SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและโมเลกุลของสาร
- แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนหรืออะตอมของธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึก
หรือโมเลกุล เรียกว่าพันธะเคมี
- พันธะเคมีแบ่งออกเป็นพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ
1. เขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได้
ตัวชี้วัด
จุดประสงค์การเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐาน
เรื่อง เขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก ในสารประกอบไอออนิกประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบ
ไอออนทั้งสองชนิดจะรวมตัวกันด้วยอัตราส่วนที่ทาให้ผลรวมของประจุเป็นศูนย์
หลักการเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก
1. เขียนสัญลักษณ์ของธาตุที่เป็นไอออนบวกไว้ข้างหน้าตามด้วยไอออนลบ
2. แสดงอัตราส่วนอย่างต่าของจานวนไอออนที่เป็นองค์ประกอบโดยเขียนตัวเลขอาราบิกห้อยท้าย
ไอออนนั้น ทั้งนี้ในกรณีที่จานวนเป็น 1 ไม่ต้องเขียน
ตัวอย่าง 1 สารประกอบโซเดียมคลอไรด์
เกิดจาก Na+
กับ Cl-
รวมกันด้วยอัตราส่วน 1 : 1
จึงมีสูตรเป็น NaCl
ตัวอย่าง 2 สารประกอบแคลเซียมฟลูออไรด์
เกิดจาก Ca2+
กับ F-
รวมกันด้วยอัตราส่วน 1 : 2
จึงมีสูตรเป็น CaF2
จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่าถ้าประจุที่ไอออนบวกเท่ากับประจุไอออนลบตัวเลขที่กากับด้านล่าง
ของสัญลักษณ์ไอออนจะเป็น 1 แต่ถ้าประจุไม่เท่ากัน ตัวเลขที่เป็นค่าของประจุบนไอออนหนึ่งจะเป็นตัว
เลขที่กากับจานวนไอออนของอีกตัวหนึ่ง ดังนี้
Ca2+
F-
CaF2
Mg2+
Cl-
MgCl2
ใบความรู้
จากตัวอย่างจะเห็นว่าการเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกจาเป็นต้องทราบประจุของธาตุต่างๆ
รูปที่ 7.1 แสดงตารางธาตุช่วยจาประจุของไอออนชนิดต่าง ๆ โดยโลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันต่าจึงเสีย
อิเล็กตรอนง่ายกลายเป็นไอออนบวก ส่วนอโลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันสูงจึงเป็นฝ่ายรับอิเล็กตรอน
กลายเป็นไอออนลบ
รูปที่ 7.1 แสดงตารางธาตุช่วยจาประจุของไอออนชนิดต่าง ๆ
การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
มีหลักการดังนี้
1. กรณีที่โลหะมีประจุบวกหรือเลขออกซิเดชันได้ค่าเดียว ให้อ่านชื่อโลหะหรือไอออนบวก
ก่อนแล้วตามด้วยอโลหะหรือไอออนลบโดยเปลี่ยนพยางค์ท้ายเป็น ไ-ด์ ( -ide ) สาหรับสารประกอบ
ที่มีเพียง 2 ธาตุ แต่ธาตุที่อยู่หลังบางธาตุจะมีการตัดพยางค์ท้ายออกก่อนที่จะเปลี่ยนเสียง เช่น
ไฮโดรเจน เป็น ไฮไดรด์
ไนโตรเจน เป็น ไนไตรด์
ออกซิเจน เป็น ออกไซด์
ฟอสฟอรัส เป็น ฟอสไฟด์
2. กรณีที่โลหะมีประจุบวกหรือค่าเลขออกซิเดชันได้หลายค่า ให้อ่านชื่อโลหะหรือไอออนบวก
นาหน้า และระบุค่าประจุบวกหรือเลขออกซิเดชันของโลหะเป็นตัวเลขโรมันในวงเล็บท้ายชื่อโลหะ
และตามด้วยชื่ออโลหะหรือไอออนลบ แล้วเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็นไ-ด์ ( -ide ) สาหรับสารประกอบ
ที่มีเพียง 2 ธาตุ ตัวอย่างการอ่านชื่อไอออนบวกและไอออนลบศึกษาได้จากตารางที่ 7.1
3. กรณีที่ไอออนบางชนิดเป็นไอออนที่เกิดจากกลุ่มอะตอม ให้อ่านชื่อตามชื่อของกลุ่มอะตอมนั้น
ซึ่งการเรียกชื่อของกลุ่มอะตอมแสดงดังตารางที่ 7.2
ตารางที่ 7.1 การเรียกชื่อไอออนบวกและไอออนลบของธาตุ
ไอออนบวก ไอออนลบ
H+
ไฮโดรเจนไอออน H-
ไฮไดร์ไอออน
Na+
โซเดียมไอออน F-
ฟลูออไรด์ไอออน
K+
โพแทสเซียมไอออน Cl-
คลอไรด์ไอออน
Mg2+
แมกนิเซียมไอออน Br-
โบรไมด์ไอออน
Ca2+
แคลเซียมไอออน I-
ไอโอไดน์ไอออน
Ag+
ซิลเวอร์ไอออน O2-
ออกไซด์ไอออน
Zn2+
ซิงค์ไอออน S2-
ซัลไฟด์ไอออน
Al3+
อลูมิเนียมไอออน Se2-
ซิลิไนด์ไอออน
Cu+
คอปเปอร์ (I) ไอออน Te2-
เทลลูไรด์ไอออน
Cu2+
คอปเปอร์ (II) ไอออน N3-
ไนไตร์ไอออน
Fe2+
ไอร์ออน (II) ไอออน P3-
ฟอสไฟด์ไอออน
Fe3+
ไอร์ออน (III) ไอออน
Hg+
เมอร์คิวรี (I) ไอออน
Pb2+
เลด (II) ไอออน
Cr3+
โครเมียม (III) ไอออน
ตารางที่ 7.2 การเรียกชื่อไอออนบวกและไอออนลบที่เกิดจากกลุ่มอะตอม
ไอออน ชื่อ ไอออน ชื่อ
NH4
+
แอมโฒเนียมไอออน ClO3
-
คลอเรตไอออน
OH-
ไฮดรอกไซด์ไอออน ClO4
-
เปอร์คลอเรตไอออน
NO2
-
ไนไตรด์ไอออน Cr2O7
2-
ไดโครเมตไอออน
NO3
-
ไนเตรตไอออน CrO4
2-
โครเมตไอออน
SO3
2-
ซัลไฟด์ไอออน MnO4
2-
แมงกาเนตไอออน
SO4
2-
ซัลเฟตไอออน MnO4
-
เปอร์แมงกาเนตไอออน
CO3
2-
คาร์บอเนตไอออน CN-
ไซยาไนด์ไอออน
PO4
3-
ฟอสเฟตไอออน HSO3
-
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ไอออน
SCN-
ไทไซยาเนตไอออน HSO4
-
ไฮโดรเจนซัลเฟตไอออน
HCO3
-
ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน PO3
3-
ฟอสไฟด์ไอออน
HPO4
2-
ไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน S2O3
2-
ไทโอซัลเฟตไอออน
BO3
2-
โบเรตไอออน CH3COO-
แอซีเตตไอออน
ตารางที่ 7.3 ตัวอย่างการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก
สูตรประกอบ ชื่อ
Ca3N2 แคลเซียมไนไตร์
Al2O3 อะลูมิเนียมออกไซด์
MgCl2 แมกนีเซียมคลอไรด์
Ca3P2 แคลเซียมฟอสไฟด์
Na2O โซเดียมออกไซด์
FeCl3 ไอออน (III) คลอไรด์
HgO เมอร์คิวรี (II) ออกไซด์
NaNO3 โซเดียมไนเตรต
FeCl2 ไอออน (II) คลอไรด์
MgO แมกนีเซียมออกไซด์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 7 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังเรียน
เรื่อง การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
จานวน 5 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 5 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดและทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกได้ถูกต้อง
ก. MgCl2 , CaCl2
ข. MgO , K2Cl
ค. Li2Cl , Al2O3
ง. Ca2F , Na2S
2. ข้อใดเรียกชื่อสารได้ถูกต้อง
ก. BaSO4แบเรียมซัลไฟด์
ข. NaNO3โซเดียมไนเตรต
ค. NH4Cl แอมโมเนียมคลอรีน
ง. CaOแคลเซียมมอนอออกไซด์
3. 38Sr ทาปฎิกิริยากับ16S สารประกอบที่ได้ควรมีสูตร
อย่างไร
ก. SrS3
ข. Sr2S3
ค. SrS
ง. Sr3S3
4. สารประกอบไอออนิกมีสูตร X2Y ถ้า X เป็นธาตุ
ที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 19 แล้ว Y ควรเป็นธาตุที่มี
เลขอะตอมเป็นเท่าใด
ก. 15
ข. 16
ค. 17
ง. 19
5. ชื่อสารที่กาหนดให้ต่อไปนี้ข้อใดผิด
ก. Cu2S คอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ ,NaCN
โซเดียมไซยาไนด์
ข. P2O5ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ,
Al2O3อะลูมิเนียมออกไซด์
ค. MnO2แมงกานีส (IV) ออกไซด์ , FeCl3
ไอร์ออน (III) คลอไรด์
ง. Na2CO3โซเดียมคาร์บอเนต, KNO3
โพแทสเซียมไนเตรท
แบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 7 เรื่อง การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
ตัวเลือก
หัวข้อ
ก ข ค ง
1
2
3
4
5
ชื่อ ................................. นามสกุล .................................... ชั้น ............ เลขที่ ..........
คะแนนเต็ม 5
คะแนนที่สอบได้
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ตรวจ
(.............................................................)
วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ.
..............
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 7 เรื่อง การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1) ก.
2) ข.
3) ค.
4) ข.
5) ก.
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว, 2553
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553
สุทัศน์ ไตรสถิตวร. เคมี ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์
โปรเกสซีฟ จากัด 2553.
บรรณานุกรม

More Related Content

What's hot

ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3oraneehussem
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์Jariya Jaiyot
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion EquilibriumDr.Woravith Chansuvarn
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างMaruko Supertinger
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้าง
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 

Viewers also liked

บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีgusuma
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsDr.Woravith Chansuvarn
 
Elisa pasos, elaborado por josé mier
Elisa pasos, elaborado por josé mierElisa pasos, elaborado por josé mier
Elisa pasos, elaborado por josé mierAngelica Delgado
 

Viewers also liked (7)

บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
Método ELISA
Método ELISAMétodo ELISA
Método ELISA
 
Elisa pasos, elaborado por josé mier
Elisa pasos, elaborado por josé mierElisa pasos, elaborado por josé mier
Elisa pasos, elaborado por josé mier
 

Similar to Punmanee study 7

05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
4.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 24.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 2kai kk
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...Kasetsart University
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfToponeKsh
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfKatewaree Yosyingyong
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224jirat266
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfKatewaree Yosyingyong
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่กันธิชา เพชรดี
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมีnn ning
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 

Similar to Punmanee study 7 (20)

Punmanee study 2
Punmanee study 2Punmanee study 2
Punmanee study 2
 
Punmanee study 6
Punmanee study 6Punmanee study 6
Punmanee study 6
 
Punmanee study 8
Punmanee study 8Punmanee study 8
Punmanee study 8
 
Punmanee study 10
Punmanee study 10Punmanee study 10
Punmanee study 10
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
4.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 24.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 2
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydrate
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 

Punmanee study 7

  • 1. ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและโมเลกุลของสาร - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนหรืออะตอมของธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึก หรือโมเลกุล เรียกว่าพันธะเคมี - พันธะเคมีแบ่งออกเป็นพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ 1. เขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐาน
  • 2. เรื่อง เขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก ในสารประกอบไอออนิกประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบ ไอออนทั้งสองชนิดจะรวมตัวกันด้วยอัตราส่วนที่ทาให้ผลรวมของประจุเป็นศูนย์ หลักการเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก 1. เขียนสัญลักษณ์ของธาตุที่เป็นไอออนบวกไว้ข้างหน้าตามด้วยไอออนลบ 2. แสดงอัตราส่วนอย่างต่าของจานวนไอออนที่เป็นองค์ประกอบโดยเขียนตัวเลขอาราบิกห้อยท้าย ไอออนนั้น ทั้งนี้ในกรณีที่จานวนเป็น 1 ไม่ต้องเขียน ตัวอย่าง 1 สารประกอบโซเดียมคลอไรด์ เกิดจาก Na+ กับ Cl- รวมกันด้วยอัตราส่วน 1 : 1 จึงมีสูตรเป็น NaCl ตัวอย่าง 2 สารประกอบแคลเซียมฟลูออไรด์ เกิดจาก Ca2+ กับ F- รวมกันด้วยอัตราส่วน 1 : 2 จึงมีสูตรเป็น CaF2 จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่าถ้าประจุที่ไอออนบวกเท่ากับประจุไอออนลบตัวเลขที่กากับด้านล่าง ของสัญลักษณ์ไอออนจะเป็น 1 แต่ถ้าประจุไม่เท่ากัน ตัวเลขที่เป็นค่าของประจุบนไอออนหนึ่งจะเป็นตัว เลขที่กากับจานวนไอออนของอีกตัวหนึ่ง ดังนี้ Ca2+ F- CaF2 Mg2+ Cl- MgCl2 ใบความรู้
  • 3. จากตัวอย่างจะเห็นว่าการเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกจาเป็นต้องทราบประจุของธาตุต่างๆ รูปที่ 7.1 แสดงตารางธาตุช่วยจาประจุของไอออนชนิดต่าง ๆ โดยโลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันต่าจึงเสีย อิเล็กตรอนง่ายกลายเป็นไอออนบวก ส่วนอโลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันสูงจึงเป็นฝ่ายรับอิเล็กตรอน กลายเป็นไอออนลบ รูปที่ 7.1 แสดงตารางธาตุช่วยจาประจุของไอออนชนิดต่าง ๆ การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก มีหลักการดังนี้ 1. กรณีที่โลหะมีประจุบวกหรือเลขออกซิเดชันได้ค่าเดียว ให้อ่านชื่อโลหะหรือไอออนบวก ก่อนแล้วตามด้วยอโลหะหรือไอออนลบโดยเปลี่ยนพยางค์ท้ายเป็น ไ-ด์ ( -ide ) สาหรับสารประกอบ ที่มีเพียง 2 ธาตุ แต่ธาตุที่อยู่หลังบางธาตุจะมีการตัดพยางค์ท้ายออกก่อนที่จะเปลี่ยนเสียง เช่น ไฮโดรเจน เป็น ไฮไดรด์ ไนโตรเจน เป็น ไนไตรด์ ออกซิเจน เป็น ออกไซด์ ฟอสฟอรัส เป็น ฟอสไฟด์ 2. กรณีที่โลหะมีประจุบวกหรือค่าเลขออกซิเดชันได้หลายค่า ให้อ่านชื่อโลหะหรือไอออนบวก นาหน้า และระบุค่าประจุบวกหรือเลขออกซิเดชันของโลหะเป็นตัวเลขโรมันในวงเล็บท้ายชื่อโลหะ และตามด้วยชื่ออโลหะหรือไอออนลบ แล้วเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็นไ-ด์ ( -ide ) สาหรับสารประกอบ ที่มีเพียง 2 ธาตุ ตัวอย่างการอ่านชื่อไอออนบวกและไอออนลบศึกษาได้จากตารางที่ 7.1
  • 4. 3. กรณีที่ไอออนบางชนิดเป็นไอออนที่เกิดจากกลุ่มอะตอม ให้อ่านชื่อตามชื่อของกลุ่มอะตอมนั้น ซึ่งการเรียกชื่อของกลุ่มอะตอมแสดงดังตารางที่ 7.2 ตารางที่ 7.1 การเรียกชื่อไอออนบวกและไอออนลบของธาตุ ไอออนบวก ไอออนลบ H+ ไฮโดรเจนไอออน H- ไฮไดร์ไอออน Na+ โซเดียมไอออน F- ฟลูออไรด์ไอออน K+ โพแทสเซียมไอออน Cl- คลอไรด์ไอออน Mg2+ แมกนิเซียมไอออน Br- โบรไมด์ไอออน Ca2+ แคลเซียมไอออน I- ไอโอไดน์ไอออน Ag+ ซิลเวอร์ไอออน O2- ออกไซด์ไอออน Zn2+ ซิงค์ไอออน S2- ซัลไฟด์ไอออน Al3+ อลูมิเนียมไอออน Se2- ซิลิไนด์ไอออน Cu+ คอปเปอร์ (I) ไอออน Te2- เทลลูไรด์ไอออน Cu2+ คอปเปอร์ (II) ไอออน N3- ไนไตร์ไอออน Fe2+ ไอร์ออน (II) ไอออน P3- ฟอสไฟด์ไอออน Fe3+ ไอร์ออน (III) ไอออน Hg+ เมอร์คิวรี (I) ไอออน Pb2+ เลด (II) ไอออน Cr3+ โครเมียม (III) ไอออน
  • 5. ตารางที่ 7.2 การเรียกชื่อไอออนบวกและไอออนลบที่เกิดจากกลุ่มอะตอม ไอออน ชื่อ ไอออน ชื่อ NH4 + แอมโฒเนียมไอออน ClO3 - คลอเรตไอออน OH- ไฮดรอกไซด์ไอออน ClO4 - เปอร์คลอเรตไอออน NO2 - ไนไตรด์ไอออน Cr2O7 2- ไดโครเมตไอออน NO3 - ไนเตรตไอออน CrO4 2- โครเมตไอออน SO3 2- ซัลไฟด์ไอออน MnO4 2- แมงกาเนตไอออน SO4 2- ซัลเฟตไอออน MnO4 - เปอร์แมงกาเนตไอออน CO3 2- คาร์บอเนตไอออน CN- ไซยาไนด์ไอออน PO4 3- ฟอสเฟตไอออน HSO3 - ไฮโดรเจนซัลไฟด์ไอออน SCN- ไทไซยาเนตไอออน HSO4 - ไฮโดรเจนซัลเฟตไอออน HCO3 - ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน PO3 3- ฟอสไฟด์ไอออน HPO4 2- ไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน S2O3 2- ไทโอซัลเฟตไอออน BO3 2- โบเรตไอออน CH3COO- แอซีเตตไอออน
  • 6. ตารางที่ 7.3 ตัวอย่างการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก สูตรประกอบ ชื่อ Ca3N2 แคลเซียมไนไตร์ Al2O3 อะลูมิเนียมออกไซด์ MgCl2 แมกนีเซียมคลอไรด์ Ca3P2 แคลเซียมฟอสไฟด์ Na2O โซเดียมออกไซด์ FeCl3 ไอออน (III) คลอไรด์ HgO เมอร์คิวรี (II) ออกไซด์ NaNO3 โซเดียมไนเตรต FeCl2 ไอออน (II) คลอไรด์ MgO แมกนีเซียมออกไซด์
  • 7. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คาชี้แจง 1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 7 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังเรียน เรื่อง การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก จานวน 5 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 5 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดและทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกได้ถูกต้อง ก. MgCl2 , CaCl2 ข. MgO , K2Cl ค. Li2Cl , Al2O3 ง. Ca2F , Na2S 2. ข้อใดเรียกชื่อสารได้ถูกต้อง ก. BaSO4แบเรียมซัลไฟด์ ข. NaNO3โซเดียมไนเตรต ค. NH4Cl แอมโมเนียมคลอรีน ง. CaOแคลเซียมมอนอออกไซด์ 3. 38Sr ทาปฎิกิริยากับ16S สารประกอบที่ได้ควรมีสูตร อย่างไร ก. SrS3 ข. Sr2S3 ค. SrS ง. Sr3S3 4. สารประกอบไอออนิกมีสูตร X2Y ถ้า X เป็นธาตุ ที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 19 แล้ว Y ควรเป็นธาตุที่มี เลขอะตอมเป็นเท่าใด ก. 15 ข. 16 ค. 17 ง. 19 5. ชื่อสารที่กาหนดให้ต่อไปนี้ข้อใดผิด ก. Cu2S คอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ ,NaCN โซเดียมไซยาไนด์ ข. P2O5ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ , Al2O3อะลูมิเนียมออกไซด์ ค. MnO2แมงกานีส (IV) ออกไซด์ , FeCl3 ไอร์ออน (III) คลอไรด์ ง. Na2CO3โซเดียมคาร์บอเนต, KNO3 โพแทสเซียมไนเตรท แบบทดสอบหลังเรียน
  • 8. ชุดที่ 7 เรื่อง การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก ตัวเลือก หัวข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 ชื่อ ................................. นามสกุล .................................... ชั้น ............ เลขที่ .......... คะแนนเต็ม 5 คะแนนที่สอบได้ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ตรวจ (.............................................................) วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ. .............. กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
  • 9. ชุดที่ 7 เรื่อง การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 1) ก. 2) ข. 3) ค. 4) ข. 5) ก. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
  • 10. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553 สุทัศน์ ไตรสถิตวร. เคมี ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์ โปรเกสซีฟ จากัด 2553. บรรณานุกรม