
                                นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
   1. เป็นเกษตรกรมีสัญชาติไทยอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ ขึ้นไป
   2. มีอาชีพทานา ทาไร่ ทาสวน หรือเลี้ยงสัตว์
   3. มีความประพฤติดี และยินดีให้ความร่วมมือกับทางราชการ
   4. ยังไม่เคยได้รับโคหรือกระบือจากโครงการอื่นๆ มาก่อน
   5. มีความเหมาะสมและสามารถที่จะดูแลเลี้ยงโค-กระบือได้
   6. มีรายได้ไม่เกินเกณฑ์ จปฐ.1 (ฉบับที่เป็นปัจจุบัน)




                   นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
ให้เกษตรกรที่ประสงค์จะเข้าร่วมโครงการกรอกแบบแสดงความจานงโดยมีผู้รับรอง
ในพื้นที่ประกอบด้วย ประธานองค์การบริหารส่วนตาบล กานันหรือผู้ใหญ่บ้าน พร้อม
แนบการรับรองรายได้ของกรมการพัฒนาชุมชน ยื่นต่อปศุสัตว์จังหวัด และให้ปศุสัตว์
จังหวัดแต่งตั้งคณะกรรมการ จานวน 3 ราย เพื่อตรวจสอบและรับรองคุณสมบัติและเสนอ
สานักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยพิจารณากลั่นกรอง และเสนอ ธคก. เพื่อพิจารณา
ช่วยเหลือต่อไป




                              นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
     การดาเนินการให้ความช่วยเหลือเกษตรกร ตั้งแต่เริ่มโครงการ (ปี 2522) จนถึงปัจจุบัน มี
    เกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการแล้วทั้งสิ้น จานวน 94,621 ราย และมีเกษตรกรที่รับบริการอยู่
    ขณะนี้ จานวน 54,327 ราย




                                     นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
1. เพื่อสนองพระราชดาริ ตามรอยเบื้องพระยุคลบาล โดยสนับสนุนและส่งเสริมเกษตรกร ใน
โครงการ เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรพอเพียง และเกษตรผสมผสาน ตามแนวพระราชดาริ ของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งโค-กระบือถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญปัจจัยหนึ่งต่อการประกอบ
อาชีพการเกษตรของเกษตรกร
2. สนับสนุนการบริหารจัดการโครงการ โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม เน้นให้เกิดชุมชนหรือหมู่บ้านที่
มีส่วนร่วม ในการกากับดูแลกันเองในชุมชนนั้นๆ เพื่อเป็นการสร้างความเข้มแข็งในชุมชน และ
เกิดความยั่งยืน




                                 นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
 วิธีที่ 1 บริจาคเป็นเงิน ไม่จากัดจานวน
 วิธีที่ 2 บริจาคเป็นโค-กระบือ ไม่จากัด
   จานวน โดย ธคก. ได้กาหนดคุณลักษณะ
   เฉพาะของโค-กระบือ




                                      นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
1. ส่วนกลาง กลุ่มโครงการพิเศษ สานักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี ตึกชัยอัศว
   รักษ์ ชั้น 4 กรมปศุสัตว์ ถนนพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 โทร.0-2653-4444 ต่อ 3381-5
   โทร / โทรสาร 0-2653-4926
2. ส่วนภูมิภาค สานักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยและสานักงานปศุสตว์จังหวัด ทั่วประเทศ
                                                               ั




                                   นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากธนาคารโค-กระบือ นั้น ส่งผลโดยตรงกับตัวเกษตรกรที่
ยากจน คือ ได้ช่วยเหลือให้เกษตรกรสามารถมีปัจจัยการผลิตเป็นของตนเอง ไม่ต้องเสียค่าเช่า
แรงงานโค-กระบือ ในอัตราสูง เป็นหลักประกันอย่างหนึ่ง ซึ่งเอื้ออานวยให้การผลิตเกิดผลอย่าง
เต็มเม็ดเต็มหน่วย ส่วนผลประโยชน์ทางอ้อมนั้น เกิดขึ้นจากการเลือกใช้กลยุทธ์ที่เหมาะสมใน
การพัฒนา เพราะแรงงานแบบดั้งเดิมนี้ เป็นสิ่งที่เหมาะสมกับระบบเกษตรกรรมเบบยังชีพ ซึ่ง
เกษตรกรมีฐานะยากจน และมีพื้นที่ทากินขนาดเล็ก แรงงานแบบดั้งเดิมนี้ ไม่ต้องการความรู้ทาง
เทคนิค วิชาการขั้นสูงใด ๆ ในการบารุงรักษา การใช้แรงงาน โค-กระบือ ในการทานา ปลูกข้าว
เป็นลักษณะของการอยู่ร่วมกันและการพึ่งพากันตามธรรมชาติ เกษตรกรสามารถเรียนรู้ได้เอง
จากการดารงชีพ อีกทางหนี่ง การใช้แรงงานสัตว์ก็เป็นการเลือกใช้พลังงานจากธรรมชาติแทน
การใช้น้ามันเชื้อเพลิง ซึ่งเป็นทรัพยากรที่นับวันจะเหลือน้อยลงไป และมีราคาสูงขึ้น ดูจะเป็น
ประโยชน์หลายทาง ซึ่งสอดคล้องกันอย่างพอเหมาะยิ่ง




                                   นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10

More Related Content

Similar to โครงการธนาคารโค กระบือ

โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
benya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
benya2013
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
nun31march
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
nun31march
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
nun31march
 
การประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริการประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริ
Tanggwa
 
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
Sirirat Faiubon
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
Ploy Benjawan
 
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
Vitsanu Nittayathammakul
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
daiideah102
 
Smart farm white paper chapter 5
Smart farm white paper chapter 5Smart farm white paper chapter 5
Smart farm white paper chapter 5
Pisuth paiboonrat
 
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชีโครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
Eveamonwan
 
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชีโครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
Eveamonwan
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
tualekdm
 
โครงการเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการเศรษฐกิจพอเพียงโครงการเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการเศรษฐกิจพอเพียง
SaiYoseob
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
chompoo28
 
อบรมเห็ด55
อบรมเห็ด55อบรมเห็ด55
อบรมเห็ด55
84village
 

Similar to โครงการธนาคารโค กระบือ (20)

โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
การประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริการประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริ
 
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
กฎหมายร ฐธรรมน ญส_วนท__ 6-10
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
 
Smart farm white paper chapter 5
Smart farm white paper chapter 5Smart farm white paper chapter 5
Smart farm white paper chapter 5
 
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชีโครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
 
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชีโครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
โครงการเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการเศรษฐกิจพอเพียงโครงการเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการเศรษฐกิจพอเพียง
 
Present 26 01-2556
Present 26 01-2556Present 26 01-2556
Present 26 01-2556
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
อบรมเห็ด55
อบรมเห็ด55อบรมเห็ด55
อบรมเห็ด55
 

โครงการธนาคารโค กระบือ

  • 1. "...ธนาคารโคและกระบื อ ก็ คื อ การรวบรวมโคและกระบื อ โดยมี บั ญ ชี ควบคุ ม ดู แ ล รั ก ษา แจกจ่ า ย ให้ ยื ม เพื่ อ ใช้ ป ระโยชน์ ใ นการเกษตร และเพิ่ ม ปริ ม าณโคและกระบื อ ตามหลั ก การของธนาคาร ธนาคารโคและ กระบื อ เป็ น เรื่ อ งใหม่ ข องโลกที่ มี ค วาม จาเป็ น เกิ ด ขึ้ น เพราะปั จ จุ บั น มี ค วามคิ ด แต่ จ ะใช้ เ ครื่ อ งกลไกเป็ น เครื่ อ งทุ่ น แรงใน กิ จ การเกษตร แต่ เ มื่ อ ราคาน้ามั น เชื้ อ เพลิ ง แพงขึ้ น ความก้ า วหน้ า ในการใช้ เ ครื่ อ งกลไก เสี ย ไป จาเป็ น ต้ อ งหั น มาพึ่ ง แรงงานจากสั ต ว์ ที่ เ คยใช้ อ ยู่ ก่ อ น เมื่ อ หั น กลั บ มาก็ ป รากฏ ว่ า มี ปั ญ หามาก เพราะชาวนาไม่ มี เ งิ น ซื้ อ โคและกระบื อ มาเลี้ ย งเพื่ อ ใช้ ง าน ธนาคารโคและกระบื อ พอจะอนุ โ ลมใช้ ไ ด้ เ หมื อ นกั บ ธนาคารที่ ดาเนิ น การ เกี่ ย วกั บ การเงิ น เพราะโดยความหมายทั่ ว ไป ธนาคารก็ ดาเนิ น กิ จ การเกี่ ย วกั บ สิ่ ง มี ค่ า มี ป ระโยชน์ การตั้ ง ธนาคารโคและกระบื อ ก็ มิ ใ ช่ ว่ า ตั้ ง โรงขึ้ น มาเก็ บ โคหรื อ กระบื อ เพี ย งแต่ มี ศู น ย์ ก ลางขึ้ น มา เช่ น อาจจั ด ให้ ก รมปศุ สั ต ว์ เ ป็ น ศู น ย์ ร วมใครจะสมทบ ธนาคารโคกระบื อ ก็ ไ ม่ จาเป็ น ต้ อ งนาโคหรื อ กระบื อ ไปมอบให้ อ าจบริ จ าคในรู ป ของเงิ น นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10 ..."
  • 2.  วัตถุประสงค์ที่สาคัญของ ธคก. คือ เพื่อช่วย ให้เกษตรกรที่ยากจนทั่วประเทศได้มีโค- กระบือไว้ใช้แรงงาน และเพิ่มผลผลิตทาง การเกษตร เป็นการช่วยให้เกษตรกรมีรายได้ เพิ่มขึ้น นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
  • 3.  ธนาคารโค-กระบือเพื่อ เกษตรกร ตามพระราชดาริ ดาเนินการในรูปของ คณะกรรมการจานวน 18 ราย มี อธิบดีกรมปศุสัตว์เป็นประธาน และหัวหน้ากลุ่มโครงการพิเศษ เป็นเลขานุการ โดยมีระเบียบ กรม ปศุสัตว์ ว่าด้วยการ ดาเนินการโครงการธนาคารโค- กระบือเพื่อเกษตรกร ตาม พระราชดาริ พ.ศ. 2547 เป็น แนวทางการปฏิบัติ นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
  • 4. 1. เป็นเกษตรกรมีสัญชาติไทยอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ ขึ้นไป  2. มีอาชีพทานา ทาไร่ ทาสวน หรือเลี้ยงสัตว์  3. มีความประพฤติดี และยินดีให้ความร่วมมือกับทางราชการ  4. ยังไม่เคยได้รับโคหรือกระบือจากโครงการอื่นๆ มาก่อน  5. มีความเหมาะสมและสามารถที่จะดูแลเลี้ยงโค-กระบือได้  6. มีรายได้ไม่เกินเกณฑ์ จปฐ.1 (ฉบับที่เป็นปัจจุบัน) นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
  • 5. ให้เกษตรกรที่ประสงค์จะเข้าร่วมโครงการกรอกแบบแสดงความจานงโดยมีผู้รับรอง ในพื้นที่ประกอบด้วย ประธานองค์การบริหารส่วนตาบล กานันหรือผู้ใหญ่บ้าน พร้อม แนบการรับรองรายได้ของกรมการพัฒนาชุมชน ยื่นต่อปศุสัตว์จังหวัด และให้ปศุสัตว์ จังหวัดแต่งตั้งคณะกรรมการ จานวน 3 ราย เพื่อตรวจสอบและรับรองคุณสมบัติและเสนอ สานักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยพิจารณากลั่นกรอง และเสนอ ธคก. เพื่อพิจารณา ช่วยเหลือต่อไป นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
  • 6. การดาเนินการให้ความช่วยเหลือเกษตรกร ตั้งแต่เริ่มโครงการ (ปี 2522) จนถึงปัจจุบัน มี เกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการแล้วทั้งสิ้น จานวน 94,621 ราย และมีเกษตรกรที่รับบริการอยู่ ขณะนี้ จานวน 54,327 ราย นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
  • 7. 1. เพื่อสนองพระราชดาริ ตามรอยเบื้องพระยุคลบาล โดยสนับสนุนและส่งเสริมเกษตรกร ใน โครงการ เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรพอเพียง และเกษตรผสมผสาน ตามแนวพระราชดาริ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งโค-กระบือถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญปัจจัยหนึ่งต่อการประกอบ อาชีพการเกษตรของเกษตรกร 2. สนับสนุนการบริหารจัดการโครงการ โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม เน้นให้เกิดชุมชนหรือหมู่บ้านที่ มีส่วนร่วม ในการกากับดูแลกันเองในชุมชนนั้นๆ เพื่อเป็นการสร้างความเข้มแข็งในชุมชน และ เกิดความยั่งยืน นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
  • 8.  วิธีที่ 1 บริจาคเป็นเงิน ไม่จากัดจานวน  วิธีที่ 2 บริจาคเป็นโค-กระบือ ไม่จากัด จานวน โดย ธคก. ได้กาหนดคุณลักษณะ เฉพาะของโค-กระบือ นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
  • 9. 1. ส่วนกลาง กลุ่มโครงการพิเศษ สานักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี ตึกชัยอัศว รักษ์ ชั้น 4 กรมปศุสัตว์ ถนนพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 โทร.0-2653-4444 ต่อ 3381-5 โทร / โทรสาร 0-2653-4926 2. ส่วนภูมิภาค สานักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยและสานักงานปศุสตว์จังหวัด ทั่วประเทศ ั นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10
  • 10. ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากธนาคารโค-กระบือ นั้น ส่งผลโดยตรงกับตัวเกษตรกรที่ ยากจน คือ ได้ช่วยเหลือให้เกษตรกรสามารถมีปัจจัยการผลิตเป็นของตนเอง ไม่ต้องเสียค่าเช่า แรงงานโค-กระบือ ในอัตราสูง เป็นหลักประกันอย่างหนึ่ง ซึ่งเอื้ออานวยให้การผลิตเกิดผลอย่าง เต็มเม็ดเต็มหน่วย ส่วนผลประโยชน์ทางอ้อมนั้น เกิดขึ้นจากการเลือกใช้กลยุทธ์ที่เหมาะสมใน การพัฒนา เพราะแรงงานแบบดั้งเดิมนี้ เป็นสิ่งที่เหมาะสมกับระบบเกษตรกรรมเบบยังชีพ ซึ่ง เกษตรกรมีฐานะยากจน และมีพื้นที่ทากินขนาดเล็ก แรงงานแบบดั้งเดิมนี้ ไม่ต้องการความรู้ทาง เทคนิค วิชาการขั้นสูงใด ๆ ในการบารุงรักษา การใช้แรงงาน โค-กระบือ ในการทานา ปลูกข้าว เป็นลักษณะของการอยู่ร่วมกันและการพึ่งพากันตามธรรมชาติ เกษตรกรสามารถเรียนรู้ได้เอง จากการดารงชีพ อีกทางหนี่ง การใช้แรงงานสัตว์ก็เป็นการเลือกใช้พลังงานจากธรรมชาติแทน การใช้น้ามันเชื้อเพลิง ซึ่งเป็นทรัพยากรที่นับวันจะเหลือน้อยลงไป และมีราคาสูงขึ้น ดูจะเป็น ประโยชน์หลายทาง ซึ่งสอดคล้องกันอย่างพอเหมาะยิ่ง นางสาวนิรัชพร มหาศาล ชั้น ม.4/8 เลขที่ 10