SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ ใช้ งาน”

         โครงงานประเภท การประยุกต์ใช้งาน หมายถึง โครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้าง
ผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริ งในชีวตประจาวันเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ง
                                    ิ
อาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็ นต้น โครงงานงาน
ประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์หรื ออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่
                                      ่
หรื อปรับปรุ งดัดแปลงของเดิมที่มีอยูแล้วให้มีประสิ ทธิภาพสู งขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้
จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผูใช้ก่อนแล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ
                                             ้
และพัฒนาสิ่ งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรื อทดสอบคุณภาพของ
สิ่ งประดิษฐ์แล้วปรับปรุ งแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นกเรี ยนต้องใช้ความรู ้
                                                                        ั
เกี่ยวกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่ องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วธี
                                                                                          ิ
ทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย

ตัวอย่ าง
1.โครงงานโปรแกรมธนาคารความดี
         ใช้ในการบันทึกข้อมูลนักเรี ยน เพิ่มคะแนนความดี หักคะแนนความประพฤติของ
นักเรี ยน และผลของการใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลนี้กบธนาคารความดี ก็เป็ นที่น่าพอใจมากกว่า
                                                      ั
                                           ั ่
การบันทึกความดีที่เป็ นสมุดรู ปเล่ม ที่ใช้กนอยูในปั จจุบน ซึ่งต้องใช้กระดาษเป็ นจานวนมากใน
                                                        ั
การทาเป็ นสมุดบันทึกคะแนนความดีให้นกเรี ยนทุกคนในโรงเรี ยน อีกทั้งการพกพาสมุดนั้นทา
                                            ั
ให้เกิดการสู ญหายได้ และเกิดการชารุ ดได้ง่าย การหาวิธีที่จะใช้กระดาษให้นอยลงจึงเป็ น
                                                                             ้
ทางเลือกที่ดี ดังนั้นโปรแกรมธนาคารความดีน้ ีจึงเป็ นทางเลือกใหม่ที่ดีกว่ารู ปเล่มบันทึก
แบบเดิม โปรแกรมธนาคารความดีน้ ีได้ถูกคิดต่อยอดจากโปรแกรมเดิมที่มีคุณสมบัติไม่ดีเท่า
โปรแกรมตัวใหม่ โดยเริ่ มจากการวางแผนเค้าโครงโปรแกรม คิดหาสู ตรที่ใช้ในการพัฒนา
โปรแกรมธนาคารความดี ออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Microsoft Access 2003
ออกแบบเมนูหลักต่างๆที่จาเป็ นต่อการใช้งาน เช่น รายการเพิ่มคะแนนความดี รายการหัก
คะแนนความประพฤติ รายงานคะแนนแบบห้อง หรื อแม้แต่ระดับบุคคล และยังสามารถมี
ประโยชน์ในการใช้งานจริ ง แล้วจึงมาสร้างในโปรแกรม Microsoft Visual Basic 6.0 โดยเริ่ ม
                                ่
จากการสร้างเมนูหลัก เพิ่มเมนูยอยอีกหลายรายการเพื่อสะดวกแก่การเก็บหลักฐานพฤติกรรม
ของนักเรี ยนที่เป็ นสมาชิกภายในโรงเรี ยน ข้อมูลภายในโปรแกรมธนาคารความดียงสามารถ
                                                                           ั
เพิ่ม ลบ หรื อแก้ไข ข้อมูลสมาชิกหรื อข้อมูลต่างๆภายในโปรแกรมได้ ข้อมูลและหลักฐานต่างๆ
ที่ถูกบันทึกในโปรแกรมยังสามารถเก็บเป็ นหลักฐาน และรายงานเพื่อส่ งต่อให้ฝ่ายปกครอง
พิจารณาต่อไปได้อีกด้วย โปรแกรมธนาคารความดีน้ ีจึงเป็ นโปรแกรมที่สามารถลดภาระของครู
ผูบริ หารเกี่ยวกับการควบคุม ดูแลความประพฤติของนักเรี ยนได้โดยไม่ตองเพิ่งการตรวจสอบที่
    ้                                                              ้
ยุงยากเหมือนแต่ก่อน ลดขั้นตอนการดูแลได้ในโปรแกรมเดียว และยังสามารถประยุกต์พฒนา
  ่                                                                             ั
โปรแกรมนี้เพื่อประโยชน์แก่กิจกรรมทางการเรี ยนของนักเรี ยนได้อีกด้วย
2.โปรแกรมการสื บค้นคาไทยตามเสี ยงอ่าน (Thai Soundex)
        การค้นหาคาไทยที่มีเสี ยงพ้อง หรื อคาที่สามารถสะกดได้หลายแบบนั้น สามารถ
แก้ปัญหาได้ โดยการค้นหาคาตามเสี ยงอ่าน ทั้งนี้ ตามธรรมชาติของผูใช้ภาษาโดยทัวไป จะเคย
                                                                        ้           ่
ชินกับเสี ยงอ่านของคามากกว่าตัวสะกด นอกจากนั้น เสี ยง 1 เสี ยงสามารถแทนคาได้มากกว่า 1
คา เช่น เสี ยง "ค่า"หมายความถึง ข้า ค่า หรื อ ฆ่า ก็ได้ ชื่อเฉพาะทั้งหลาย ก็สามารถสะกดได้
หลายแบบ เช่น เพชรรัตน์ (อ่านว่า เพ็ด - ชะ - รัด)อาจสะกดเป็ น เพชรัตน์ เพ็ชรัตน์ เพ็ชรรัตน์
เพชรรัช เพชรรัชต์ เพชรรัฐ เพชรรัตต์ เพชรรัตติ์ เพชรรัศม์ ฯลฯ จึงได้มีการคิดวิธีคนตามเสี ยง
                                                                                  ้
อ่านขึ้น เพืออานวยความสะดวกต่อผูใช้ ในสถานการณ์ที่ไม่สามารถสะกดคาได้อย่างถูกต้อง
            ่                        ้
เช่น การค้นหาชื่อในฐานข้อมูลสามะโนประชากร ในสมุดรายนามผูใช้โทรศัพท์ หรื อใน
                                                                      ้
โปรแกรมตรวจคาผิด เป็ นต้น




3.โปรแกรมแปลภาษา (Machine Translation)
        โปรแกรมแปลภาษาคือ เครื่ องมือที่ใช้สาหรับแปลข้อความจานวนมากๆ จากภาษาหนึ่ง
ไปเป็ นภาษาหนึ่ง โดยสามารถป้ อนข้อมูลภาษาต้นทางเป็ นข้อความ หรื อเสี ยงพูดก็ได้ ผลที่
ได้รับคือ จะได้ภาษาปลายทางเป็ นข้อความ หรื อเสี ยงพูดก็ได้เช่นกัน ซึ่งจะช่วยให้วงการการ
แปลสามารถแปลข้อความได้เป็ นจานวนมาก และรวดเร็ว
การทาวิจย และพัฒนาเครื่ องแปลภาษา เป็ นงานแขนงหนึ่ง ในศาสตร์แห่งการประมวลผล
           ั
ภาษาธรรมชาติ เครื่ องแปลภาษาเครื่ องแรกถูกผลิตขึ้นประมาณปี ค.ศ.1930 เป็ นซอฟต์แวร์ที่
พยายามแปลข้อความในรู ปประโยค โดยพิจารณาเรื่ องของวากยสัมพันธ์ รวมถึงอรรถศาสตร์
ด้วย ไม่ใช่แปลเป็ นคาๆ เท่านั้น การทาวิจย และพัฒนา เครื่ องแปลภาษา ในประเทศไทยเริ่ มต้น
                                        ั
ในปี พ.ศ. 2524 โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย เกรอนอบล์ (Grenoble)แห่ง
ประเทศฝรั่งเศส ได้ร่วมกันจัดทาโครงการวิจย และแปลภาษาอังกฤษเป็ นภาษาไทย ด้วย
                                           ั
คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ นโครงการของทบวงมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2524 - 2530)ต่อมาก็เกิดโครงการ
ความร่ วมมือ ในการพัฒนาระบบแปลหลากภาษา สาหรับภาษา ในเอเชีย ได้แก่ ภาษาจีน ญี่ปุ่น
มลายู อินโดนีเซีย และไทย ซึ่งเป็ นโครงการของกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
สิ่ งแวดล้อม ซึ่งดาเนินการภายใต้ศนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(พ.ศ.
                                  ู
2530 - 2537)




4.โปรแกรมรู ้จาอักขระไทยด้วยแสง หรื อไทยโอซี อาร์ (Thai Optical Character Recognition)
      โอซีอาร์เป็ นคาย่อของภาษาอังกฤษว่า "Optical Character Recognition : OCR"แปลเป็ น
             ่
ภาษาไทยได้วา "การรู ้จกอักขระด้วยแสง"เป็ นงานประยุกต์งานหนึ่งของสาขาวิทยาการ
                       ั
คอมพิวเตอร์ ที่ได้รับความสนใจ และพัฒนามานานกว่า 70 ปี แล้ว โอซีอาร์ เป็ นการรู ้จารู ปแบบ
ตัวอักษร ซึ่งเป็ นงานวิจยในสาขาการรู ้จารู ปแบบ (Pattern Recognition)เป็ นเทคโนโลยีที่ส่งผล
                          ั
                                                                                ่
ให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถระบุรูปแบบได้อย่างถูกต้อง เช่น สามารถจะบอกได้วา ภาพนั้นคือ
ภาพอะไร ภาพตัวอักษรนั้นคือตัวอักษรอะไร หรื อเสี ยงนั้นคือเสี ยงของคาสั่งอะไร เป็ นต้น
       นักวิจยมีความสนใจงานโอซีอาร์เป็ นอย่างมาก เพราะเป็ นงานที่เกี่ยวข้องกับเอกสาร การ
              ั
เก็บข้อมูลเหล่านี้ให้เป็ นแฟ้ มข้อความ (Text File)ไว้ในระบบคอมพิวเตอร์น้ น ต้องใช้บุคลากร
                                                                          ั
                                                                  ่
ในการจัดพิมพ์เอกสารนั้นๆ โดยใช้โปรแกรมประมวลผลคา ถึงแม้วาโปรแกรมประเภทนี้จะมี
                                         ็ั
ความสามารถ และเป็ นเครื่ องมือที่ดี แต่กยงต้องใช้บุคลากรจานวนมาก และใช้เวลานาน ถ้าโอซี
อาร์ประสบผลสาเร็ จ งานพิมพ์เอกสารต่างๆ เพื่อเก็บเป็ นแฟ้ มข้อความ ก็จะกลายเป็ นหน้าที่ของ
ระบบคอมพิวเตอร์ การประมวลผลของโอซีอาร์โดยทัวไปจะเร็วกว่าการพิมพ์ของมนุษย์เฉลี่ย
                                                       ่
ประมาณ 5 เท่า และในบางระบบ การประมวลผลของโอซีอาร์ จะมีความถูกต้องมากกว่าการ
พิมพ์ของมนุษย์อีกด้วย




5. โปรแกรมการเรี ยงลาดับคาไทย (Thai Sorting)
       การเรี ยงลาดับคาในพจนานุกรม การเรี ยงลาดับชื่อบุคคลในสมุดรายนามผูใช้โทรศัพท์
                                                                             ้
หรื อการเรี ยงลาดับคา ให้สามารถค้นหาได้โดยง่าย จาเป็ นต้องมีการเรี ยงตามลาดับตัวอักษร และ
ตามมาตรฐานการเรี ยงลาดับคาไทย ที่ยดถือตามพจนานุ กรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525
                                       ึ
ประโยชน์ของการเรี ยงลาดับคือ ช่วยให้การค้นหาทาได้ง่ายขึ้น ทั้งการค้นโดยคอมพิวเตอร์ และ
การค้นโดยผูใช้ ตัวอย่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือ การค้นหาคา ในพจนานุกรม หรื อการค้นหา
              ้
ฐานข้อมูลชื่อต่างๆ เช่น ชื่อบุคคล ชื่อหน่วยงาน ชื่อแฟ้ มเอกสาร เป็ นต้น ถ้าได้จดเรี ยงไว้
                                                                               ั
ตามลาดับแล้ว ก็จะสามารถประหยัดเวลาในการค้นหาได้




แหล่งที่มา : http://www.slideshare.net/Zikkapoo/ss-13963683
             http://www.vcharkarn.com/project/upload/0/689_1.pdfฃ
             http://www.technologymedia.co.th/news/newsview.asp?id=3374
             www.technologymedia.co.th technologymedia.co.th
             http://teacher.aru.ac.th/chutiman/images/ppt/doc7.pdf
             http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/book/book.php

จัดทาโดย : น.ส.จีระพัชร ศรี โพธิ์งาม เลขที่ 1
           น.ส.เบญจวรรณ ยืนธรรม เลขที่ 3
           น.ส.ลลิตา ประพันธ์ เลขที่ 23
                   ม.6/4

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Utaiwoot Ponglar
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4niramon_gam
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์viewil
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศdechathon
 
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานNatnicha Nuanlaong
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”Thanat Suriyawong
 

What's hot (14)

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
K3
K3K3
K3
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
03
0303
03
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
 
03
0303
03
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 
3
33
3
 

Viewers also liked

Titiwangsa info session slides
Titiwangsa info session slidesTitiwangsa info session slides
Titiwangsa info session slidessmuxtrekking2012
 
Manifest lrsal acm fmc-ugt-ccoo
Manifest lrsal acm fmc-ugt-ccooManifest lrsal acm fmc-ugt-ccoo
Manifest lrsal acm fmc-ugt-ccooavmaurina
 
Startup Heroes Pitchdeck
Startup Heroes PitchdeckStartup Heroes Pitchdeck
Startup Heroes PitchdeckEdward Junprung
 

Viewers also liked (15)

Titiwangsa info session slides
Titiwangsa info session slidesTitiwangsa info session slides
Titiwangsa info session slides
 
Radiodifusión
RadiodifusiónRadiodifusión
Radiodifusión
 
Manifest lrsal acm fmc-ugt-ccoo
Manifest lrsal acm fmc-ugt-ccooManifest lrsal acm fmc-ugt-ccoo
Manifest lrsal acm fmc-ugt-ccoo
 
Startup Heroes Pitchdeck
Startup Heroes PitchdeckStartup Heroes Pitchdeck
Startup Heroes Pitchdeck
 
Mi familia
Mi familiaMi familia
Mi familia
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
Ppt file
Ppt filePpt file
Ppt file
 
Diwan Nahrautha - scroll copy 2 - Mandaic
Diwan Nahrautha - scroll copy 2 - MandaicDiwan Nahrautha - scroll copy 2 - Mandaic
Diwan Nahrautha - scroll copy 2 - Mandaic
 
Qmaha - mandaic
Qmaha - mandaicQmaha - mandaic
Qmaha - mandaic
 
Book of John the Baptist - Drasha id yahia - Mandaic
Book of John the Baptist - Drasha id yahia - MandaicBook of John the Baptist - Drasha id yahia - Mandaic
Book of John the Baptist - Drasha id yahia - Mandaic
 
Trasir Alf Suiala - Mandaic - scroll copy 2
Trasir Alf Suiala - Mandaic - scroll copy 2Trasir Alf Suiala - Mandaic - scroll copy 2
Trasir Alf Suiala - Mandaic - scroll copy 2
 
Diwan Malkutha laitha - Mandaic
Diwan Malkutha laitha - MandaicDiwan Malkutha laitha - Mandaic
Diwan Malkutha laitha - Mandaic
 
كتاب الملل والنحل للشهرستاني
كتاب الملل والنحل للشهرستانيكتاب الملل والنحل للشهرستاني
كتاب الملل والنحل للشهرستاني
 
الصابئة المندائيون ايمانهم وعقيدتهم | حسام هشام العيداني
الصابئة المندائيون ايمانهم وعقيدتهم | حسام هشام العيدانيالصابئة المندائيون ايمانهم وعقيدتهم | حسام هشام العيداني
الصابئة المندائيون ايمانهم وعقيدتهم | حسام هشام العيداني
 
رحلة في بعض مفاهيم الدين الصابئي - علاء النشمي وغسان النصار
رحلة في بعض مفاهيم الدين الصابئي - علاء النشمي وغسان النصاررحلة في بعض مفاهيم الدين الصابئي - علاء النشمي وغسان النصار
رحلة في بعض مفاهيم الدين الصابئي - علاء النشمي وغسان النصار
 

Similar to ใบ 7

ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานPerm Ton
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศคีตะบลู รักคำภีร์
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานcartoon656
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3natnardtaya
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)JoyCe Zii Zii
 
605 สุปราณี 11
605 สุปราณี 11605 สุปราณี 11
605 สุปราณี 11Supranee Panjita
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPuifai Sineenart Phromnin
 
5 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp025 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp02Sky Aloha'
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 

Similar to ใบ 7 (20)

ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
08
0808
08
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 
605 สุปราณี 11
605 สุปราณี 11605 สุปราณี 11
605 สุปราณี 11
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
5 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp025 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp02
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
K3
K3K3
K3
 
K3.1
K3.1K3.1
K3.1
 
K3
K3K3
K3
 
K3.1
K3.1K3.1
K3.1
 
K3
K3K3
K3
 
5 6-7-8
5 6-7-85 6-7-8
5 6-7-8
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 

ใบ 7

  • 1. ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ ใช้ งาน” โครงงานประเภท การประยุกต์ใช้งาน หมายถึง โครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้าง ผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริ งในชีวตประจาวันเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ง ิ อาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็ นต้น โครงงานงาน ประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์หรื ออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่ ่ หรื อปรับปรุ งดัดแปลงของเดิมที่มีอยูแล้วให้มีประสิ ทธิภาพสู งขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้ จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผูใช้ก่อนแล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ ้ และพัฒนาสิ่ งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรื อทดสอบคุณภาพของ สิ่ งประดิษฐ์แล้วปรับปรุ งแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นกเรี ยนต้องใช้ความรู ้ ั เกี่ยวกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่ องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วธี ิ ทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย ตัวอย่ าง 1.โครงงานโปรแกรมธนาคารความดี ใช้ในการบันทึกข้อมูลนักเรี ยน เพิ่มคะแนนความดี หักคะแนนความประพฤติของ นักเรี ยน และผลของการใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลนี้กบธนาคารความดี ก็เป็ นที่น่าพอใจมากกว่า ั ั ่ การบันทึกความดีที่เป็ นสมุดรู ปเล่ม ที่ใช้กนอยูในปั จจุบน ซึ่งต้องใช้กระดาษเป็ นจานวนมากใน ั การทาเป็ นสมุดบันทึกคะแนนความดีให้นกเรี ยนทุกคนในโรงเรี ยน อีกทั้งการพกพาสมุดนั้นทา ั ให้เกิดการสู ญหายได้ และเกิดการชารุ ดได้ง่าย การหาวิธีที่จะใช้กระดาษให้นอยลงจึงเป็ น ้ ทางเลือกที่ดี ดังนั้นโปรแกรมธนาคารความดีน้ ีจึงเป็ นทางเลือกใหม่ที่ดีกว่ารู ปเล่มบันทึก แบบเดิม โปรแกรมธนาคารความดีน้ ีได้ถูกคิดต่อยอดจากโปรแกรมเดิมที่มีคุณสมบัติไม่ดีเท่า โปรแกรมตัวใหม่ โดยเริ่ มจากการวางแผนเค้าโครงโปรแกรม คิดหาสู ตรที่ใช้ในการพัฒนา โปรแกรมธนาคารความดี ออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Microsoft Access 2003 ออกแบบเมนูหลักต่างๆที่จาเป็ นต่อการใช้งาน เช่น รายการเพิ่มคะแนนความดี รายการหัก คะแนนความประพฤติ รายงานคะแนนแบบห้อง หรื อแม้แต่ระดับบุคคล และยังสามารถมี ประโยชน์ในการใช้งานจริ ง แล้วจึงมาสร้างในโปรแกรม Microsoft Visual Basic 6.0 โดยเริ่ ม ่ จากการสร้างเมนูหลัก เพิ่มเมนูยอยอีกหลายรายการเพื่อสะดวกแก่การเก็บหลักฐานพฤติกรรม
  • 2. ของนักเรี ยนที่เป็ นสมาชิกภายในโรงเรี ยน ข้อมูลภายในโปรแกรมธนาคารความดียงสามารถ ั เพิ่ม ลบ หรื อแก้ไข ข้อมูลสมาชิกหรื อข้อมูลต่างๆภายในโปรแกรมได้ ข้อมูลและหลักฐานต่างๆ ที่ถูกบันทึกในโปรแกรมยังสามารถเก็บเป็ นหลักฐาน และรายงานเพื่อส่ งต่อให้ฝ่ายปกครอง พิจารณาต่อไปได้อีกด้วย โปรแกรมธนาคารความดีน้ ีจึงเป็ นโปรแกรมที่สามารถลดภาระของครู ผูบริ หารเกี่ยวกับการควบคุม ดูแลความประพฤติของนักเรี ยนได้โดยไม่ตองเพิ่งการตรวจสอบที่ ้ ้ ยุงยากเหมือนแต่ก่อน ลดขั้นตอนการดูแลได้ในโปรแกรมเดียว และยังสามารถประยุกต์พฒนา ่ ั โปรแกรมนี้เพื่อประโยชน์แก่กิจกรรมทางการเรี ยนของนักเรี ยนได้อีกด้วย
  • 3. 2.โปรแกรมการสื บค้นคาไทยตามเสี ยงอ่าน (Thai Soundex) การค้นหาคาไทยที่มีเสี ยงพ้อง หรื อคาที่สามารถสะกดได้หลายแบบนั้น สามารถ แก้ปัญหาได้ โดยการค้นหาคาตามเสี ยงอ่าน ทั้งนี้ ตามธรรมชาติของผูใช้ภาษาโดยทัวไป จะเคย ้ ่ ชินกับเสี ยงอ่านของคามากกว่าตัวสะกด นอกจากนั้น เสี ยง 1 เสี ยงสามารถแทนคาได้มากกว่า 1 คา เช่น เสี ยง "ค่า"หมายความถึง ข้า ค่า หรื อ ฆ่า ก็ได้ ชื่อเฉพาะทั้งหลาย ก็สามารถสะกดได้ หลายแบบ เช่น เพชรรัตน์ (อ่านว่า เพ็ด - ชะ - รัด)อาจสะกดเป็ น เพชรัตน์ เพ็ชรัตน์ เพ็ชรรัตน์ เพชรรัช เพชรรัชต์ เพชรรัฐ เพชรรัตต์ เพชรรัตติ์ เพชรรัศม์ ฯลฯ จึงได้มีการคิดวิธีคนตามเสี ยง ้ อ่านขึ้น เพืออานวยความสะดวกต่อผูใช้ ในสถานการณ์ที่ไม่สามารถสะกดคาได้อย่างถูกต้อง ่ ้ เช่น การค้นหาชื่อในฐานข้อมูลสามะโนประชากร ในสมุดรายนามผูใช้โทรศัพท์ หรื อใน ้ โปรแกรมตรวจคาผิด เป็ นต้น 3.โปรแกรมแปลภาษา (Machine Translation) โปรแกรมแปลภาษาคือ เครื่ องมือที่ใช้สาหรับแปลข้อความจานวนมากๆ จากภาษาหนึ่ง ไปเป็ นภาษาหนึ่ง โดยสามารถป้ อนข้อมูลภาษาต้นทางเป็ นข้อความ หรื อเสี ยงพูดก็ได้ ผลที่ ได้รับคือ จะได้ภาษาปลายทางเป็ นข้อความ หรื อเสี ยงพูดก็ได้เช่นกัน ซึ่งจะช่วยให้วงการการ แปลสามารถแปลข้อความได้เป็ นจานวนมาก และรวดเร็ว
  • 4. การทาวิจย และพัฒนาเครื่ องแปลภาษา เป็ นงานแขนงหนึ่ง ในศาสตร์แห่งการประมวลผล ั ภาษาธรรมชาติ เครื่ องแปลภาษาเครื่ องแรกถูกผลิตขึ้นประมาณปี ค.ศ.1930 เป็ นซอฟต์แวร์ที่ พยายามแปลข้อความในรู ปประโยค โดยพิจารณาเรื่ องของวากยสัมพันธ์ รวมถึงอรรถศาสตร์ ด้วย ไม่ใช่แปลเป็ นคาๆ เท่านั้น การทาวิจย และพัฒนา เครื่ องแปลภาษา ในประเทศไทยเริ่ มต้น ั ในปี พ.ศ. 2524 โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย เกรอนอบล์ (Grenoble)แห่ง ประเทศฝรั่งเศส ได้ร่วมกันจัดทาโครงการวิจย และแปลภาษาอังกฤษเป็ นภาษาไทย ด้วย ั คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ นโครงการของทบวงมหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2524 - 2530)ต่อมาก็เกิดโครงการ ความร่ วมมือ ในการพัฒนาระบบแปลหลากภาษา สาหรับภาษา ในเอเชีย ได้แก่ ภาษาจีน ญี่ปุ่น มลายู อินโดนีเซีย และไทย ซึ่งเป็ นโครงการของกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ สิ่ งแวดล้อม ซึ่งดาเนินการภายใต้ศนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(พ.ศ. ู 2530 - 2537) 4.โปรแกรมรู ้จาอักขระไทยด้วยแสง หรื อไทยโอซี อาร์ (Thai Optical Character Recognition) โอซีอาร์เป็ นคาย่อของภาษาอังกฤษว่า "Optical Character Recognition : OCR"แปลเป็ น ่ ภาษาไทยได้วา "การรู ้จกอักขระด้วยแสง"เป็ นงานประยุกต์งานหนึ่งของสาขาวิทยาการ ั คอมพิวเตอร์ ที่ได้รับความสนใจ และพัฒนามานานกว่า 70 ปี แล้ว โอซีอาร์ เป็ นการรู ้จารู ปแบบ
  • 5. ตัวอักษร ซึ่งเป็ นงานวิจยในสาขาการรู ้จารู ปแบบ (Pattern Recognition)เป็ นเทคโนโลยีที่ส่งผล ั ่ ให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถระบุรูปแบบได้อย่างถูกต้อง เช่น สามารถจะบอกได้วา ภาพนั้นคือ ภาพอะไร ภาพตัวอักษรนั้นคือตัวอักษรอะไร หรื อเสี ยงนั้นคือเสี ยงของคาสั่งอะไร เป็ นต้น นักวิจยมีความสนใจงานโอซีอาร์เป็ นอย่างมาก เพราะเป็ นงานที่เกี่ยวข้องกับเอกสาร การ ั เก็บข้อมูลเหล่านี้ให้เป็ นแฟ้ มข้อความ (Text File)ไว้ในระบบคอมพิวเตอร์น้ น ต้องใช้บุคลากร ั ่ ในการจัดพิมพ์เอกสารนั้นๆ โดยใช้โปรแกรมประมวลผลคา ถึงแม้วาโปรแกรมประเภทนี้จะมี ็ั ความสามารถ และเป็ นเครื่ องมือที่ดี แต่กยงต้องใช้บุคลากรจานวนมาก และใช้เวลานาน ถ้าโอซี อาร์ประสบผลสาเร็ จ งานพิมพ์เอกสารต่างๆ เพื่อเก็บเป็ นแฟ้ มข้อความ ก็จะกลายเป็ นหน้าที่ของ ระบบคอมพิวเตอร์ การประมวลผลของโอซีอาร์โดยทัวไปจะเร็วกว่าการพิมพ์ของมนุษย์เฉลี่ย ่ ประมาณ 5 เท่า และในบางระบบ การประมวลผลของโอซีอาร์ จะมีความถูกต้องมากกว่าการ พิมพ์ของมนุษย์อีกด้วย 5. โปรแกรมการเรี ยงลาดับคาไทย (Thai Sorting) การเรี ยงลาดับคาในพจนานุกรม การเรี ยงลาดับชื่อบุคคลในสมุดรายนามผูใช้โทรศัพท์ ้ หรื อการเรี ยงลาดับคา ให้สามารถค้นหาได้โดยง่าย จาเป็ นต้องมีการเรี ยงตามลาดับตัวอักษร และ ตามมาตรฐานการเรี ยงลาดับคาไทย ที่ยดถือตามพจนานุ กรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ึ ประโยชน์ของการเรี ยงลาดับคือ ช่วยให้การค้นหาทาได้ง่ายขึ้น ทั้งการค้นโดยคอมพิวเตอร์ และ การค้นโดยผูใช้ ตัวอย่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือ การค้นหาคา ในพจนานุกรม หรื อการค้นหา ้
  • 6. ฐานข้อมูลชื่อต่างๆ เช่น ชื่อบุคคล ชื่อหน่วยงาน ชื่อแฟ้ มเอกสาร เป็ นต้น ถ้าได้จดเรี ยงไว้ ั ตามลาดับแล้ว ก็จะสามารถประหยัดเวลาในการค้นหาได้ แหล่งที่มา : http://www.slideshare.net/Zikkapoo/ss-13963683 http://www.vcharkarn.com/project/upload/0/689_1.pdfฃ http://www.technologymedia.co.th/news/newsview.asp?id=3374 www.technologymedia.co.th technologymedia.co.th http://teacher.aru.ac.th/chutiman/images/ppt/doc7.pdf http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/book/book.php จัดทาโดย : น.ส.จีระพัชร ศรี โพธิ์งาม เลขที่ 1 น.ส.เบญจวรรณ ยืนธรรม เลขที่ 3 น.ส.ลลิตา ประพันธ์ เลขที่ 23 ม.6/4