SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
ธรรมนูญครอบครัว
พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
หัวข้อที่น่าสนใจ
 ธุรกิจครอบครัว
 ปัญหาต่างๆ ที่พบบ่อยในธุรกิจครอบครัว
 10 หลุมพร่างที่ธุรกิจครอบครัวมักจะมองข้าม
 การกากับดูแลกิจการธุรกิจครอบครัวที่ดี
 ธรรมนูญครอบครัวคืออะไร
 กรณีตัวอย่างธุรกิจครอบครัวที่ยั่งยืน
 ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
 ต้นทุนของครอบครัว
ธุรกิจครอบครัว (Family Business)
• ผู้เชี่ยวชาญที่เขียนหนังสือด้านธุรกิจครอบครัว คือ Ward (2005) ได้ให้ความหมาย
ไว้ว่า "ธุรกิจครอบครัวเป็นกิจการที่มีการส่งผ่านจากรุ่นสู่รุ่นอย่างมี
การจัดการ และการควบคุม มีวิวัฒนาการของครอบครัวเป็นสิ่งกาหนด
ความซับซ้อนและการเติบโตของธุรกิจครอบครัว"
• ธุรกิจครอบครัวนั้นมีบทบาทที่ซ้อนทับกัน ต่างจากธุรกิจทั่วไป
คือ มีทั้งบทบาทของความเป็นเจ้าของ บทบาทของ
สมาชิกครอบครัว และบทบาทด้านการบริหารธุรกิจ
ความเป็นเจ้าของ
(Ownership)
ธุรกิจ
(Business)
ครอบครัว
(Family)
ข้อมูลสถิติที่ชี้ว่า ธุรกิจครอบครัวเป็นกาลังสาคัญของธุรกิจทั่วโลก
และมีส่วนสาคัญต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ
• ปริมาณของธุรกิจครอบครัวในกลุ่มประเทศยุโรป มีธุรกิจครอบครัวถึง 80-90%
ของธุรกิจที่มีอยู่
• ในส่วนของเอเชีย ข้อมูลจากบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์ ในปี 2012 ชี้ว่า ประมาณ
70-80 % ของธุรกิจในเอเชียเติบโตมาจากธุรกิจครอบครัว
• ในประเทศไทยธุรกิจส่วนใหญ่มากกว่า 90% ของจีดีพี มาจากธุรกิจครอบครัว
• ข้อมูลของมูลนิธิสถาบันอนาคตไทยศึกษา ระบุว่าร้อยละ 80 ของธุรกิจในประเทศ
ไทยเป็นธุรกิจครอบครัว และการประเมินของไอโอดีพบว่าร้อยละ 33 ของบริษัท
จดทะเบียนในกลุ่ม SET100 เป็นธุรกิจครอบครัว
(ที่มา: Reuters, Nov 3, 2011 http://www.reuters.com/article/2011/11/03/india-familybusiness-idUSL4E7M31UV20111103)
ข้อมูลสถิติที่ชี้ว่า ธุรกิจครอบครัวเป็นกาลังสาคัญของธุรกิจทั่วโลก
และมีส่วนสาคัญต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ
• จากรายงานของเครดิตสวิส (Credit Suisse) ธนาคารใหญ่ในสวิสเซอร์แลนด์
ธุรกิจครอบครัวของชาวอินเดียมีสัดส่วน 67% ของบริษัทจดทะเบียนทั้งหมด
ในเอเชีย โดยมีมูลค่ารวมมากกว่า 50 ล้านเหรียญสหรัฐ
• ตัวอย่างบริษัทดังๆ ทั่วโลกที่เป็นธุรกิจครอบครัว เช่น
ระบบในธุรกิจครอบครัวที่มีผลกระทบซึ่งกัน
 ธุรกิจต้องคานึงถึงระบบที่แตกต่างแต่มีความสัมพันธ์กันที่ประกอบกันอยู่ในธุรกิจครอบครัว ซึ่งในแต่ละระบบมี
ความจาเป็นต้องพิจารณาและดูแลเพื่อสร้างผลลัพธ์ในภาพรวมให้มากที่สุด แนวทางนี้สามารถทาให้เรามี
กระบวนการที่ครอบคลุมในการรับมือและแก้ปัญหาเพื่อบรรลุถึงเป้าหมายของผู้ใช้บริการจากธุรกิจ
ความเป็นเจ้าของ/
ระบบการควบคุม
ระบบธุรกิจระบบครอบครัว
- ภารกิจและเป้าหมาย
- ด้านกฎหมาย
- การกระจายความเป็นเจ้าของ
- คณะกรรมการบริษัท
- ข้อตกลงของผู้ถือหุ้น
- บทบาทความสัมพันธ์
- รูปแบบวัฒนธรรม/ค่านิยม
- การตัดสินใจ
- การสื่อสารและการจัดการ
ความขัดแย้ง
- ภารกิจ
- กลยุทธ์
- โครงสร้าง
-เทคโนโลยี
- วัฒนธรรม
- ระบบ (เช่นผลตอบแทนและข้อมูล)
- กระบวนการ (เช่นการสื่อสาร การตัดสินใจ)
ปัญหาต่างๆ ที่พบบ่อยในธุรกิจครอบครัว
 ความคิดต่างระหว่างคนรุ่นเก่ากับคนรุ่นใหม่
 การสื่อสารระหว่างสมาชิกในครอบครัวน้อย
 การขาดการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสมาชิกในครอบครัว
 ระบบ Seniority (ที่คนอายุน้อยต้องเป็นรองคนที่อายุมากกว่าเสมอ)
 ค่านิยมที่ให้เพศชายขึ้นมาเป็นผู้สืบทอดธุรกิจ
 การขาดความชัดเจนในเรื่องของบัญชี เงินกองกลางกงสีที่สมาชิกในครอบครัว
สามารถนาออกไปใช้ได้โดยไม่ต้องมีหลักฐานการเบิกจ่าย
 ปัญหาเรื่องการสืบทอดกิจการ
 ความคิดที่แตกกันระหว่างพ่อ แม่ ลูก
 ปัญหาความไม่ปรองดองของพี่น้อง
ฯลฯ
ประเด็นเกี่ยวกับการอยู่รอดของธุรกิจครอบครัว
 จากผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พบว่า อัตราการอยู่รอดของธุรกิจครอบครัวจนถึง
เจนเนอเรชั่นที่ 4 จาก 100% จะเหลือเพียง 3% เท่านั้น
 ยังมีผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า มีธุรกิจครอบครัวเพียงไม่ถึง 1 เปอร์เซ็นต์ ที่สามารถสืบทอด
ไปสู่รุ่นที่ 4ได้
 ส่วนใหญ่ไม่ได้มาจากปัจจัยภายนอกหรือวิกฤติต่างๆ เข้ามากระทบ แต่เกิดจาก “ปัจจัยภายใน” โดย
วัฒนธรรมของคนไทย ทาให้เรื่องของธุรกิจครอบครัวกลายเป็นเรื่องปิด ศาสตร์แขนงนี้ในต่างประเทศ
ได้เปิดสอนกันในมหาวิทยาลัยดังๆ ของโลก เช่น ฮาวาร์ด หรือเคลล็อกซ์ และนิยมกันมาเป็นเวลา
10 ปี ขณะที่ในเมืองไทยเพิ่งจะได้รับความสนใจเมื่อไม่กี่ปีมานี้
 สาเหตุหลักของธุรกิจครอบครัวล้มเหลว คือ ไม่ได้มีการจัดโครงสร้างของระบบที่ดี ส่งผลให้อาจมี
ปัญหาขัดแย้งฟ้องร้อง แย่งชิงมรดก การล้มละลายได้
 สิ่งที่เป็นมรดกที่มีค่าที่สุดของธุรกิจครอบครัว คือ การสร้างระบบบริหารธุรกิจของครอบครัว เพราะ
นอกจากจะทาให้เกิดความยั่งยืนของธุรกิจแล้ว ยังจะช่วยลดปัญหาของคนรุ่นหลัง
10 หลุมพร่างที่ธุรกิจครอบครัวมักจะมองข้าม
1. การพูดกันน้อยลง ทาให้ความเข้าใจกันในครอบครัวน้อยลงตามไปด้วย ไม่ว่าจะเป็น
นโยบาย วิธีการทางาน ความคาดหวัง ทัศนคติ ฯลฯ ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพในการ
ทางาน
2. ให้ความสาคัญกับธุรกิจมากเกินไปจนลืมครอบครัว
3. การหลงลืมในบทบาท ธุรกิจครอบครัวแตกต่างจากธุรกิจทั่วไปที่มีลักษณะของหุ้นส่วน
เนื่องจากมี 3 ส่วนที่เกี่ยวข้องคือ
3.1 บทบาทของคนที่เป็นเจ้าของหรือผู้ก่อตั้ง ซึ่งมีหุ้นมีสิทธิมีเสียง
3.2 บทบาทของการเป็นผู้บริหาร สาหรับเจ้าของซึ่งมีบทบาทเป็นผู้ถือหุ้นสามารถจะเข้า
มาบริหาร หรือไม่บริหาร ธุรกิจของตัวเองก็ได้ ถ้ามีทั้งสองบทบาทโดยเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่และ
ตาแหน่งบริหารระดับสูงด้วยจะยิ่งมีอานาจมาก
3.3 บทบาทของความเป็นสมาชิกของครอบครัว
4. การปล่อยให้อารมณ์อยู่เหนือเหตุผล เหมือนเมื่ออยู่กับครอบครัว
10 หลุมพร่างที่ธุรกิจครอบครัวมักจะมองข้าม (ต่อ)
5. ความประมาท เนื่องจากไม่ได้จัดทาระบบบริหารของธุรกิจครอบครัวเอาไว้ก่อน เช่น การหา
ผู้สืบทอดกิจการ การจัดการเงินกองกลางของครอบครัว การแบ่งสรรปันส่วนผลประโยชน์
ต่างๆ หรือในบางครั้งไม่มีแผนในการพัฒนาคนที่จะมาเป็นผู้บริหารคนต่อไป ไม่ได้เตรียม
แผนการสืบทอดกิจการเอาไว้ เพราะเห็นว่ายังมีเวลาในอนาคต มักจะใช้เวลาไปกับการ
แก้ปัญหาเฉพาะหน้าและมุ่งเน้นไปที่การสร้างการเติบโต ของธุรกิจเท่านั้น โดยลืมไปว่าทุกคน
มีชีวิตของตนเอง เมื่อถึงเวลาอาจจะไม่มีผู้สืบทอด
6. จัดลาดับความสาคัญของชีวิตผิดไป ปล่อยให้ผลประโยชน์อยู่เหนือความรักความสามัคคี
ของคนในครอบครัว เกิดการแย่งชิงผลประโยชน์ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเงินหรือหุ้น หรืออภิสิทธิ์
ต่างๆ โดยลืมความเป็นคนในครอบครัวเดียวกันไป ส่วนใหญ่มีสาเหตุจากการได้รับการอบรม
สั่งสอนไม่ดีจากพ่อแม่ เพราะความสามัคคีกันของคนในครอบครัวเป็นรากฐานให้เกิดความมั่ง
คั่ง เนื่องจากมีการสร้างค่านิยมให้คนในครอบครัวแข่งขันกันเอง มีการเปรียบเทียบกันระหว่าง
พี่กับน้อง ซึ่งก่อให้เกิดการไม่รักกัน
10 หลุมพร่างที่ธุรกิจครอบครัวมักจะมองข้าม (ต่อ)
7. คนในครอบครัวเชื่อคนนอกมากกว่าคนใน ทั้งๆ ที่คนในครอบครัวมีความสามารถ ทาให้
คนในครอบครัวเกิดการน้อยเนื้อต่าใจ เช่น พ่อแม่เชื่อที่ปรึกษาข้างนอกมากกว่าเชื่อลูก หรือ
ลูกเชื่อคนอื่นมากกว่าพ่อแม่ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งกิจการมาด้วยซ้าไป หรือเมื่อคนในครอบครัวมี
ความสนิทสนมกันมากทาให้ให้เกียรติกันน้อยกว่าคนอื่น โดยไม่ได้ดูจากเหตุผล
8. คิดว่าเงินทองไม่ใช่เรื่องสาคัญ ทั้งๆ ที่จริงเป็นเรื่องสาคัญ เช่น ลูกหลานที่เคยได้เงินเดือน
มากมายเมื่อไปทางานอยู่ที่อื่นเพราะเป็นคนเก่ง แต่เมื่อกลับมาทางานให้กับธุรกิจครอบครัว
กลับได้รับค่าตอบแทนไม่มากพอ โดยพ่อแม่หรือคนในครอบครัวลืมคิดไปว่าเขาต้องทิ้งอนาคต
หรือรายได้ที่เคยสูง ทาให้เกิดความลังเลใจที่จะเข้ามาช่วยธุรกิจครอบครัว และเมื่อเขาคิดว่า
ได้รับการดูแลอย่างไม่เป็นธรรม ทาให้การทางานไม่เต็มประสิทธิภาพ ทาเท่าที่อยากจะทา
เพราะได้รับค่าตอบแทนน้อย
10 หลุมพร่างที่ธุรกิจครอบครัวมักจะมองข้าม (ต่อ)
9. เลือกคนมากกว่าความสามารถ ทาให้ไม่ได้คนที่ดีมีความสามารถเหมาะสมที่สุดเข้ามาทางาน
เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นเกือบทุกธุรกิจครอบครัว เพราะเป็นการทาลายกาลังใจพนักงานที่เป็นมือ
อาชีพและยังเกิดการขัดกันใน เรื่องของผลประโยชน์ เช่น สามีภรรยาอยู่ในสายงานเดียวกัน
ทาให้ไม่มีการตรวจสอบและถ่วงดุลซึ่งกันและกัน หรือหากสมาชิกครอบครัวร่วมกันคิดทาเรื่อง
ที่ไม่ดีจะก่อให้เกิดเสียหายได้อย่างมาก
10. การยึดมั่นถือมั่นมากเกินไป เชื่อในความคิดของตนเอง และยังไม่เชื่อความคิดของคนอื่น
เช่น พ่อแม่เชื่อในประสบการณ์ของตนเองเพราะประสบความสาเร็จ ขณะที่ลูกเชื่อมั่นใน
ความรู้ของตัวเองที่ทันสมัยกว่า เป็นต้น ทาให้เกิดการกระทบกระทั่งกัน พ่อแม่มักจะพูดถึง
ความสาเร็จของตนเอง ขณะที่ ลูกพูดถึงสิ่งใหม่ๆ ที่ตัวเองได้เรียนมา ทั้งสองฝ่ายพูดกันคนละ
เรื่อง พยายามนาสิ่งที่ตัวเองเชื่อมาใส่ในบริษัท ทาให้ไปกันคนละทิศละทาง
ตัวอย่างธุรกิจครอบครัวของอินเดียที่มีปัญหา
 บริษัท Reliance เป็นบริษัทที่ทาธุรกิจเกี่ยวกับปิโตรเลียม และอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่
ยิ่งใหญ่ในอินเดีย ซึ่งเป็นธุรกิจครอบครัวตระกูล Ambani
 ที่ผ่านมาเคยเกิดเหตุพี่น้องในตระกูลนี้ทะเลาะกันจนส่งผลกระทบทาให้ตลาดหุ้น
ร่วงลงมาถึง 12% ภายในวันเดียว กระทบกับจีดีพีของอินเดียถึง 3%
 นอกจากนี้ยังมีกรณีที่คล้ายคลึงกับบริษัทนี้อีกมากมายในหลายประเทศ โดยในส่วน
ของประเทศไทยมีเพียงไม่กี่ตระกูลที่กุมเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งหากเกิดปัญหาความ
แตกแยกอาจจะส่งผลต่อเศรษฐกิจและศักยภาพการแข่งขันของประเทศได้
การกากับดูแลกิจการธุรกิจครอบครัวที่ดี
 การกากับดูแลกิจการที่ดี ต้องหาความสมดุลให้ได้ระหว่างระบบสามระบบที่ซ้อนกันอยู่
ในธุรกิจครอบครัว
ระบบความเป็นเจ้าของ
(Ownership
System)
ระบบธุรกิจ
(Business
System)
ระบบครอบครัว
(Family
System)
บริหารความแตกต่างระหว่างความต้องการ
ของผู้ถือหุ้นรายใหญ่กับของผู้ถือหุ้นรายย่อย
ต้องบริหารความต้องการ
ที่แตกต่างกันของสมาชิก
ในครอบครัว
ต้องการความเป็นมืออาชีพ
ความโปร่งใส และการ
รับผิดรับชอบในการทาธุรกิจ
เป้ าหมายสาคัญของการกากับดูแลกิจการที่ดีของธุรกิจครอบครัว
1) ความสาเร็จของธุรกิจในระยะยาว และการเติบโตของธุรกิจที่ยั่งยืน
2) การสร้างความสมานฉันท์ของครอบครัวให้เกิดขึ้นต่อเนื่อง และเป็นครอบครัวที่
เติบโตอย่างสันติสุข
แนวทางการกากับดูแลธุรกิจครอบครัว
(Family Business Governance)
1. การให้มีธรรมนูญครอบครัว (Family Constitution)
2. การให้มีสภาครอบครัว (Family Council)
ธรรมนูญครอบครัว
(Family Constitution) คืออะไร ?
 คือ การวางรากฐานเบื้องต้นให้กับระบบธุรกิจครอบครัวและเป็นข้อตกลงที่เกิดขึ้น ภายใต้
ความเห็นที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันของสมาชิกภายในครัวเรือน เช่น
- หลักเกณฑ์ข้อกาหนดในการสืบทอดกิจการ
- หลักเกณฑ์ในการบริหารความมั่งคั่งและสินทรัพย์
ของธุรกิจครอบครัว
- กลยุทธ์ในการบริหารธุรกิจ
- การพัฒนาธุรกิจตามวิสัยทัศน์ของครอบครัว
- กลยุทธ์ในการบริหารความขัดแย้งภายในครอบครัว
- ลักษณะธุรกิจที่อยากเห็น
- กฎกติกามารยาทในการอยู่ร่วมกัน
- ปรัชญาการดาเนินชีวิตของครอบครัว
- ข้อกาหนดในการเข้าทางานกับธุรกิจครอบครัว
- การกาหนดวาระการพูดคุยถึงความเป็นไป
ภายในครอบครัวและธุรกิจ
- การจ่ายผลตอบแทนแก่สมาชิก
- นโยบายการลงทุนและร่วมทุน
 คือ การมีกฎกติกามารยาท วางแผนสืบทอดไว้ล่วงหน้า หรือการมีข้อตกลงอย่างเป็นขั้นตอน
วัตถุประสงค์ของธรรมนูญครอบครัว
 เพื่อสร้างความชัดเจนให้กับสมาชิก
 เป็นแนวทางปฏิบัติหรือกติกาที่จะช่วยหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นภายในครอบครัว
อย่างเป็นกิจจะลักษณะ ซึ่งแต่ละครอบครัวก็อาจจะมีธรรมนูญครอบครัวที่แตกต่างกันไป
 เพื่อให้ครอบครัวได้เลือกผู้ที่เหมาะสมที่สุดมาสืบทอดกิจการต่อ โดยที่พี่น้องทั้งหมดไม่ผิดพ้อง
หมองใจกัน
ลักษณะ 5 ประการของธรรมนูญครอบครัวที่ดี
1. สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างธรรมนูญครอบครัวขึ้นมา จึงควรทาในช่วงที่
สมาชิกในครอบครัวยังมีความสัมพันธ์ที่ดีกันอยู่
2. ควรระบุกติกามารยาทให้ชัดเจนในแต่ละเรื่อง อันเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ที่
ตกผลึกจนได้มาซึ่งหลักปรัชญา คุณค่า ค่านิยม และข้อปฏิบัติที่พิสูจน์แล้วว่าจะ
นามาซึ่งความเจริญรุ่งเรือง
3. ครอบคลุมในเรื่องที่สาคัญต่อครอบครัว
4. ก่อให้เกิดสัญญาใจร่วมกันในครอบครัว โดยมีเป้าหมายสูงสุด คือ ความรักสามัคคี
ในครอบครัว
5. ต้องมีการทบทวนและปรับปรุงอยู่เสมอ เพื่อให้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกลางเวลา
ที่เหมาะสม พร้อมกันนี้ยังได้ให้ข้อควรพิจารณาก่อนเขียนธรรมนูญครอบครัว
เพื่อเป็นการตรวจความพร้อมของครอบครัวก่อนลงมือเขียน
(ที่มา: ว.การเงินธนาคาร. ฉลับที่362 (มิถุนายน 2555) : 156.)
องค์ประกอบของธรรมนูญครอบครัว
 การกาหนดกลยุทธ์ทางธุรกิจ วัตถุประสงค์ และปรัชญาทางธุรกิจ
 กาหนดผู้นา
 โครงสร้างการบริหารจัดการ
 หลักการ และข้อกาหนดของการเข้ามาสู่ธุรกิจของสมาขิกครอบครัว
 การเลื่อนตาแหน่ง และการปลดจากตาแหน่ง
 การแต่งตั้งและสิทธิของบุคคลที่ไม่ใช่สมาชิกของครอบครัวในการมาดารงตาแหน่ง เป็น
คณะกรรมการบริหาร
 การอบรม
 การจ่ายค่าตอบแทน และการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทั้งที่ไม่ใช่สมาชิก
ครอบครัวและที่เป็นสมาชิกครอบครัว
 ช่องทางในการติดต่อ สื่อสารระหว่างกัน
 การกาหนดนโยบายขององค์กรทั้งในกรณีที่ธุรกิจประสบความสาเร็จ และกรณีที่ล้มเหลว
(ที่มา : สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.))
กรณีตัวอย่างธุรกิจครอบครัวที่ประสบความสาเร็จ
ตระกูลจิราธิวัฒน์ (เจ้าของห้างเซ็นทรัลและบริษัทในเครือมากมาย)
ธรรมนูญ 8 ประการของตระกูลจิราธิวัฒน์
 ข้อแรก : พี่น้องทุกคนต้องอยู่บ้านเดียวกัน กิน เล่น เรียน นอน และทางาน
ด้วยกัน ไม่แบ่งแยกพี่น้องต่างมารดา
 ข้อที่ 2 : ทุกคนเคารพกันตามหลักอาวุโสของอายุ แทนการนับตามศักดิ์
ความเป็นอา-หลาน
 ข้อที่ 3 : แต่ละครอบครัวต้องอบรม สั่งสอนกันเป็นลาดับชั้น พ่อต้องสอนลูก
พี่ต้องสอนน้อง
 ข้อที่ 4 : ใช้หลักประชาธิปไตยกับสมาชิก ทุกคนมีสิทธิแสดงความคิดเห็นได้
ธรรมนูญ 8 ประการของตระกูลจิราธิวัฒน์
 ข้อที่ 5 : คนในตระกูลที่เป็นลูกชาย ต้องเรียนที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ลูกสาวต้อง
เรียนที่มาแตร์เดอีวิทยาลัย และเปิดโอกาสให้ทุกคนไปเรียนต่อระดับ
ปริญญา ในต่างประเทศ
 ข้อที่ 6 : การแบ่งงานและความรับผิดชอบในกิจการของครอบครัว เป็นไปตาม
ลาดับอาวุโสและความสามารถ ไม่นับตามศักดิ์
 ข้อที่ 7 : เมื่อคนในตระกูลทาผิดจะออกเป็นจดหมายเวียนถึงพี่น้อง
เพื่อไม่ให้ใครเอาเยี่ยงอย่าง
 ข้อที่ 8 : เมื่อคนในตระกูลทาดี จะได้รับการชมเชยโดยการมอบหมายงานเพิ่มขึ้น
ไม่มีการชมต่อหน้า
ตระกูลจิราธิวัฒน์ (เจ้าของห้างเซ็นทรัลและบริษัทในเครือมากมาย) (ต่อ)
กลุ่มลีกุมกี่
(บริษัทผู้ผลิตซอสปรุงรสชั้นนาของฮ่องกงและระดับโลก)
 บริษัทก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1880 หรือ 123 ปีที่แล้ว เริ่มต้นจากการเป็นกิจการเล็กๆ จาหน่าย
ซอสหอยนางรมภายใต้แบรนด์ ลี กุม กี่ ซึ่งธุรกิจขยายตัวและเติบโตอย่างต่อเนื่อง จนเป็น
แบรนด์ระดับโลกด้วยสัญลักษณ์แห่งคุณภาพและความน่าเชื่อถือ ซึ่งปัจจุบันดาเนินธุรกิจ
อยู่ในกว่า 100 ประเทศทั่วโลก
 เอ็ดดี้ ลี กรรมการของกลุ่มลีกุมกี่ ซึ่งเป็นเจเนอเรชั่นที่ 4 ขององค์กร โดยเข้าสู่รุ่น 5 ในปัจจุบัน
ได้มีข้อตกลงหลายอย่างร่วมกัน รวมถึงข้อตกลงที่ว่า ไม่ให้สะใภ้หรือเขยเข้ามาทางานในธุรกิจ
เพื่อลดความปัญหาความขัดแย้งและความแตกต่างจากสมาชิกที่มากขึ้นเรื่อย ๆ
“ สิ่งสาคัญที่จะทาให้ธุรกิจครอบครัวจะยั่งยืนได้ก็คือ ต้องลงมือทาเลย เพื่อป้องกัน
ไม่ให้เกิดการล่มสลาย อย่ารอจนกระทั่งใกล้ล่มสลาย เพราะเชื่อว่าการป้องกันปัญหา
ที่อาจจะเกิด ย่อมดีกว่าการตามแก้ปัญหาที่ได้เกิดขึ้นแล้ว ”
เอ็ดดี้ ลี กรรมการของกลุ่มลีกุมกี่
 ครอบครัวลีกุมกี่ยึดถือหลักครอบครัวอยู่เหนือธุรกิจ (Our Formula - Family First)
โดยให้ความสาคัญกับครอบครัวมากกว่า
 โดยได้ก่อตั้งสภาธุรกิจครอบครัว หรือ Family Council มาตั้งแต่ปี 2002 เพื่อจะได้เป็น
เวทีถกปัญหาและแก้ปัญหาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะมีระยะเวลาพบกันค่อนข้างบ่อยราว
4 วันต่อสัปดาห์ ให้เวลากับการพบปะพูดคุยกันมาก
 มีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดการพูดคุยและใกล้ชิดกัน เช่น การจัด Team Building
ระหว่างสมาชิกครอบครัว อย่างเช่น กิจกรรม 144-Day Committed to Trust
Building & Fun ในบรรยากาศสบาย ๆ เป็นกันเองและสร้างความสนุกร่วมกันบ้าง
 ในช่วงรุ่นของเอ็ดดี้ ลี เจเนอเรชั่นที่ 4 กว่า 10 ปีที่ผ่านมา ครอบครัวได้ร่วมกันทากิจกรรม
ร่วมกันพัฒนาโครงสร้างธุรกิจ และพูดคุยกันมาโดยตลอด แต่อาจมีข้อกาหนด เป็นข้อห้าม 3
ข้อด้วยกันที่ได้ตกลงร่วมกัน คือ ห้ามหย่า ห้ามแต่งงานช้าเกินไป และห้ามมีครอบครัวซ้อน
หรือมีเมียน้อย
กลุ่มลีกุมกี่
(บริษัทผู้ผลิตซอสปรุงรสชั้นนาของฮ่องกงและระดับโลก)
สภาครอบครัว (Family Council)
 เป็นการจัดให้มีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกัน เหมาะกับครอบครัวตระกูลใหญ่
ที่สมาชิกจานวนมาก มีธุรกิจหลากหลายมากมาย โดยสมาชิกแต่ละคนจะมีโอกาส
ผลัดกันเข้ามาดารงตาแหน่งตามวาระ
 โดยทั่วไปสภาครอบครัวกับธรรมนูญครอบครัว มักจะมาพร้อมๆ กัน
 ทั้งนี้จะมีคนนอกมาเป็นพยาน เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวมีความเกรงใจมากขึ้น
ซึ่งคนที่จะมาเป็นพยานนั้นจะต้องเป็นคนที่ครอบครัวทุกคนให้การยอมรับและเคารพ
(ที่มา : กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์, สภาครอบครัวกับธุรกิจครอบครัวไทย, โพสต์ทูเดย์ 14 ตุลาคม 2552)
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสภาครอบครัว
 เพื่อเปิดโอกาสให้สมาชิกในครอบครัวสามารถสื่อสารติดต่อกันได้มากขึ้น
 เป็นการสร้างความสมัครสมานสามัคคี หากมีปัญหาข้อขัดแย้งกัน ก็สามารถขจัดปัญหา
อุปสรรคต่างๆ ได้ด้วยการพูดคุย
 สภาครอบครัวยังสามารถกาหนดแนวทางในการดาเนินกิจการของธุรกิจครอบครัวได้
 สภาครอบครัวจะเป็นศูนย์กลางการฝึกอบรมให้ลูกหลานซึ่งเป็นสมาชิกในครอบครัวมี
ความรู้ในเรื่องต่างๆ จากสมาชิกในครอบครัวที่มีประสบการณ์การบริหาร
ตัวอย่างปรัชญาในการดาเนินธุรกิจของ
กลุ่มธุรกิจน้าตาลมิตรผล "ตระกูลว่องกุศลกิจ"
 การมีสภาครอบครัวคอยกากับดูแลสมาชิกในครอบครัว ขณะที่ธุรกิจก็มีคณะกรรมการ
บริหารดูแลกิจการให้สิ่งที่สืบทอดถึงกันได้ ไม่ว่าจะเจ้าของหรือผู้บริหารมืออาชีพ คือ
การเรียนรู้ในปรัชญาธุรกิจอย่างมุ่งสู่ความเป็นเลิศ เชื่อมั่นในคุณค่าของคน ตั้งอยู่ใน
ความเป็นธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม
 ขณะที่ธรรมนูญครอบครัวคือ ต้องเป็นคนดีมีน้าใจ ขยัน ห้ามพูดปด ใจบุญ คิดให้ลึกซึ้ง
เอาใจเขามาใส่ใจเรา รู้จักบุญคุณคน ซื่อตรงพูดแล้วต้องทาได้
ธุรกิจศูนย์การค้า อัมรินทร์ พลาซ่า บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน)บริษัท น้าตาลมิตรผล
หลุมพราง ทางออกในการลดปัญหา
1. การพูดกันน้อยลง • อย่าคิดว่าอีกฝั่งหนึ่งจะเข้าใจเรา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า
พูดอธิบายกันให้เข้าใจ ชัดเจน
• สามารถตั้งให้มีช่วงเวลาหนึ่งที่คนในครอบครัวมีโอกาสได้มา
อยู่รวมกัน เพื่อให้ได้พูดคุยในเรื่องที่ไม่เข้าใจกันหรือเรื่องที่ทา
ให้แตกแยกกัน
2. ให้ความสาคัญกับธุรกิจ
มากเกินไปจนลืมครอบครัว
ควรใช้เวลากับงานให้เต็มที่ แต่เมื่อเป็นเวลาของครอบครัว
อย่าเอางานมาเกี่ยวข้อง เช่น ทางานในวันจันทร์ถึงเสาร์
อย่างเต็มที่ ส่วนวันอาทิตย์อยู่กับครอบครัวอย่างเดียว
กาหนดเวลาไปเที่ยวกับครอบครัวอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เป็น
ต้น
(ที่มา: บริหารความเสี่ยง อุดช่องโหว่ ธุรกิจครอบครัว ผู้จัดการ 360 รายสัปดาห์ 6 กันยายน 2553)
ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
หลุมพราง ทางออกในการลดปัญหา
3. การหลงลืมในบทบาท • กาหนดบทบาทหน้าที่ในแต่ละส่วนให้ชัดเจน ส่วนของ
ผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร หรือสมาชิกครอบครัว โดยที่ผู้นาในธุรกิจ
ครอบครัวต้องเป็นคนที่เข้าใจเรื่องนี้และถ่ายทอด
• บางครอบครัวเรียกว่าเป็นธรรมนูญครอบครัวหรือข้อกาหนด
ของครอบครัว เช่น ใครจะเข้าทางานในธุรกิจของครอบครัวได้
บ้าง และมีเงื่อนไขอย่างไร
• การกาหนดบทบาทเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจนและ
อธิบายกันจนเป็นที่เข้า ใจ ทาให้ทุกคนเห็นชอบในเรื่องนี้และ
ไม่เกิดการหลงในบทบาท
ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
หลุมพราง ทางออกในการลดปัญหา
4. การปล่อยให้อารมณ์อยู่
เหนือเหตุผล เหมือนเมื่ออยู่กับ
ครอบครัว
• ให้ตระหนักว่า การบริหารที่มีความเกี่ยวข้องกับคนที่มี
ความสัมพันธ์ส่วนตัวมีโอกาสที่จะใช้ อารมณ์ระหว่างกัน
• ต้องทาให้เห็นว่าเป็นผู้บริหารมืออาชีพ หากบางเรื่องเป็น
เรื่องสาคัญที่อาจจะใช้อารมณ์ต่อกันอยู่บ่อยๆ อาจจะให้
บุคคลที่สามที่ได้รับการยอมรับมาร่วม
5. ความประมาท • การบริหารธุรกิจมีความไม่แน่นอนสูง จาเป็นต้อง
วางระบบการบริหารธุรกิจครอบครัวเพื่อเป็นแนวทางใน
การดาเนินการ ด้วยการจัดทาธรรมนูญครอบครัว
เช่น จัดให้มีระบบบริหารเงินกองกลางอย่างชัดเจน และการ
มีคณะกรรมการครอบครัวซึ่งเป็นตัวแทนเพื่อเป็นแกนกลาง
ในการดาเนินการเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจครอบครัว
มีแผนสืบทอดทายาทธุรกิจ เป็นต้น
ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
หลุมพราง ทางออกในการลดปัญหา
6. จัดลาดับความสาคัญของ
ชีวิตผิดไป ปล่อยให้
ผลประโยชน์อยู่เหนือความ
รักความสามัคคีของคนใน
ครอบครัว
• คนในครอบครัวควรจะได้รับการอบรมสั่งสอนที่ดี ควรจะได้รับ
การถ่ายทอดค่านิยมที่ถูกต้อง
• ตัวอย่างเช่น ถ้าทุกคนในครอบครัวมีนิสัยเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ไม่รัก
ความรุนแรง การขัดแย้งกันย่อมจะมีน้อย เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันที่
ตัวบุคคลซึ่งจะส่งผลต่อพฤติกรรมและวิธีการทางานของเขา
• กรณีถ้าเกิดปัญหาขึ้นแล้ว ควรจะหาคนกลางที่ทั้งสองฝ่าย
ยอมรับเพื่อมาช่วยกันไกล่เกลี่ยให้ปัญหาน้อยลง
7. คนในครอบครัวเชื่อคน
นอกมากกว่าคนใน
• ต้องให้โอกาสคนในครอบครัวทาดูก่อน โดยสร้างให้เกิดเป็น
วัฒนธรรม เพราะคนในครอบครัวควรจะเชื่อกันด้วยการใช้เหตุ
และผล
• แต่ถ้าคนในครอบครัวทาไม่ได้ ไม่ชานาญ ให้ลองหาคนนอกมาทา
แต่ไม่ได้หมายความว่าคนนอกจะเก่งกว่าพ่อแม่ของเราหรือลูก
ของเรา
ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
หลุมพราง ทางออกในการลดปัญหา
8. คิดว่าเงินทองไม่ใช่เรื่องสาคัญ • อย่าเห็นว่าเป็นคนกันเอง เป็นลูก เป็นญาติ แล้วดูแล
ไม่ดี เมื่อทุกคนเข้าสู่ระบบธุรกิจ ควรจะใช้ระบบของ
บริษัทเป็นแนวทางในการจ่ายค่าตอบแทนให้สมาชิก
ครอบครัว
• แต่ถ้าระบบของธุรกิจยังไม่สามารถดูแลเขาได้ดี
เนื่องจากว่าไม่มีระบบเงินเดือนที่สามารถจ้างคนที่มี
ความสามารถสูงเข้าสู่ระบบได้ ให้เราดึงเขาเข้ามาเพื่อเปิด
โอกาสให้เขาได้เรียนรู้งานหรือเพราะรู้สึกว่า เขาเป็นส่วน
หนึ่งของธุรกิจครอบครัว เพราะฉะนั้น ครอบครัวอาจจะ
ต้องยอมจ่ายเงินสนับสนุนเพื่อให้เขาในระดับที่ไม่ต่ากว่า
ค่าตอบแทนที่เขาเคยได้มาก่อน เช่น ต้องดึงเงินกงสีหรือ
กองกลางมาสนับสนุนให้เขามีรายได้มากพอ
ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
หลุมพราง ทางออกในการลดปัญหา
9. เลือกคนมากกว่า
ความสามารถ
เลือกคนที่ทาเรื่องนั้นๆ ได้ดีที่สุดหรือเหมาะสมที่สุดใน
ตาแหน่งนั้นๆ เมื่อถึงเวลาที่จะต้องเลือก โดยใช้เกณฑ์
หรือวิธีการแบบมืออาชีพที่ใช้ในการคัดเลือก เพื่อลด
ข้อครหา และแน่ใจว่าบริษัทจะได้คนเก่งที่สุดไปทางาน
ในตาแหน่งนั้น ซึ่งจะเป็นผลดีต่อทั้งบริษัทและครอบครัว
ในระยะยาว
10. การยึดมั่นถือมั่นมากเกินไป ต้องเข้าใจว่าคนแต่ละรุ่นเดินมาด้วยเส้นทางที่แตกต่างกัน
แต่เป็นเส้นทางที่มีคุณค่าทั้งคู่ สามารถนามารวมกันและ
เสริมซึ่งกันและกันได้ เพราะการยึดมั่นถือมั่นเป็น
ธรรมชาติ ยิ่งคนเก่งและประสบความสาเร็จมากเท่าไร
หรือพวกเด็กรุ่นใหม่ และคนที่ยิ่งเรียนสูงเท่าไร
ก็เช่นเดียวกัน ยิ่งยึดมั่นถือมั่นกับตัวเอง
ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
ต้นทุนของครอบครัว (Family Capital)
 จากผลการศึกษาของเฮย์กรุ๊ปพบว่า การสร้างระบบและนาผู้บริหารมืออาชีพเข้ามาช่วย
ในการบริหารอาจไม่สามารถทาให้ ธุรกิจครอบครัวประสบความสาเร็จได้ หากองค์กร
ไม่ให้ความสาคัญกับ “ต้นทุนของครอบครัว (Family Capital)” ที่ใช้ในการ
ดาเนินธุรกิจ
 ต้นทุนของครอบครัว (Family Capital) หมายถึง
 ความสัมพันธ์ (Family relations)
 ธรรมเนียม (Traditions)
 ค่านิยม (Values)
 สิทธิ์(Rights) และ
 กฎเกณฑ์ของครอบครัว (Obligations)
(ที่มา: อุดจุดอ่อน “ธุรกิจครอบครัว” ไขกลยุทธ์สร้างความยั่งยืน,ASTVผู้จัดการออนไลน์ 24 มีนาคม 2557)
ต้นทุนของครอบครัว (Family Capital) (ต่อ)
ช่วงของธุรกิจครอบครัว ลักษณะต้นทุนของธุรกิจครอบครัว
ธุรกิจครอบครัวรุ่นแรก
(ช่วงบุกเบิก)
• Family Capital ยังฝังติดอยู่กับธุรกิจ
• ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวยังมีความแน่นแฟ้น
• แต่การสร้างระบบที่ชัดเจนและนาผู้บริหารมืออาชีพเข้ามาสู่องค์กร
มักจะไม่ปรากฏเท่าไรนัก
ธุรกิจรุ่นที่สอง
(ช่วงหุ้นส่วนของพี่น้อง)
• มีจานวนสมาชิกในครอบครัวมากขึ้น
• มีลักษณะความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนมากขึ้น
• ทาให้ Family Capital เริ่มลดลง
• แต่การสร้างระบบและการนาผู้บริหารมืออาชีพเข้ามาช่วยธุรกิจ
เริ่มปรากฏมากขึ้น
ต้นทุนของครอบครัว (Family Capital) (ต่อ)
ช่วงของธุรกิจครอบครัว ลักษณะต้นทุนของครอบครัว
ธุรกิจรุ่นที่สาม
(ช่วงสหพันธ์เครือญาติ)
• องค์กรสามารถสร้างระบบที่ชัดเจนและมีผู้บริหารมืออาชีพเข้ามา
ช่วยดาเนินธุรกิจ
• การสร้างระบบและการนาคนนอกมาบริหารก็อาจเป็นสิ่งที่ทาลาย
Family Capital ได้
ดังนั้น องค์กรจึงต้องให้ความสาคัญในการบริหาร Family Capital
เพื่อให้ธุรกิจสามารถคงอยู่และสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นได้อย่างยั่งยืน
ปัจจัยขับเคลื่อนธุรกิจครอบครัว 3 ประการ ที่จะช่วยเพิ่มโอกาสให้
ธุรกิจครอบครัวสามารถดาเนินอยู่ได้อย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ
1. คุณค่าที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น (Heritage Capital)
2. ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
(Kin Interaction Capital)
3. หลักการ กฎเกณฑ์ และวิธีการดาเนินธุรกิจ
(Principled Capital)
1. คุณค่าที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น (Heritage Capital)
 ธุรกิจครอบครัวรุ่นแรก ควรให้ความสาคัญกับ คุณค่าที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น
(Heritage Capital)
 Heritage Capital คือ ความรู้ ความสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก ชื่อเสียง
ครอบครัว และความเป็นเอกลักษณ์ของธุรกิจ เพราะทรัพยากรและข้อมูลที่มี
ความสาคัญต่างๆ ในรุ่นนี้จาเป็นต้องสืบต่อไปยังผู้สืบทอดรุ่นต่อไป
2. ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
(Kin Interaction Capital)
 Heritage Capital ยังเป็นสิ่งที่จาเป็นในธุรกิจครอบครัวรุ่นที่สองอยู่
 ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว (Kin Interaction Capital) คือ ระดับ
ความแน่นแฟ้น ด้านความสัมพันธ์ของครอบครัวซึ่งเป็นสิ่งที่จะช่วยให้องค์กรสามารถใช้
ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด
 การบริหารความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว (Kin Interaction Capital)
โดยนักธุรกิจรุ่นนี้ควรดาเนินการโดย
 ต้องให้ความสาคัญกับครอบครัว โดยรักษาสมดุลระหว่างครอบครัวและธุรกิจ
 ต้องมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของสมาชิกในตระกูลอย่างสม่าเสมอ
เช่น ควรจัดประชุมครอบครัวแบบเป็นทางการอย่างสม่าเสมอ โดยบังคับให้สมาชิกในครอบครัว
ทุกคนเข้าประชุม, ตั้งไว้ว่าในหนึ่งสัปดาห์ต้องมีการทานอาหารร่วมกันในครอบครัว เพื่อที่จะพูดคุย
เกี่ยวกับเรื่องของธุรกิจที่ทาหรือประเด็นต่างๆในบริษัท โดยมีตัวแทนของแต่ละกลุ่มแต่ละครอบครัว
2. ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
(Kin Interaction Capital) (ต่อ)
 คำพูดของ สมำชิกรุ่นที่ 4 ของ “ลี กุม กี่” ตำนำนซอสปรุงรสจำก
แดนมังกร 123 ปี
“เรามีความคิดเห็นร่วมกัน ว่า “ครอบครัว” ต้องสาคัญกว่า “ธุรกิจ”
เราเชื่อว่า เมื่อครอบครัวดี มีความเข้มแข็ง อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี
ธุรกิจก็จะเข้มแข็งไปด้วย แต่ถ้าครอบครัวไม่กลมเกลียว ไม่สามัคคีกันแล้ว
ก็เป็นไปได้ที่ธุรกิจจะไปไม่รอด”
เมื่อเห็นครอบครัวยิ่ง ใหญ่กว่าธุรกิจ พวกเขาจึงเริ่มพูดคุยกันมากขึ้น ใช้เวลาร่วมกัน
คิดถึงอนาคตและสิ่งที่ครอบครัวต้องการร่วมกัน สิ่งที่ก่อเกิดตามมาคือ “สภาครอบครัว”
เพื่อสื่อสารความเชื่อและวิสัยทัศน์ของครอบครัว “ลี” ไปยังเหล่าสมาชิกของตระกูล
“เราเจอกันแบบไม่เป็นทางการบ่อยขึ้น ใช้เวลากับครอบครัวเยอะขึ้น ไม่มีธุรกิจ
ไม่มีบรรยากาศที่เคร่งเครียด แต่อาจไปสนามกอล์ฟด้วยกัน
เพื่อพูดคุยในประเด็นต่างๆ ร่วมกัน เราสร้างทีมด้วยกัน ทีมของครอบครัว
มาทากิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจกันให้เกิดขึ้น”
3. หลักการ กฎเกณฑ์ และวิธีการดาเนินธุรกิจ
(Principled Capital)
 การที่สมาชิกในครอบครัวเพิ่มขึ้นและมีความสัมพันธ์ซับซ้อนมากขึ้น ธุรกิจครอบครัว
รุ่นที่สามจาเป็นต้องให้ความสาคัญในความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว (Kin
Interaction Capital) และหลักการ กฎเกณฑ์ และวิธีการดาเนินธุรกิจ
(Principled Capital)
 หลักการ กฎเกณฑ์ และวิธีการดาเนินธุรกิจ (Principled Capital) คือ
หลักการ กฎเกณฑ์ วิธีการที่ใช้ในการปกครองและดาเนินธุรกิจนั้น
3. หลักการ กฎเกณฑ์ และวิธีการดาเนินธุรกิจ
(Principled Capital) (ต่อ)
 ธุรกิจครอบครัวสามารถสร้างทุนด้านนี้ให้เกิดขึ้นได้โดย
o กาหนดกฎระเบียบที่สนับสนุนความซื่อตรงและคุณธรรม รวมถึงสร้างหลักในการปกครองของ
ครอบครัว
เช่น บัญญัติวิธีการขจัดความขัดแย้ง หรือจัดตั้งสานักงานของครอบครัว เป็นต้น
o พัฒนาธุรกิจครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
เช่น การสร้างผู้นาจากลูกหลานรุ่นใหม่และต้องได้รับ ความไว้วางใจให้ทาและลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง
มีวิสัยทัศน์และมุ่งมั่นสู่อนาคต เพื่อให้บุคลากรในบริษัทมั่นใจได้ เพื่อร่วมกันพาองค์กรสู่ความสาเร็จ
o ต้องวางแผนในการสืบทอดทายาทธุรกิจจากรุ่นสู่รุ่นอย่างชัดเจน และเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย
เพื่อให้เกิดความสามัคคีของคนในตระกูล
o รู้จักผสมผสานการบริหารธุรกิจระหว่างครอบครัว กับมืออาชีพได้อย่างลงตัวและเหมาะสม โดย
ไม่ยึดติดกับความคิดเห็นของคนในตระกูลเพียงฝ่ายเดียว

More Related Content

What's hot

โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมAj.Mallika Phongphaew
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Sitipun
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพgrit_1
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICSกรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICSChatchamon Uthaikao
 

What's hot (20)

โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
ดอกตอนที่ 3
ดอกตอนที่ 3ดอกตอนที่ 3
ดอกตอนที่ 3
 
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICSกรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ธรรมนูญครอบครัว

  • 2. หัวข้อที่น่าสนใจ  ธุรกิจครอบครัว  ปัญหาต่างๆ ที่พบบ่อยในธุรกิจครอบครัว  10 หลุมพร่างที่ธุรกิจครอบครัวมักจะมองข้าม  การกากับดูแลกิจการธุรกิจครอบครัวที่ดี  ธรรมนูญครอบครัวคืออะไร  กรณีตัวอย่างธุรกิจครอบครัวที่ยั่งยืน  ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง  ต้นทุนของครอบครัว
  • 3. ธุรกิจครอบครัว (Family Business) • ผู้เชี่ยวชาญที่เขียนหนังสือด้านธุรกิจครอบครัว คือ Ward (2005) ได้ให้ความหมาย ไว้ว่า "ธุรกิจครอบครัวเป็นกิจการที่มีการส่งผ่านจากรุ่นสู่รุ่นอย่างมี การจัดการ และการควบคุม มีวิวัฒนาการของครอบครัวเป็นสิ่งกาหนด ความซับซ้อนและการเติบโตของธุรกิจครอบครัว" • ธุรกิจครอบครัวนั้นมีบทบาทที่ซ้อนทับกัน ต่างจากธุรกิจทั่วไป คือ มีทั้งบทบาทของความเป็นเจ้าของ บทบาทของ สมาชิกครอบครัว และบทบาทด้านการบริหารธุรกิจ ความเป็นเจ้าของ (Ownership) ธุรกิจ (Business) ครอบครัว (Family)
  • 4. ข้อมูลสถิติที่ชี้ว่า ธุรกิจครอบครัวเป็นกาลังสาคัญของธุรกิจทั่วโลก และมีส่วนสาคัญต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ • ปริมาณของธุรกิจครอบครัวในกลุ่มประเทศยุโรป มีธุรกิจครอบครัวถึง 80-90% ของธุรกิจที่มีอยู่ • ในส่วนของเอเชีย ข้อมูลจากบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์ ในปี 2012 ชี้ว่า ประมาณ 70-80 % ของธุรกิจในเอเชียเติบโตมาจากธุรกิจครอบครัว • ในประเทศไทยธุรกิจส่วนใหญ่มากกว่า 90% ของจีดีพี มาจากธุรกิจครอบครัว • ข้อมูลของมูลนิธิสถาบันอนาคตไทยศึกษา ระบุว่าร้อยละ 80 ของธุรกิจในประเทศ ไทยเป็นธุรกิจครอบครัว และการประเมินของไอโอดีพบว่าร้อยละ 33 ของบริษัท จดทะเบียนในกลุ่ม SET100 เป็นธุรกิจครอบครัว (ที่มา: Reuters, Nov 3, 2011 http://www.reuters.com/article/2011/11/03/india-familybusiness-idUSL4E7M31UV20111103)
  • 5. ข้อมูลสถิติที่ชี้ว่า ธุรกิจครอบครัวเป็นกาลังสาคัญของธุรกิจทั่วโลก และมีส่วนสาคัญต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ • จากรายงานของเครดิตสวิส (Credit Suisse) ธนาคารใหญ่ในสวิสเซอร์แลนด์ ธุรกิจครอบครัวของชาวอินเดียมีสัดส่วน 67% ของบริษัทจดทะเบียนทั้งหมด ในเอเชีย โดยมีมูลค่ารวมมากกว่า 50 ล้านเหรียญสหรัฐ • ตัวอย่างบริษัทดังๆ ทั่วโลกที่เป็นธุรกิจครอบครัว เช่น
  • 6. ระบบในธุรกิจครอบครัวที่มีผลกระทบซึ่งกัน  ธุรกิจต้องคานึงถึงระบบที่แตกต่างแต่มีความสัมพันธ์กันที่ประกอบกันอยู่ในธุรกิจครอบครัว ซึ่งในแต่ละระบบมี ความจาเป็นต้องพิจารณาและดูแลเพื่อสร้างผลลัพธ์ในภาพรวมให้มากที่สุด แนวทางนี้สามารถทาให้เรามี กระบวนการที่ครอบคลุมในการรับมือและแก้ปัญหาเพื่อบรรลุถึงเป้าหมายของผู้ใช้บริการจากธุรกิจ ความเป็นเจ้าของ/ ระบบการควบคุม ระบบธุรกิจระบบครอบครัว - ภารกิจและเป้าหมาย - ด้านกฎหมาย - การกระจายความเป็นเจ้าของ - คณะกรรมการบริษัท - ข้อตกลงของผู้ถือหุ้น - บทบาทความสัมพันธ์ - รูปแบบวัฒนธรรม/ค่านิยม - การตัดสินใจ - การสื่อสารและการจัดการ ความขัดแย้ง - ภารกิจ - กลยุทธ์ - โครงสร้าง -เทคโนโลยี - วัฒนธรรม - ระบบ (เช่นผลตอบแทนและข้อมูล) - กระบวนการ (เช่นการสื่อสาร การตัดสินใจ)
  • 7. ปัญหาต่างๆ ที่พบบ่อยในธุรกิจครอบครัว  ความคิดต่างระหว่างคนรุ่นเก่ากับคนรุ่นใหม่  การสื่อสารระหว่างสมาชิกในครอบครัวน้อย  การขาดการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสมาชิกในครอบครัว  ระบบ Seniority (ที่คนอายุน้อยต้องเป็นรองคนที่อายุมากกว่าเสมอ)  ค่านิยมที่ให้เพศชายขึ้นมาเป็นผู้สืบทอดธุรกิจ  การขาดความชัดเจนในเรื่องของบัญชี เงินกองกลางกงสีที่สมาชิกในครอบครัว สามารถนาออกไปใช้ได้โดยไม่ต้องมีหลักฐานการเบิกจ่าย  ปัญหาเรื่องการสืบทอดกิจการ  ความคิดที่แตกกันระหว่างพ่อ แม่ ลูก  ปัญหาความไม่ปรองดองของพี่น้อง ฯลฯ
  • 8. ประเด็นเกี่ยวกับการอยู่รอดของธุรกิจครอบครัว  จากผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พบว่า อัตราการอยู่รอดของธุรกิจครอบครัวจนถึง เจนเนอเรชั่นที่ 4 จาก 100% จะเหลือเพียง 3% เท่านั้น  ยังมีผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า มีธุรกิจครอบครัวเพียงไม่ถึง 1 เปอร์เซ็นต์ ที่สามารถสืบทอด ไปสู่รุ่นที่ 4ได้  ส่วนใหญ่ไม่ได้มาจากปัจจัยภายนอกหรือวิกฤติต่างๆ เข้ามากระทบ แต่เกิดจาก “ปัจจัยภายใน” โดย วัฒนธรรมของคนไทย ทาให้เรื่องของธุรกิจครอบครัวกลายเป็นเรื่องปิด ศาสตร์แขนงนี้ในต่างประเทศ ได้เปิดสอนกันในมหาวิทยาลัยดังๆ ของโลก เช่น ฮาวาร์ด หรือเคลล็อกซ์ และนิยมกันมาเป็นเวลา 10 ปี ขณะที่ในเมืองไทยเพิ่งจะได้รับความสนใจเมื่อไม่กี่ปีมานี้  สาเหตุหลักของธุรกิจครอบครัวล้มเหลว คือ ไม่ได้มีการจัดโครงสร้างของระบบที่ดี ส่งผลให้อาจมี ปัญหาขัดแย้งฟ้องร้อง แย่งชิงมรดก การล้มละลายได้  สิ่งที่เป็นมรดกที่มีค่าที่สุดของธุรกิจครอบครัว คือ การสร้างระบบบริหารธุรกิจของครอบครัว เพราะ นอกจากจะทาให้เกิดความยั่งยืนของธุรกิจแล้ว ยังจะช่วยลดปัญหาของคนรุ่นหลัง
  • 9. 10 หลุมพร่างที่ธุรกิจครอบครัวมักจะมองข้าม 1. การพูดกันน้อยลง ทาให้ความเข้าใจกันในครอบครัวน้อยลงตามไปด้วย ไม่ว่าจะเป็น นโยบาย วิธีการทางาน ความคาดหวัง ทัศนคติ ฯลฯ ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพในการ ทางาน 2. ให้ความสาคัญกับธุรกิจมากเกินไปจนลืมครอบครัว 3. การหลงลืมในบทบาท ธุรกิจครอบครัวแตกต่างจากธุรกิจทั่วไปที่มีลักษณะของหุ้นส่วน เนื่องจากมี 3 ส่วนที่เกี่ยวข้องคือ 3.1 บทบาทของคนที่เป็นเจ้าของหรือผู้ก่อตั้ง ซึ่งมีหุ้นมีสิทธิมีเสียง 3.2 บทบาทของการเป็นผู้บริหาร สาหรับเจ้าของซึ่งมีบทบาทเป็นผู้ถือหุ้นสามารถจะเข้า มาบริหาร หรือไม่บริหาร ธุรกิจของตัวเองก็ได้ ถ้ามีทั้งสองบทบาทโดยเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่และ ตาแหน่งบริหารระดับสูงด้วยจะยิ่งมีอานาจมาก 3.3 บทบาทของความเป็นสมาชิกของครอบครัว 4. การปล่อยให้อารมณ์อยู่เหนือเหตุผล เหมือนเมื่ออยู่กับครอบครัว
  • 10. 10 หลุมพร่างที่ธุรกิจครอบครัวมักจะมองข้าม (ต่อ) 5. ความประมาท เนื่องจากไม่ได้จัดทาระบบบริหารของธุรกิจครอบครัวเอาไว้ก่อน เช่น การหา ผู้สืบทอดกิจการ การจัดการเงินกองกลางของครอบครัว การแบ่งสรรปันส่วนผลประโยชน์ ต่างๆ หรือในบางครั้งไม่มีแผนในการพัฒนาคนที่จะมาเป็นผู้บริหารคนต่อไป ไม่ได้เตรียม แผนการสืบทอดกิจการเอาไว้ เพราะเห็นว่ายังมีเวลาในอนาคต มักจะใช้เวลาไปกับการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าและมุ่งเน้นไปที่การสร้างการเติบโต ของธุรกิจเท่านั้น โดยลืมไปว่าทุกคน มีชีวิตของตนเอง เมื่อถึงเวลาอาจจะไม่มีผู้สืบทอด 6. จัดลาดับความสาคัญของชีวิตผิดไป ปล่อยให้ผลประโยชน์อยู่เหนือความรักความสามัคคี ของคนในครอบครัว เกิดการแย่งชิงผลประโยชน์ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเงินหรือหุ้น หรืออภิสิทธิ์ ต่างๆ โดยลืมความเป็นคนในครอบครัวเดียวกันไป ส่วนใหญ่มีสาเหตุจากการได้รับการอบรม สั่งสอนไม่ดีจากพ่อแม่ เพราะความสามัคคีกันของคนในครอบครัวเป็นรากฐานให้เกิดความมั่ง คั่ง เนื่องจากมีการสร้างค่านิยมให้คนในครอบครัวแข่งขันกันเอง มีการเปรียบเทียบกันระหว่าง พี่กับน้อง ซึ่งก่อให้เกิดการไม่รักกัน
  • 11. 10 หลุมพร่างที่ธุรกิจครอบครัวมักจะมองข้าม (ต่อ) 7. คนในครอบครัวเชื่อคนนอกมากกว่าคนใน ทั้งๆ ที่คนในครอบครัวมีความสามารถ ทาให้ คนในครอบครัวเกิดการน้อยเนื้อต่าใจ เช่น พ่อแม่เชื่อที่ปรึกษาข้างนอกมากกว่าเชื่อลูก หรือ ลูกเชื่อคนอื่นมากกว่าพ่อแม่ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งกิจการมาด้วยซ้าไป หรือเมื่อคนในครอบครัวมี ความสนิทสนมกันมากทาให้ให้เกียรติกันน้อยกว่าคนอื่น โดยไม่ได้ดูจากเหตุผล 8. คิดว่าเงินทองไม่ใช่เรื่องสาคัญ ทั้งๆ ที่จริงเป็นเรื่องสาคัญ เช่น ลูกหลานที่เคยได้เงินเดือน มากมายเมื่อไปทางานอยู่ที่อื่นเพราะเป็นคนเก่ง แต่เมื่อกลับมาทางานให้กับธุรกิจครอบครัว กลับได้รับค่าตอบแทนไม่มากพอ โดยพ่อแม่หรือคนในครอบครัวลืมคิดไปว่าเขาต้องทิ้งอนาคต หรือรายได้ที่เคยสูง ทาให้เกิดความลังเลใจที่จะเข้ามาช่วยธุรกิจครอบครัว และเมื่อเขาคิดว่า ได้รับการดูแลอย่างไม่เป็นธรรม ทาให้การทางานไม่เต็มประสิทธิภาพ ทาเท่าที่อยากจะทา เพราะได้รับค่าตอบแทนน้อย
  • 12. 10 หลุมพร่างที่ธุรกิจครอบครัวมักจะมองข้าม (ต่อ) 9. เลือกคนมากกว่าความสามารถ ทาให้ไม่ได้คนที่ดีมีความสามารถเหมาะสมที่สุดเข้ามาทางาน เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นเกือบทุกธุรกิจครอบครัว เพราะเป็นการทาลายกาลังใจพนักงานที่เป็นมือ อาชีพและยังเกิดการขัดกันใน เรื่องของผลประโยชน์ เช่น สามีภรรยาอยู่ในสายงานเดียวกัน ทาให้ไม่มีการตรวจสอบและถ่วงดุลซึ่งกันและกัน หรือหากสมาชิกครอบครัวร่วมกันคิดทาเรื่อง ที่ไม่ดีจะก่อให้เกิดเสียหายได้อย่างมาก 10. การยึดมั่นถือมั่นมากเกินไป เชื่อในความคิดของตนเอง และยังไม่เชื่อความคิดของคนอื่น เช่น พ่อแม่เชื่อในประสบการณ์ของตนเองเพราะประสบความสาเร็จ ขณะที่ลูกเชื่อมั่นใน ความรู้ของตัวเองที่ทันสมัยกว่า เป็นต้น ทาให้เกิดการกระทบกระทั่งกัน พ่อแม่มักจะพูดถึง ความสาเร็จของตนเอง ขณะที่ ลูกพูดถึงสิ่งใหม่ๆ ที่ตัวเองได้เรียนมา ทั้งสองฝ่ายพูดกันคนละ เรื่อง พยายามนาสิ่งที่ตัวเองเชื่อมาใส่ในบริษัท ทาให้ไปกันคนละทิศละทาง
  • 13. ตัวอย่างธุรกิจครอบครัวของอินเดียที่มีปัญหา  บริษัท Reliance เป็นบริษัทที่ทาธุรกิจเกี่ยวกับปิโตรเลียม และอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่ ยิ่งใหญ่ในอินเดีย ซึ่งเป็นธุรกิจครอบครัวตระกูล Ambani  ที่ผ่านมาเคยเกิดเหตุพี่น้องในตระกูลนี้ทะเลาะกันจนส่งผลกระทบทาให้ตลาดหุ้น ร่วงลงมาถึง 12% ภายในวันเดียว กระทบกับจีดีพีของอินเดียถึง 3%  นอกจากนี้ยังมีกรณีที่คล้ายคลึงกับบริษัทนี้อีกมากมายในหลายประเทศ โดยในส่วน ของประเทศไทยมีเพียงไม่กี่ตระกูลที่กุมเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งหากเกิดปัญหาความ แตกแยกอาจจะส่งผลต่อเศรษฐกิจและศักยภาพการแข่งขันของประเทศได้
  • 14. การกากับดูแลกิจการธุรกิจครอบครัวที่ดี  การกากับดูแลกิจการที่ดี ต้องหาความสมดุลให้ได้ระหว่างระบบสามระบบที่ซ้อนกันอยู่ ในธุรกิจครอบครัว ระบบความเป็นเจ้าของ (Ownership System) ระบบธุรกิจ (Business System) ระบบครอบครัว (Family System) บริหารความแตกต่างระหว่างความต้องการ ของผู้ถือหุ้นรายใหญ่กับของผู้ถือหุ้นรายย่อย ต้องบริหารความต้องการ ที่แตกต่างกันของสมาชิก ในครอบครัว ต้องการความเป็นมืออาชีพ ความโปร่งใส และการ รับผิดรับชอบในการทาธุรกิจ
  • 15. เป้ าหมายสาคัญของการกากับดูแลกิจการที่ดีของธุรกิจครอบครัว 1) ความสาเร็จของธุรกิจในระยะยาว และการเติบโตของธุรกิจที่ยั่งยืน 2) การสร้างความสมานฉันท์ของครอบครัวให้เกิดขึ้นต่อเนื่อง และเป็นครอบครัวที่ เติบโตอย่างสันติสุข
  • 16. แนวทางการกากับดูแลธุรกิจครอบครัว (Family Business Governance) 1. การให้มีธรรมนูญครอบครัว (Family Constitution) 2. การให้มีสภาครอบครัว (Family Council)
  • 17. ธรรมนูญครอบครัว (Family Constitution) คืออะไร ?  คือ การวางรากฐานเบื้องต้นให้กับระบบธุรกิจครอบครัวและเป็นข้อตกลงที่เกิดขึ้น ภายใต้ ความเห็นที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันของสมาชิกภายในครัวเรือน เช่น - หลักเกณฑ์ข้อกาหนดในการสืบทอดกิจการ - หลักเกณฑ์ในการบริหารความมั่งคั่งและสินทรัพย์ ของธุรกิจครอบครัว - กลยุทธ์ในการบริหารธุรกิจ - การพัฒนาธุรกิจตามวิสัยทัศน์ของครอบครัว - กลยุทธ์ในการบริหารความขัดแย้งภายในครอบครัว - ลักษณะธุรกิจที่อยากเห็น - กฎกติกามารยาทในการอยู่ร่วมกัน - ปรัชญาการดาเนินชีวิตของครอบครัว - ข้อกาหนดในการเข้าทางานกับธุรกิจครอบครัว - การกาหนดวาระการพูดคุยถึงความเป็นไป ภายในครอบครัวและธุรกิจ - การจ่ายผลตอบแทนแก่สมาชิก - นโยบายการลงทุนและร่วมทุน  คือ การมีกฎกติกามารยาท วางแผนสืบทอดไว้ล่วงหน้า หรือการมีข้อตกลงอย่างเป็นขั้นตอน
  • 18. วัตถุประสงค์ของธรรมนูญครอบครัว  เพื่อสร้างความชัดเจนให้กับสมาชิก  เป็นแนวทางปฏิบัติหรือกติกาที่จะช่วยหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นภายในครอบครัว อย่างเป็นกิจจะลักษณะ ซึ่งแต่ละครอบครัวก็อาจจะมีธรรมนูญครอบครัวที่แตกต่างกันไป  เพื่อให้ครอบครัวได้เลือกผู้ที่เหมาะสมที่สุดมาสืบทอดกิจการต่อ โดยที่พี่น้องทั้งหมดไม่ผิดพ้อง หมองใจกัน
  • 19. ลักษณะ 5 ประการของธรรมนูญครอบครัวที่ดี 1. สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างธรรมนูญครอบครัวขึ้นมา จึงควรทาในช่วงที่ สมาชิกในครอบครัวยังมีความสัมพันธ์ที่ดีกันอยู่ 2. ควรระบุกติกามารยาทให้ชัดเจนในแต่ละเรื่อง อันเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ที่ ตกผลึกจนได้มาซึ่งหลักปรัชญา คุณค่า ค่านิยม และข้อปฏิบัติที่พิสูจน์แล้วว่าจะ นามาซึ่งความเจริญรุ่งเรือง 3. ครอบคลุมในเรื่องที่สาคัญต่อครอบครัว 4. ก่อให้เกิดสัญญาใจร่วมกันในครอบครัว โดยมีเป้าหมายสูงสุด คือ ความรักสามัคคี ในครอบครัว 5. ต้องมีการทบทวนและปรับปรุงอยู่เสมอ เพื่อให้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกลางเวลา ที่เหมาะสม พร้อมกันนี้ยังได้ให้ข้อควรพิจารณาก่อนเขียนธรรมนูญครอบครัว เพื่อเป็นการตรวจความพร้อมของครอบครัวก่อนลงมือเขียน (ที่มา: ว.การเงินธนาคาร. ฉลับที่362 (มิถุนายน 2555) : 156.)
  • 20. องค์ประกอบของธรรมนูญครอบครัว  การกาหนดกลยุทธ์ทางธุรกิจ วัตถุประสงค์ และปรัชญาทางธุรกิจ  กาหนดผู้นา  โครงสร้างการบริหารจัดการ  หลักการ และข้อกาหนดของการเข้ามาสู่ธุรกิจของสมาขิกครอบครัว  การเลื่อนตาแหน่ง และการปลดจากตาแหน่ง  การแต่งตั้งและสิทธิของบุคคลที่ไม่ใช่สมาชิกของครอบครัวในการมาดารงตาแหน่ง เป็น คณะกรรมการบริหาร  การอบรม  การจ่ายค่าตอบแทน และการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทั้งที่ไม่ใช่สมาชิก ครอบครัวและที่เป็นสมาชิกครอบครัว  ช่องทางในการติดต่อ สื่อสารระหว่างกัน  การกาหนดนโยบายขององค์กรทั้งในกรณีที่ธุรกิจประสบความสาเร็จ และกรณีที่ล้มเหลว (ที่มา : สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.))
  • 22. ตระกูลจิราธิวัฒน์ (เจ้าของห้างเซ็นทรัลและบริษัทในเครือมากมาย) ธรรมนูญ 8 ประการของตระกูลจิราธิวัฒน์  ข้อแรก : พี่น้องทุกคนต้องอยู่บ้านเดียวกัน กิน เล่น เรียน นอน และทางาน ด้วยกัน ไม่แบ่งแยกพี่น้องต่างมารดา  ข้อที่ 2 : ทุกคนเคารพกันตามหลักอาวุโสของอายุ แทนการนับตามศักดิ์ ความเป็นอา-หลาน  ข้อที่ 3 : แต่ละครอบครัวต้องอบรม สั่งสอนกันเป็นลาดับชั้น พ่อต้องสอนลูก พี่ต้องสอนน้อง  ข้อที่ 4 : ใช้หลักประชาธิปไตยกับสมาชิก ทุกคนมีสิทธิแสดงความคิดเห็นได้
  • 23. ธรรมนูญ 8 ประการของตระกูลจิราธิวัฒน์  ข้อที่ 5 : คนในตระกูลที่เป็นลูกชาย ต้องเรียนที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ลูกสาวต้อง เรียนที่มาแตร์เดอีวิทยาลัย และเปิดโอกาสให้ทุกคนไปเรียนต่อระดับ ปริญญา ในต่างประเทศ  ข้อที่ 6 : การแบ่งงานและความรับผิดชอบในกิจการของครอบครัว เป็นไปตาม ลาดับอาวุโสและความสามารถ ไม่นับตามศักดิ์  ข้อที่ 7 : เมื่อคนในตระกูลทาผิดจะออกเป็นจดหมายเวียนถึงพี่น้อง เพื่อไม่ให้ใครเอาเยี่ยงอย่าง  ข้อที่ 8 : เมื่อคนในตระกูลทาดี จะได้รับการชมเชยโดยการมอบหมายงานเพิ่มขึ้น ไม่มีการชมต่อหน้า ตระกูลจิราธิวัฒน์ (เจ้าของห้างเซ็นทรัลและบริษัทในเครือมากมาย) (ต่อ)
  • 24. กลุ่มลีกุมกี่ (บริษัทผู้ผลิตซอสปรุงรสชั้นนาของฮ่องกงและระดับโลก)  บริษัทก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1880 หรือ 123 ปีที่แล้ว เริ่มต้นจากการเป็นกิจการเล็กๆ จาหน่าย ซอสหอยนางรมภายใต้แบรนด์ ลี กุม กี่ ซึ่งธุรกิจขยายตัวและเติบโตอย่างต่อเนื่อง จนเป็น แบรนด์ระดับโลกด้วยสัญลักษณ์แห่งคุณภาพและความน่าเชื่อถือ ซึ่งปัจจุบันดาเนินธุรกิจ อยู่ในกว่า 100 ประเทศทั่วโลก  เอ็ดดี้ ลี กรรมการของกลุ่มลีกุมกี่ ซึ่งเป็นเจเนอเรชั่นที่ 4 ขององค์กร โดยเข้าสู่รุ่น 5 ในปัจจุบัน ได้มีข้อตกลงหลายอย่างร่วมกัน รวมถึงข้อตกลงที่ว่า ไม่ให้สะใภ้หรือเขยเข้ามาทางานในธุรกิจ เพื่อลดความปัญหาความขัดแย้งและความแตกต่างจากสมาชิกที่มากขึ้นเรื่อย ๆ “ สิ่งสาคัญที่จะทาให้ธุรกิจครอบครัวจะยั่งยืนได้ก็คือ ต้องลงมือทาเลย เพื่อป้องกัน ไม่ให้เกิดการล่มสลาย อย่ารอจนกระทั่งใกล้ล่มสลาย เพราะเชื่อว่าการป้องกันปัญหา ที่อาจจะเกิด ย่อมดีกว่าการตามแก้ปัญหาที่ได้เกิดขึ้นแล้ว ” เอ็ดดี้ ลี กรรมการของกลุ่มลีกุมกี่
  • 25.  ครอบครัวลีกุมกี่ยึดถือหลักครอบครัวอยู่เหนือธุรกิจ (Our Formula - Family First) โดยให้ความสาคัญกับครอบครัวมากกว่า  โดยได้ก่อตั้งสภาธุรกิจครอบครัว หรือ Family Council มาตั้งแต่ปี 2002 เพื่อจะได้เป็น เวทีถกปัญหาและแก้ปัญหาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะมีระยะเวลาพบกันค่อนข้างบ่อยราว 4 วันต่อสัปดาห์ ให้เวลากับการพบปะพูดคุยกันมาก  มีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดการพูดคุยและใกล้ชิดกัน เช่น การจัด Team Building ระหว่างสมาชิกครอบครัว อย่างเช่น กิจกรรม 144-Day Committed to Trust Building & Fun ในบรรยากาศสบาย ๆ เป็นกันเองและสร้างความสนุกร่วมกันบ้าง  ในช่วงรุ่นของเอ็ดดี้ ลี เจเนอเรชั่นที่ 4 กว่า 10 ปีที่ผ่านมา ครอบครัวได้ร่วมกันทากิจกรรม ร่วมกันพัฒนาโครงสร้างธุรกิจ และพูดคุยกันมาโดยตลอด แต่อาจมีข้อกาหนด เป็นข้อห้าม 3 ข้อด้วยกันที่ได้ตกลงร่วมกัน คือ ห้ามหย่า ห้ามแต่งงานช้าเกินไป และห้ามมีครอบครัวซ้อน หรือมีเมียน้อย กลุ่มลีกุมกี่ (บริษัทผู้ผลิตซอสปรุงรสชั้นนาของฮ่องกงและระดับโลก)
  • 26. สภาครอบครัว (Family Council)  เป็นการจัดให้มีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกัน เหมาะกับครอบครัวตระกูลใหญ่ ที่สมาชิกจานวนมาก มีธุรกิจหลากหลายมากมาย โดยสมาชิกแต่ละคนจะมีโอกาส ผลัดกันเข้ามาดารงตาแหน่งตามวาระ  โดยทั่วไปสภาครอบครัวกับธรรมนูญครอบครัว มักจะมาพร้อมๆ กัน  ทั้งนี้จะมีคนนอกมาเป็นพยาน เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวมีความเกรงใจมากขึ้น ซึ่งคนที่จะมาเป็นพยานนั้นจะต้องเป็นคนที่ครอบครัวทุกคนให้การยอมรับและเคารพ (ที่มา : กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์, สภาครอบครัวกับธุรกิจครอบครัวไทย, โพสต์ทูเดย์ 14 ตุลาคม 2552)
  • 27. วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสภาครอบครัว  เพื่อเปิดโอกาสให้สมาชิกในครอบครัวสามารถสื่อสารติดต่อกันได้มากขึ้น  เป็นการสร้างความสมัครสมานสามัคคี หากมีปัญหาข้อขัดแย้งกัน ก็สามารถขจัดปัญหา อุปสรรคต่างๆ ได้ด้วยการพูดคุย  สภาครอบครัวยังสามารถกาหนดแนวทางในการดาเนินกิจการของธุรกิจครอบครัวได้  สภาครอบครัวจะเป็นศูนย์กลางการฝึกอบรมให้ลูกหลานซึ่งเป็นสมาชิกในครอบครัวมี ความรู้ในเรื่องต่างๆ จากสมาชิกในครอบครัวที่มีประสบการณ์การบริหาร
  • 28. ตัวอย่างปรัชญาในการดาเนินธุรกิจของ กลุ่มธุรกิจน้าตาลมิตรผล "ตระกูลว่องกุศลกิจ"  การมีสภาครอบครัวคอยกากับดูแลสมาชิกในครอบครัว ขณะที่ธุรกิจก็มีคณะกรรมการ บริหารดูแลกิจการให้สิ่งที่สืบทอดถึงกันได้ ไม่ว่าจะเจ้าของหรือผู้บริหารมืออาชีพ คือ การเรียนรู้ในปรัชญาธุรกิจอย่างมุ่งสู่ความเป็นเลิศ เชื่อมั่นในคุณค่าของคน ตั้งอยู่ใน ความเป็นธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม  ขณะที่ธรรมนูญครอบครัวคือ ต้องเป็นคนดีมีน้าใจ ขยัน ห้ามพูดปด ใจบุญ คิดให้ลึกซึ้ง เอาใจเขามาใส่ใจเรา รู้จักบุญคุณคน ซื่อตรงพูดแล้วต้องทาได้ ธุรกิจศูนย์การค้า อัมรินทร์ พลาซ่า บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน)บริษัท น้าตาลมิตรผล
  • 29. หลุมพราง ทางออกในการลดปัญหา 1. การพูดกันน้อยลง • อย่าคิดว่าอีกฝั่งหนึ่งจะเข้าใจเรา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า พูดอธิบายกันให้เข้าใจ ชัดเจน • สามารถตั้งให้มีช่วงเวลาหนึ่งที่คนในครอบครัวมีโอกาสได้มา อยู่รวมกัน เพื่อให้ได้พูดคุยในเรื่องที่ไม่เข้าใจกันหรือเรื่องที่ทา ให้แตกแยกกัน 2. ให้ความสาคัญกับธุรกิจ มากเกินไปจนลืมครอบครัว ควรใช้เวลากับงานให้เต็มที่ แต่เมื่อเป็นเวลาของครอบครัว อย่าเอางานมาเกี่ยวข้อง เช่น ทางานในวันจันทร์ถึงเสาร์ อย่างเต็มที่ ส่วนวันอาทิตย์อยู่กับครอบครัวอย่างเดียว กาหนดเวลาไปเที่ยวกับครอบครัวอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เป็น ต้น (ที่มา: บริหารความเสี่ยง อุดช่องโหว่ ธุรกิจครอบครัว ผู้จัดการ 360 รายสัปดาห์ 6 กันยายน 2553) ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
  • 30. หลุมพราง ทางออกในการลดปัญหา 3. การหลงลืมในบทบาท • กาหนดบทบาทหน้าที่ในแต่ละส่วนให้ชัดเจน ส่วนของ ผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร หรือสมาชิกครอบครัว โดยที่ผู้นาในธุรกิจ ครอบครัวต้องเป็นคนที่เข้าใจเรื่องนี้และถ่ายทอด • บางครอบครัวเรียกว่าเป็นธรรมนูญครอบครัวหรือข้อกาหนด ของครอบครัว เช่น ใครจะเข้าทางานในธุรกิจของครอบครัวได้ บ้าง และมีเงื่อนไขอย่างไร • การกาหนดบทบาทเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจนและ อธิบายกันจนเป็นที่เข้า ใจ ทาให้ทุกคนเห็นชอบในเรื่องนี้และ ไม่เกิดการหลงในบทบาท ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
  • 31. หลุมพราง ทางออกในการลดปัญหา 4. การปล่อยให้อารมณ์อยู่ เหนือเหตุผล เหมือนเมื่ออยู่กับ ครอบครัว • ให้ตระหนักว่า การบริหารที่มีความเกี่ยวข้องกับคนที่มี ความสัมพันธ์ส่วนตัวมีโอกาสที่จะใช้ อารมณ์ระหว่างกัน • ต้องทาให้เห็นว่าเป็นผู้บริหารมืออาชีพ หากบางเรื่องเป็น เรื่องสาคัญที่อาจจะใช้อารมณ์ต่อกันอยู่บ่อยๆ อาจจะให้ บุคคลที่สามที่ได้รับการยอมรับมาร่วม 5. ความประมาท • การบริหารธุรกิจมีความไม่แน่นอนสูง จาเป็นต้อง วางระบบการบริหารธุรกิจครอบครัวเพื่อเป็นแนวทางใน การดาเนินการ ด้วยการจัดทาธรรมนูญครอบครัว เช่น จัดให้มีระบบบริหารเงินกองกลางอย่างชัดเจน และการ มีคณะกรรมการครอบครัวซึ่งเป็นตัวแทนเพื่อเป็นแกนกลาง ในการดาเนินการเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจครอบครัว มีแผนสืบทอดทายาทธุรกิจ เป็นต้น ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
  • 32. หลุมพราง ทางออกในการลดปัญหา 6. จัดลาดับความสาคัญของ ชีวิตผิดไป ปล่อยให้ ผลประโยชน์อยู่เหนือความ รักความสามัคคีของคนใน ครอบครัว • คนในครอบครัวควรจะได้รับการอบรมสั่งสอนที่ดี ควรจะได้รับ การถ่ายทอดค่านิยมที่ถูกต้อง • ตัวอย่างเช่น ถ้าทุกคนในครอบครัวมีนิสัยเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ไม่รัก ความรุนแรง การขัดแย้งกันย่อมจะมีน้อย เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันที่ ตัวบุคคลซึ่งจะส่งผลต่อพฤติกรรมและวิธีการทางานของเขา • กรณีถ้าเกิดปัญหาขึ้นแล้ว ควรจะหาคนกลางที่ทั้งสองฝ่าย ยอมรับเพื่อมาช่วยกันไกล่เกลี่ยให้ปัญหาน้อยลง 7. คนในครอบครัวเชื่อคน นอกมากกว่าคนใน • ต้องให้โอกาสคนในครอบครัวทาดูก่อน โดยสร้างให้เกิดเป็น วัฒนธรรม เพราะคนในครอบครัวควรจะเชื่อกันด้วยการใช้เหตุ และผล • แต่ถ้าคนในครอบครัวทาไม่ได้ ไม่ชานาญ ให้ลองหาคนนอกมาทา แต่ไม่ได้หมายความว่าคนนอกจะเก่งกว่าพ่อแม่ของเราหรือลูก ของเรา ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
  • 33. หลุมพราง ทางออกในการลดปัญหา 8. คิดว่าเงินทองไม่ใช่เรื่องสาคัญ • อย่าเห็นว่าเป็นคนกันเอง เป็นลูก เป็นญาติ แล้วดูแล ไม่ดี เมื่อทุกคนเข้าสู่ระบบธุรกิจ ควรจะใช้ระบบของ บริษัทเป็นแนวทางในการจ่ายค่าตอบแทนให้สมาชิก ครอบครัว • แต่ถ้าระบบของธุรกิจยังไม่สามารถดูแลเขาได้ดี เนื่องจากว่าไม่มีระบบเงินเดือนที่สามารถจ้างคนที่มี ความสามารถสูงเข้าสู่ระบบได้ ให้เราดึงเขาเข้ามาเพื่อเปิด โอกาสให้เขาได้เรียนรู้งานหรือเพราะรู้สึกว่า เขาเป็นส่วน หนึ่งของธุรกิจครอบครัว เพราะฉะนั้น ครอบครัวอาจจะ ต้องยอมจ่ายเงินสนับสนุนเพื่อให้เขาในระดับที่ไม่ต่ากว่า ค่าตอบแทนที่เขาเคยได้มาก่อน เช่น ต้องดึงเงินกงสีหรือ กองกลางมาสนับสนุนให้เขามีรายได้มากพอ ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
  • 34. หลุมพราง ทางออกในการลดปัญหา 9. เลือกคนมากกว่า ความสามารถ เลือกคนที่ทาเรื่องนั้นๆ ได้ดีที่สุดหรือเหมาะสมที่สุดใน ตาแหน่งนั้นๆ เมื่อถึงเวลาที่จะต้องเลือก โดยใช้เกณฑ์ หรือวิธีการแบบมืออาชีพที่ใช้ในการคัดเลือก เพื่อลด ข้อครหา และแน่ใจว่าบริษัทจะได้คนเก่งที่สุดไปทางาน ในตาแหน่งนั้น ซึ่งจะเป็นผลดีต่อทั้งบริษัทและครอบครัว ในระยะยาว 10. การยึดมั่นถือมั่นมากเกินไป ต้องเข้าใจว่าคนแต่ละรุ่นเดินมาด้วยเส้นทางที่แตกต่างกัน แต่เป็นเส้นทางที่มีคุณค่าทั้งคู่ สามารถนามารวมกันและ เสริมซึ่งกันและกันได้ เพราะการยึดมั่นถือมั่นเป็น ธรรมชาติ ยิ่งคนเก่งและประสบความสาเร็จมากเท่าไร หรือพวกเด็กรุ่นใหม่ และคนที่ยิ่งเรียนสูงเท่าไร ก็เช่นเดียวกัน ยิ่งยึดมั่นถือมั่นกับตัวเอง ทางออกของหลุมพรางต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
  • 35. ต้นทุนของครอบครัว (Family Capital)  จากผลการศึกษาของเฮย์กรุ๊ปพบว่า การสร้างระบบและนาผู้บริหารมืออาชีพเข้ามาช่วย ในการบริหารอาจไม่สามารถทาให้ ธุรกิจครอบครัวประสบความสาเร็จได้ หากองค์กร ไม่ให้ความสาคัญกับ “ต้นทุนของครอบครัว (Family Capital)” ที่ใช้ในการ ดาเนินธุรกิจ  ต้นทุนของครอบครัว (Family Capital) หมายถึง  ความสัมพันธ์ (Family relations)  ธรรมเนียม (Traditions)  ค่านิยม (Values)  สิทธิ์(Rights) และ  กฎเกณฑ์ของครอบครัว (Obligations) (ที่มา: อุดจุดอ่อน “ธุรกิจครอบครัว” ไขกลยุทธ์สร้างความยั่งยืน,ASTVผู้จัดการออนไลน์ 24 มีนาคม 2557)
  • 36. ต้นทุนของครอบครัว (Family Capital) (ต่อ) ช่วงของธุรกิจครอบครัว ลักษณะต้นทุนของธุรกิจครอบครัว ธุรกิจครอบครัวรุ่นแรก (ช่วงบุกเบิก) • Family Capital ยังฝังติดอยู่กับธุรกิจ • ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวยังมีความแน่นแฟ้น • แต่การสร้างระบบที่ชัดเจนและนาผู้บริหารมืออาชีพเข้ามาสู่องค์กร มักจะไม่ปรากฏเท่าไรนัก ธุรกิจรุ่นที่สอง (ช่วงหุ้นส่วนของพี่น้อง) • มีจานวนสมาชิกในครอบครัวมากขึ้น • มีลักษณะความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนมากขึ้น • ทาให้ Family Capital เริ่มลดลง • แต่การสร้างระบบและการนาผู้บริหารมืออาชีพเข้ามาช่วยธุรกิจ เริ่มปรากฏมากขึ้น
  • 37. ต้นทุนของครอบครัว (Family Capital) (ต่อ) ช่วงของธุรกิจครอบครัว ลักษณะต้นทุนของครอบครัว ธุรกิจรุ่นที่สาม (ช่วงสหพันธ์เครือญาติ) • องค์กรสามารถสร้างระบบที่ชัดเจนและมีผู้บริหารมืออาชีพเข้ามา ช่วยดาเนินธุรกิจ • การสร้างระบบและการนาคนนอกมาบริหารก็อาจเป็นสิ่งที่ทาลาย Family Capital ได้ ดังนั้น องค์กรจึงต้องให้ความสาคัญในการบริหาร Family Capital เพื่อให้ธุรกิจสามารถคงอยู่และสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นได้อย่างยั่งยืน
  • 38. ปัจจัยขับเคลื่อนธุรกิจครอบครัว 3 ประการ ที่จะช่วยเพิ่มโอกาสให้ ธุรกิจครอบครัวสามารถดาเนินอยู่ได้อย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ 1. คุณค่าที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น (Heritage Capital) 2. ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว (Kin Interaction Capital) 3. หลักการ กฎเกณฑ์ และวิธีการดาเนินธุรกิจ (Principled Capital)
  • 39. 1. คุณค่าที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น (Heritage Capital)  ธุรกิจครอบครัวรุ่นแรก ควรให้ความสาคัญกับ คุณค่าที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น (Heritage Capital)  Heritage Capital คือ ความรู้ ความสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก ชื่อเสียง ครอบครัว และความเป็นเอกลักษณ์ของธุรกิจ เพราะทรัพยากรและข้อมูลที่มี ความสาคัญต่างๆ ในรุ่นนี้จาเป็นต้องสืบต่อไปยังผู้สืบทอดรุ่นต่อไป
  • 40. 2. ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว (Kin Interaction Capital)  Heritage Capital ยังเป็นสิ่งที่จาเป็นในธุรกิจครอบครัวรุ่นที่สองอยู่  ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว (Kin Interaction Capital) คือ ระดับ ความแน่นแฟ้น ด้านความสัมพันธ์ของครอบครัวซึ่งเป็นสิ่งที่จะช่วยให้องค์กรสามารถใช้ ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด  การบริหารความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว (Kin Interaction Capital) โดยนักธุรกิจรุ่นนี้ควรดาเนินการโดย  ต้องให้ความสาคัญกับครอบครัว โดยรักษาสมดุลระหว่างครอบครัวและธุรกิจ  ต้องมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของสมาชิกในตระกูลอย่างสม่าเสมอ เช่น ควรจัดประชุมครอบครัวแบบเป็นทางการอย่างสม่าเสมอ โดยบังคับให้สมาชิกในครอบครัว ทุกคนเข้าประชุม, ตั้งไว้ว่าในหนึ่งสัปดาห์ต้องมีการทานอาหารร่วมกันในครอบครัว เพื่อที่จะพูดคุย เกี่ยวกับเรื่องของธุรกิจที่ทาหรือประเด็นต่างๆในบริษัท โดยมีตัวแทนของแต่ละกลุ่มแต่ละครอบครัว
  • 41. 2. ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว (Kin Interaction Capital) (ต่อ)  คำพูดของ สมำชิกรุ่นที่ 4 ของ “ลี กุม กี่” ตำนำนซอสปรุงรสจำก แดนมังกร 123 ปี “เรามีความคิดเห็นร่วมกัน ว่า “ครอบครัว” ต้องสาคัญกว่า “ธุรกิจ” เราเชื่อว่า เมื่อครอบครัวดี มีความเข้มแข็ง อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี ธุรกิจก็จะเข้มแข็งไปด้วย แต่ถ้าครอบครัวไม่กลมเกลียว ไม่สามัคคีกันแล้ว ก็เป็นไปได้ที่ธุรกิจจะไปไม่รอด” เมื่อเห็นครอบครัวยิ่ง ใหญ่กว่าธุรกิจ พวกเขาจึงเริ่มพูดคุยกันมากขึ้น ใช้เวลาร่วมกัน คิดถึงอนาคตและสิ่งที่ครอบครัวต้องการร่วมกัน สิ่งที่ก่อเกิดตามมาคือ “สภาครอบครัว” เพื่อสื่อสารความเชื่อและวิสัยทัศน์ของครอบครัว “ลี” ไปยังเหล่าสมาชิกของตระกูล “เราเจอกันแบบไม่เป็นทางการบ่อยขึ้น ใช้เวลากับครอบครัวเยอะขึ้น ไม่มีธุรกิจ ไม่มีบรรยากาศที่เคร่งเครียด แต่อาจไปสนามกอล์ฟด้วยกัน เพื่อพูดคุยในประเด็นต่างๆ ร่วมกัน เราสร้างทีมด้วยกัน ทีมของครอบครัว มาทากิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจกันให้เกิดขึ้น”
  • 42. 3. หลักการ กฎเกณฑ์ และวิธีการดาเนินธุรกิจ (Principled Capital)  การที่สมาชิกในครอบครัวเพิ่มขึ้นและมีความสัมพันธ์ซับซ้อนมากขึ้น ธุรกิจครอบครัว รุ่นที่สามจาเป็นต้องให้ความสาคัญในความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว (Kin Interaction Capital) และหลักการ กฎเกณฑ์ และวิธีการดาเนินธุรกิจ (Principled Capital)  หลักการ กฎเกณฑ์ และวิธีการดาเนินธุรกิจ (Principled Capital) คือ หลักการ กฎเกณฑ์ วิธีการที่ใช้ในการปกครองและดาเนินธุรกิจนั้น
  • 43. 3. หลักการ กฎเกณฑ์ และวิธีการดาเนินธุรกิจ (Principled Capital) (ต่อ)  ธุรกิจครอบครัวสามารถสร้างทุนด้านนี้ให้เกิดขึ้นได้โดย o กาหนดกฎระเบียบที่สนับสนุนความซื่อตรงและคุณธรรม รวมถึงสร้างหลักในการปกครองของ ครอบครัว เช่น บัญญัติวิธีการขจัดความขัดแย้ง หรือจัดตั้งสานักงานของครอบครัว เป็นต้น o พัฒนาธุรกิจครอบครัวอย่างต่อเนื่อง เช่น การสร้างผู้นาจากลูกหลานรุ่นใหม่และต้องได้รับ ความไว้วางใจให้ทาและลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง มีวิสัยทัศน์และมุ่งมั่นสู่อนาคต เพื่อให้บุคลากรในบริษัทมั่นใจได้ เพื่อร่วมกันพาองค์กรสู่ความสาเร็จ o ต้องวางแผนในการสืบทอดทายาทธุรกิจจากรุ่นสู่รุ่นอย่างชัดเจน และเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย เพื่อให้เกิดความสามัคคีของคนในตระกูล o รู้จักผสมผสานการบริหารธุรกิจระหว่างครอบครัว กับมืออาชีพได้อย่างลงตัวและเหมาะสม โดย ไม่ยึดติดกับความคิดเห็นของคนในตระกูลเพียงฝ่ายเดียว