SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
24/09/13 8:51 AM(3) You and Auii Thestar
Page 1 of 14https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar
Sponsored
Recent
First Met
Solimpeks Solar
Solimpeks Solar
Corp.
Like us – Solimpeks is
the fastest growing
Solar Panel
manufacturer in the
world!
·Like 11,683
people like Solimpeks
Solar Corp.
National
Geographic
Channel Asia
Opens up a world of
possibilities by
exploring science,
technology, wildlife
and more.
·Like Look Talay
and Navyseaplane
Naxproject like
National Geographic
Channel Asia.
Facebook friends since August
Mutual Friends 86 Photos 1 Likes 1 Events
Auii Thestar Chacrit Sitdhiwej
September 19
สรุปการอภิปรายบทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อม — with Ormsin
Salinwan Kruathes and 19 others.
Unlike · Comment
You, Myname Isnatt and Eay Gunjanut-Th like this.
Tapanot Maipanich Chanon Teaworm Aumzaa Nuberone
September 19 at 8:44pm via mobile · Like
Tapanot Maipanich Machith Phetphousy
September 19 at 8:44pm via mobile · Like
Pann Chandla-or นักกฎหมายมีบทบาทสําคัญในการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อมหลายประการ อย่างไร
ก็ตามควรต ้องเข ้าใจลักษณะของวิชาชีพนักกฎหมายและหลักในการปฏิบัติตนของนักกฎหมายเสีย
ก่อน เพราะหากนักกฎหมายปฏิบัติตนอยู่ตามทํานองคลองธรรมแล ้ว สังคมก็จะพัฒนาดีตามไปด ้วย
สําหรับนักกฎหมายนัOนถือเป็น“วิชาชีพ” (Profession) กล่าวคือ
1. เป็นงานที7ต ้องอุทิศตนไปตลอดชีวิต
2. ต ้องมีการอบรมสั7งสอน ใช ้เวลานานหลายปี ดังนัOน จึงต ้องถือว่ามีความรู้ที7เป็นลักษณะเฉพาะ บุคคล
ภายนอกวิชาชีพจะไม่อาจทราบได ้ว่าการประกอบวิชาชีพที7ทําไปดีหรือไม่ หรือถูกต ้องมากน้อยเพียงใด
3. หมู่ชุมชนหรือหมู่คณะที7มีขนบธรรมเนียมประเพณีที7สํานึกในจรรยาบรรณ เกียรติยศ ศักดิUศรี และ
อาชีพของตน หมายความว่า ในหมู่ผู้ประกอบวิชาชีพเดียวกัน (peers) จะมีการกําหนดมาตรฐานความ
ประพฤติในการประกอบการงานของตนไว ้ เช่น ประมวลจริยธรรมข ้าราชการตุลาการ ข ้อบังคับสภา
ทนายความว่าด ้วยมรรยาททนายความ เป็นต ้น และมีองค์กรและกระบวนการเพื7อสอดส่องพิทักษ์รักษา
ขนมธรรมเนียม เกียรติยศ ศักดิUศรีของวิชาชีพ (สืบเนื7องจากข ้อ 2 เนื7องจากบุคคลภายนอกไม่อาจทราบ
ได ้ว่าการประพฤติตนของนักกฎหมายถูกต ้องหรือไม่อย่างไร จําเป็นต ้องมีองค์กรวิชาชีพทําหน้าที7ดัง
กล่าว (Guild) เช่น สภาทนายความ เนติบัณฑิตยสภา เป็นต ้น)
(อ ้างอิงจาก ปรีดี เกษมทรัพย์ หลักวิชาชีพนักกฎหมายในภาคพืOนยุโรป ,รวมคําบรรยายหลักวิชาชีพนัก
กฎหมาย พิมพ์ครัOงที7 9 แสวง บุญเฉลิมวิภาส บรรณาธิการ 2552)
นักกฎหมายที7ดีควรปฏิบัติตัว ดังนีO
1. ยึดมั7นและปฏิบัติแต่สิ7งที7ถูกต ้องชอบธรรมเท่านัOน ต ้องยึดมั7นในหลักการ กล ้าแสดงความคิดเห็น และ
ใช ้หลักที7ว่า “Principle Before Expediency”
2. ต ้องรักษาเกียรติภูมิแห่งวิชาชีพกฎหมาย (Professional Solidarity)
3. ต ้องมีความละเอียด ประณีต สุขุม
4. มีความพอเหมาะพอดี
5. มีสามัญสํานึก
(อ ้างอิงจาก ธานินทร์ กรัยวิเชียร จริยธรรมของนักกฎหมาย บรรยายในการปัจฉิมนิเทศของเนติบัณฑิต
สมัยที7 50 ของสํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา 27 มิถุนายน 2541 รวมคําบรรยาย
หลักวิชาชีพนักกฎหมาย พิมพ์ครัOงที7 9 แสวง บุญเฉลิมวิภาส บรรณาธิการ 2552)
นอกจากนัOนแล ้วนักกฎหมายควรต ้องดํารงตนให ้ปราศจากอคติ 4 เพื7อให ้ปราศจากความลําเอียง คือ
ฉันทาคติ(ลําเอียงเพราะรัก) โทสาคติ(ลําเอียงเพราะชัง) ภยาคติ(ลําเอียงเพราะกลัว) และโมหาคติ
(ลําเอียงเพราะ รู้เท่าไม่ถึงการณ์)
September 20 at 2:31am · Unlike · 1
Pann Chandla-or รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ก็มองถึงปัญหาการแทรกแซงการทําหน้าที7ของนัก
กฎหมายเช่นกัน ดังนัOนจึงมีการวางหลักประกันความเป็นอิสระของนักกฎหมายไว ้อยู่บ ้าง เช่น
1. มาตรา 78 (6) หน่วยงานทางกฎหมายที7มีหน้าที7ให ้ความเห็นเกี7ยวกับการดําเนินงานของรัฐตาม
กฎหมายและตรวจสอบการตรากฎหมายของรัฐ ดําเนินการอย่างเป็นอิสระ
2. มาตรา 197 เป็นหลักประกันความเป็นอิสระของผู้พิพากษาให ้มีอิสระในการพิพากษาอรรถคดี
ปราศจากการแทรกแซง ห ้ามย ้ายผู้พิพากษาโดยไม่ได ้รับความยินยอม เป็นต ้น
สรุป นักกฎหมายอาจมีบทบาทในการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อมดังนีO
1. นักกฎหมายต ้องมีจิตสํานึกโดยต ้องเข ้าใจถึงการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อมเสียก่อน
2. นักกฎหมายต ้องใช ้วิชาชีพของตนในการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อม ไม่ว่าจะเป็นการร่างกฎหมายต่างๆ เพื7อ
แก ้ปัญหาสิ7งแวดล ้อม ใช ้กฎหมายและใช ้ดุลพินิจตามกฎหมายที7มีขึOนเพื7อคุ้มครองสิ7งแวดล ้อมโดยชอบ
และให ้บรรลุวัตถุประสงค์ของกฎหมาย พิพากษาคดีต่างๆ โดยใช ้ความรู้และความยุติธรรม เป็นอิสระ มี
คุณภาพ รวดเร็ว (Access to Justice) และต ้องใช ้ความรู้ทางกฎหมายช่วยเหลือประชาชน (Access
to Information) และคุ้มครองประชาชนให ้ได ้รับความเป็นธรรมจากกระบวนการทางกฎหมายอย่าง
·Photos 1
·Friends 86 Mutual
Ormsin Salinwan
Kruathes Paeng Jitsong ฉัน รักในหลวง
Tapanot
Maipanich WormfOrest Gym
Mameow
Mitrabhorn
Heng Puthong Nattwajee Jaksan
Likes
ThaiPBS
Share Friendship MoreYou and Auii Thestar
Change Cover
Home ChacritSearch for people, places and things
33
24/09/13 8:51 AM(3) You and Auii Thestar
Page 2 of 14https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar
เท่าเทียม (Public Participation)
3. นักกฎหมายสิ7งแวดล ้อมที7ดีควรต ้องเป็นผู้ชีOนําสังคมให ้ตระหนักถึงความสําคัญของสิ7งแวดล ้อม
ทําให ้สังคมของเราเป็นสังคมที7ช่วยกันอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อม เปรียบคํากล่าวที7ว่านักกฎหมายเป็น “วิศวกร
สังคม”
นายปัญญ์ จันทร์ลออ 5601034514
September 20 at 2:33am · Unlike · 1
Natsuda Rattamanee หนึ7งในอาชีพนักกฎหมายที7อยู่ในฐานะผู้ใช ้กฎหมายในฝ่ ายบริหารคือ
อัยการ
อัยการคือทนายของรัฐ ซึ7งมีหน้าที7เกี7ยวกับกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
อํานาจหน้าที7และบทบาทของพนักงานอัยการในการคุ้มครองสิทธิและให ้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย
แก่ประชาชน
1. การคุ้มครองสิทธิ ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ ซึ7งได ้บัญญัติให ้เป็นอํานาจหน้าที7 ของ
พนักงานอัยการ มีดังนีO
(14) ร ้องขอให ้ศาล มีคําสั7งถอดถอนกรรมการมูลนิธิบางคน หรือคณะกรรมการของมูลนิธิ ในกรณีที7
ดําเนินกิจการของมูลนิธิผิดพลาดเสื7อมเสียต่อมูลนิธิ หรือดําเนินกิจการฝ่ าฝืนกฎหมาย หรือข ้อบังคับ
ของมูลนิธิ หรือกลายเป็นผู้มีฐานะ หรือความประพฤติ ไม่เหมาะสมในการดําเนินการ ตามวัตถุประสงค์
ของมูลนิธ ิ (ป.พ.พ. มาตรา 129)
(15) ร ้องขอให ้ศาล มีคําสั7งเลิกมูลนิธิ เพราะวัตถุประสงค์ ของมูลนิธิขัดต่อกฎหมาย หรือมูลนิธิกระทํา
การขัดต่อกฎหมาย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือ อาจเป็นภยันตราย ต่อความสงบสุขของ
ประชาชน หรือความมั7นคงของรัฐ หรือมูลนิธิ ไม่สามารถดําเนินกิจการ ต่อไปไม่ว่าเพราะเหตุใดๆ หรือ
หยุดดําเนินกิจการ ตัOงแต่ 2 ปีขึOนไป (ป.พ.พ. มาตรา 131)
และยังมี ป.พ.พ.มาตรา 133, มาตรา 1251,มาตรา 134 ที7เกี7ยวกับอํานาจอัยการเรื7อวมูลนิธิอีกจะเห็น
ได ้ว่าอัยการจึงมีส่วนช่วยในการคัดกรองมูลนิธิสิ7งแวดล ้อมต่างๆที7บางครัOงก่อตัOงขึOนมาผิดวัตถุประสงค์
ของการเป็นมูลนิธิ
2. การช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
นอกเหนือจากการคุ้มครองสิทธิ ที7เป็นอํานาจหน้าที7ของพนักงานอัยการ ตามที7ประมวลกฎหมาย แพ่ง
และพาณิชย์ บัญญัติไว ้แล ้ว ตามพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และกฎ
กระทรวง แบ่งส่วนราชการสํานักงานอัยการสูงสุด (ฉบับที7 2) พ.ศ. 2549 ลงวันที7 29 กันยายน 2549
ข ้อ 15 (24) ยังได ้กําหนดให ้ สํานักงานอัยการสูงสุด มีอํานาจหน้าที7รับผิดชอบการ ดําเนินการเกี7ยวกับ
การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ และผลประโยชน์ ของประชาชน และการให ้
ความช่วยเหลือ ทางกฎหมายแก่ประชาชน อัยการจึงมีงานด ้านการให ้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่
ประชาชน ในกรณีอื7นๆ อีกด ้วย ซึ7งทางรัฐบาลได ้มอบหมาย ให ้สํานักงานอัยการสูงสุดเข ้าไปมีส่วนร่วม
ในการดําเนินการช่วยเหลือ ประชาชนตามนโยบาย ของรัฐบาลต่างๆ โดย สํานักงานอัยการสูงสุด จะรับ
นโยบายของรัฐบาลมา และมีคําสั7งของ สํานักงานอัยการสูงสุด ให ้พนักงานอัยการ ถือเป็นแนวทางใน
การปฏิบัติ ในการให ้ความช่วยเหลือ ประชาชนต่อไป ตัวอย่างเช่น การให ้ความช่วยเหลือ เกษตรกรและ
ผู้ยากจน การสนับสนุนการดําเนินงาน กองทุนหมู่บ ้าน เป็นต ้น อัยการก็สามารถใช ้อํานาจส่วนนีOให ้การ
ช่วยเหลือเรื7องการอนุรักษ์และรักษาสิ7งแวดล ้อมของไทยได ้
September 20 at 10:57am via mobile · Unlike · 1
Natsuda Rattamanee 3.การเผยแพร่ความรู้ ทางด ้านสิทธิมนุษยชน และความรู้ทางกฎหมาย
แก่ประชาชน
ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ
สํานักงานอัยการสูงสุด (ฉบับที7 2) พ.ศ. 2549 ลงวันที7 29 กันยายน 2549 ข ้อ 15 (24) กําหนดให ้
สํานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน มีอํานาจหน้าที7 ในการเผยแพร่ความรู้
ทางด ้านสิทธิมนุษยชน และความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน เนื7องจากในปัจจุบัน มีประชาชนจํานวน
ไม่น้อย ที7ยังไม่ทราบถึงสิทธิและหน้าที7ของตนที7มีอยู่ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงมักจะถูกละเมิด
สิทธิ ถูกเอารัดเอาเปรียบ จากผู้ที7มีความรู้ทางกฎหมายดีกว่า หรือมีสถานะทางเศรษฐกิจที7เข ้มแข็งกว่า
และยังมีประชาชนอีกจํานวนไม่น้อย ที7ได ้กระทําผิดกฎหมาย โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ดังนัOนการให ้ความรู้
พืOนฐานทางกฎหมายแก่ประชาชน เป็นมาตรการสําคัญที7จะช่วยให ้ประชาชน ได ้รับทราบถึงสิทธิและ
หน้าที7ของตน และใช ้สิทธิต่างๆ อย่างถูกต ้องตามกฎหมาย ซึ7งรวมถึงการให ้ความรู้ในเรื7องสิทธิชุมชน
สิทธตามรัฐธรรมนูญ กฎหมายเกี7ยวกับป่ าไม ้และสัตว์ป่ าแก่ประชาชนด ้วย ก็จะเป็นการช่วยเสริมให ้การ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเป็นไปอย่างกว ้างขวางและครอบคลุม
4.อํานาจในการฟ้องคดีอาญา ตามมาตรา 28 ป.วิ.อ. บุคคลเหล่านีOมีอํานาจฟ้องคดีอาญาต่อศาล(1)
พนักงานอัยการ พนักงานอุยการอยู่ในฐานะที7จะฟ้องดําเนินคดีอาญาแทนผู้เสียหายได ้ในกรณีความผิด
อาญา ซึ7งหากเป็นเรื7องที7เกี7ยวกับสิ7งแวดล ้อมแล ้วอัยการก็จะมีส่วนช่วยให ้ผู้กระทําผิดต ้องได ้รับโทษที7
ควรเกิด
5.การคุ้มครองสิทธิ ประชาชนระหว่างประเทศ
สํานักงานอัยการสูงสุด ได ้มีคําสั7งที7 251/2548 ลงวันที7 2 มิถุนายน 2548 ให ้จัดตัOง ศูนย์อัยการ
คุ้มครองสิทธิ ประชาชนระหว่างประเทศ (ศอสป.) ขึOนให ้มีอํานาจหน้าที7รับผิดชอบ งานคุ้มครองสิทธิ
เสรีภาพ และการให ้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย รวมทัOง การเผยแพร่ ความรู้ด ้านกฎหมายแก่คนไทย
ในต่างประเทศ และชาวต่างประเทศในประเทศไทย และรับผิดชอบงานด ้านการพัฒนาส่งเสริม และ
คุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ ตามพันธกรณีที7ประเทศไทย มีอยู่ตามกฎหมาย ระหว่างประเทศ
ต่อมาได ้มีกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สํานักงานอัยการสูงสุด (ฉบับที7 2) พ.ศ.2549 ข ้อ 15 (24)
(ง) ลงวันที7 29 กันยายน 2549 จัดตัOงสํานักงานอัยการพิเศษ ฝ่ ายคุ้มครองสิทธิ ประชาชนระหว่าง
ประเทศ (สฝคป.) ขึOนในสังกัดสํานักงานคุ้มครองสิทธิ และช่วยเหลือทางกฎหมาย แก่ประชาชน และให ้
โอนงานทัOงปวงที7อยู่ในความรับผิดชอบของ ศอสป. ไปยัง สฝคป. ตามคําสั7ง สํานักงานอัยการสูงสุด ที7
521/2549 ดังนัOนส่วนนีOก็เป็นส่วนที7จะต ้องเผยแพร่ความรู้ที7ประเทศไทยได ้ไปทําพันธกรณีใดมาบ ้าง
กับนานาชาติอละประชาชนจะมีสิทธิใดบ ้างตามกฎหมายระหว่างประเทศหรือพันธสัญญาต่างๆ
September 20 at 10:57am via mobile · Unlike · 1
Natsuda Rattamanee http://www.humanrights.ago.go.th/index.php...
อํานาจหน้าที*และบทบาทของพนักงานอัยการในการคุ้มครองสิทธิและให้ความช่วยเหลือ
ทางกฎหม
www.humanrights.ago.go.th
Home เกี7ยวกับสํานักงาน เกี7ยวกับ สคช. อํานาจหน้าที7และบทบาท
September 20 at 10:58am via mobile · Unlike · 1 · Remove Preview
Auii Thestar Samawit Kittikasamsil
September 20 at 10:59am · Like · 1
Auii Thestar สภาทนายความ กับบทบาทในการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อม
ตามที7สภาทนายความได ้จดทะเบียนเป็นองก์กรเอกชน ด ้านสิ7งแวดล ้อม เมื7อวันที7 ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕
สภาทนายความถือเป็นพันธกิจ ที7มีหน้าที7ดูแลรักษามิให ้มีการทาลายสภาพสิ7งแวดล ้อมให ้เปลี7ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว การเปลี7ยนแปลงที7เกิดขึOนต่อสิ7งแวดล ้อมย่อมมีผลกระทบต่อมนุษย์ สิ7งแวดล ้อมโดยทั7วไป
ย่อมจะมีการเปลี7ยนแปลงตามธรรมชาติอยู่ตลอดเวลา การเปลี7ยนแปลงดังกล่าวจะกระทบกระเทือนต่อ
การดารงชีพของสิ7งมีชีวิตในระบบนิเวศไม่ทางตรงก็ทางอ ้อม แต่สภาวะแวดล ้อมในปัจจุบันไม่เพียงแต่
เปลี7ยนแปลงไปตามธรรมชาติเท่านัOน มนุษย์ยังเป็นตัวการสาคัญที7ทาให ้สภาวะแวดล ้อมเปลี7ยนแปลง
เพิ7มขึOนอีกทางหนึ7ง ซึ7งเป็นการเปลี7ยนแปลงที7รวดเร็วมาก ถ ้าไม่มีการวางแผนที7รอบคอบจะก่อ ให ้เกิด
ปัญหาการเปลี7ยนแปลงสภาวะแวดล ้อมตามมา จนอาจจะปรับคืนสู่สภาพปกติได ้ยากหรือทาให ้เสีย
สภาพเดิมไปกลายเป็นสภาวะแวดล ้อมที7ไม่เหมาะสมต่อการดารงชีพ และถึงขัOนที7อาจเป็นอันตรายต่อ
สิ7งมีชีวิตได ้ ทุกๆ ปี มีประชาชนเป็นจานวนมากที7ประสบปัญหาจากการที7สิ7งแวดล ้อมถูกคุกคาม ไม่ว่า
จากภาคเอกชน หรือภาครัฐ โครงการใหญ่ๆ ที7เกิดขึOนจากภาครัฐโดยไม่คานึงถึงผลกระทบที7ตามมา
ล ้วนแต่ก่อให ้เกิดปัญหาขึOนกับชุมชนท ้องถิ7นดั7งเดิมที7อยู่ใกล ้เคียง เช่น โครงการโรงงานไฟฟ้าถ่านหิน
การทาเหมืองแร่ ก็มีการก่อให ้เกิดมลพิษและมีการละเมิดสิทธิสาธารณะ ทาให ้สาธารณะประโยชน์อัน
เป็นผลประโยชน์ร่วมกันของประชาชนถูกละเมิดและถูกทาลายจนไม่สามารถเยียวยาแก ้ไขได ้
24/09/13 8:51 AM(3) You and Auii Thestar
Page 3 of 14https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar
ปัญหาในปัจจุบัน
ปัจจุบันทนายความผู้มีความชานาญในคดีสิ7งแวดล ้อม ยังไม่เพียงพอต่อการให ้ความรู้ทางกฎหมายสิ7ง
แวดล ้อม และปกป้องประชาชนผู้สุจริตให ้พ ้นจากการละเมิดสิทธิทางสิ7งแวดล ้อม และ
ทรัพยากรธรรมชาติ เพื7อเป็นการเผย แพร่ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชนและให ้เป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ของสภาทนายความตามพระราช บัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ คือ มาตรา ๗
สืบเนื7องจากสภาทนายความได ้รับการขึOนทะเบียนเป็นองค์กรเอกชนด ้านสิ7งแวดล ้อม ภาระที7สาคัญของ
สานักงานคณะกรรมการสิ7งแวดล ้อม สภาทนายความ ก็คือ การผลิตทนายความที7มีความเชี7ยวชาญใน
การดาเนินคดีสิ7งแวดล ้อม นอกจากเป็นการส่งเสริมความรู้ทางด ้านกฎหมายสิ7งแวดล ้อมแล ้ว ยังเป็นการ
พัฒนาบุคลากรขององค์กรให ้เป็นทนายความและบุคคลากรทางด ้านสิ7งแวดล ้อมที7มีประสิทธิภาพ ทัOงใน
ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคให ้เพียงพอและครอบคลุมทั7วทัOงประเทศ
(สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์)
September 20 at 11:00am · Unlike · 1
Auii Thestar นายพุฒินันต์ สุขสม 5601034530
September 20 at 11:00am · Unlike · 1
Natsuda Rattamanee อีกอาชีพของนักกฎหมายที7อยู่ในวงการบริหารและมีส่วนช่วยเรื7องสิ7ง
แวดล ้อมคือ นักกฎหมายภาครัฐ (นิติกร)
กล่าวคือ นิติกรLegal Officerเป็น ผู้ที7ทํางานทางกฎหมายของราชการนอกวงการศาลโดยเฉพาะ
ได ้แก่ นิติกร สําหรับนิติกรในสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จะทําหน้าที7ตรวจสอบร่างกฎหมาย และ
ให ้ความเห็นทางกฎหมายแก่หน่วยงานราชการที7ร ้องขอ ซึ7งถือเป็นผู้ดําเนินกระบวนการยุติธรรมทาง
ปกครองรูปแบบหนึ7ง ในลักษณะการตรวจสอบจากองค์กรของรัฐที7นอกเหนือจากศาลปกครอง เป็น
บุคคลผู้ดูแลงานด ้านการศึกษา วางแผน วิเคราะห์ เขียนโครงการ วางระเบียบ ทําทุกอย่างตามหน้าที7
และงานที7เกี7ยวข ้องกับงานกฎหมายขององค์กร ทัOงในแง่การเสนอความเห็น และวิเคราะห์ปรับปรุง
ระเบียบของหน่วยงานให ้เหมาะสมกับสถานการณ์บ ้านเมือง การทํางานเอกสารที7เกี7ยวข ้องกับกฎหมาย
ระหว่างหน่วยงาน ระเบียบความเป็นธรรมของพนักงาน อาจต ้องมีการประสานงานระหว่างหน่วยงาน
หรือเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายให ้คนภายนอกหน่วยงานเข ้าใจด ้วย จะว่าไปแล ้วก็เหมือนตําแหน่งอื7นๆ
หรือแผนกในบริษัททั7วไป อย่างพนักงานบัญชีก็ดูเรื7องรายรับรายจ่าย HR ก็ดูเรื7องรับสมัครงาน นิติกรก็
ดูเรื7องงานกฎหมายของบริษัทนั7นแหละค่ะ
ในหน่วยงานทางภาครัฐ ตําแหน่งงานนิติกรที7มีคนไปสมัครกันมาก ก็ตามหน่วยงานที7เกี7ยวกับ
กระบวนการยุติธรรมสายตรงทัOงหลาย เช่น DSI ป.ป.ช. กฤษฎีกา ศาล แต่จริงๆ แล ้ว กระทรวง
ศึกษาธิการ สํานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย (ในกระทรวงวัฒนธรรม) หรือมหาวิทยาลัยต่างๆ ก็มีนิติกร
ไม่ว่าหน่วยงานไหนก็ต ้องมีงานที7เกี7ยวข ้องกับทางกฎหมายทัOงนัOน
นิติกร เป็นหนึ7งในวิชาชีพทางกฎหมาย เป็นนักกฎหมายที7ทําหน้าที7งานวิเคราะห์ จัดการงานด ้าน
กฎหมายของหน่วยงาน ดังนัOน นอกจากความรู้ด ้านกฎหมายและ ยังต ้องมีความชอบด ้านการจัดการงาน
เอกสารพอสมควร ร่างเอกสาร และจัดทําเอกสารของหน่วยงาน เข ้าไปดูแลงานทางกฎหมายของทุก
ส่วน
จะเห็นว่านิติกรสามารถเป็นส่วนสําคัญในการจัดการ ให ้ความรู้ รวมถึงตัOงระบบหรือเรื7องขึOนๆไปให ้กับ
หน่วยงานของตนที7เป็นระบบราชการสามารถเข ้าใจเรื7องกฎหมายและเจตนารมณ์อย่างตรงจุด ถ ้านิติกร
มีความรู้ความสามารถดีก็จะเป็นส่วนสําคัญให ้การอนุรักษ์จัดการทรัพยากรฯตามนโยบายที7รัฐบาลออก
มา เดินไปได ้อย่างมีประสิทธิภาพ
http://www.dek-d.com/admission/26654/
ณัฐสุดา. รัตตมณี 5601034522
รู้จักจริงหรือไม่ "นิติกร" คืออะไร | Dek-D.com
www.dek-d.com
อาชีพนักกฎหมายที7ใช ้ฝีมือในการทํางาน ไม่ได ้ไปแกะสลักอะไร แต่ใช ้ฝีมือใน
การจัดการ
September 20 at 11:01am via mobile · Unlike · 1 · Remove Preview
Apitchaya Timpitak Satang Sandee Kantima Mutchakit Somsak Wongranght
September 20 at 11:05am via mobile · Like
Nui Oyoyo บทบาทของนักกฎหมายในการส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ7ง
แวดล ้อม ไม่ได ้มีเพียงในเชิงนิติบัญญัติ ตุลาการ และผู้บังคับใช ้กฎหมายเท่านัOน ยังสามารถเข ้าไปมี
บทบาทการมีส่วนร่วมในด ้านอื7นได ้ด ้วย ขึOนอยู่กับบริบทหรือหน้าที7ทีรับผิดชอบอยู่ อย่างเช่น การเข ้าไป
มีบทบาทในการจัดทํานโยบายไม่ว่าจะเป็นด ้านเศรษฐกิจ สังคม ความมั7นคงหรือแม ้แต่นโยบายในทาง
ระหว่างประเทศ ที7ต ้องทําโยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน นักกฎหมายเองก็สามารถเข ้าไปมีบทบาท
ได ้ในทุกขัOนตอนการจัดทํา ขอยกตัวอย่างนโยบายความมั7นคงแห่งชาติ
ปัจจุบันปัญหาสิ7งแวดล ้อมถือเป็นหนึ7งภัยคุกคามความมั7นคงในรูปแบบใหม่ ที7ต ้องมีมาตรการดูแล
ป้องกัน และแก ้ไขปัญหาที7กระทบต่อประเทศชาติทัOงในปัจจุบันและอนาคต แม ้ว่าเรื7องสิ7งแวดล ้อมจะมี
กฎหมายหลายฉบับที7บัญญัติไว ้โดยเฉพาะแล ้วก็ตาม แต่ก็ยังคงต ้องมีการส่งเสริมการอนุรักษ์ไว ้ใน
นโยบายความมั7นคงแห่งชาติด ้วย
ซึ7งในนโยบายความมั7นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ได ้กําหนดนโยบาย สร ้างดุลยภาพของการ
บริหารจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติสิ7งแวดล ้อมและคุ้มครองสิทธิเหนือทรัพยากรชีวภาพ เช่น
1. สร ้างจิตสํานึกของความรัก ความหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ7งแวดล ้อมให ้เกิดขึOนในทุกภาค
ส่วน
2. สนับสนุนการใช ้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด
3. สร ้างระบบความยุติธรรมเฉพาะในการพิจารณาประเด็นปัญหาความขัดแย ้งที7เกิดจากการใช ้
ทรัพยากรธรรมชาติและการทําลายสิ7งแวดล ้อม
4. ส่งเสริมให ้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบาย แผน หรือโครงการขนาดใหญ่ที7มีผลกระทบต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ7งแวดล ้อม
5. ส่งเสริมให ้ชุมชนมีจิตสํานึกและรู้จักปกป้องผลประโยชน์ที7เกิดจากทรัพยากรชีวภาพ
ฯลฯ
(อ ้างอิง : http://www.nsc.go.th/index.php?option=com_frontpage&Itemid=1)
น.ส.โสภาพร คงเชืOอนาค 5601034696
September 20 at 1:48pm · Unlike · 1
Paeng Jitsong สถาบันศาลมีบทบาทในการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อมโดยปรากฏให ้เห็นจากรูปแบบ
การจัดตัOงศาลสิ7งแวดล ้อมในประเทศต่างๆ ซึ7งมีหลากหลาย แตกต่างกันไปตามความเหมาะสม
ระบอบกฎหมาย และระบอบการปกครองประเทศ
ในกลุ่มประเทศที7มีการจัดตัOงศาลสิ7งแวดล ้อม อาจแบ่งได ้เป็น 4 รูปแบบ คือ
1 . "ศาลเฉพาะทาง" (Specialized Environmental Court)
คือศาลสูงสุดด ้านคดีสิ7งแวดล ้อม ตัวอย่างเช่น ศาลสิ7งแวดล ้อมของรัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศ
ออสเตรเลีย
ศาลสิ7งแวดล ้อมของรัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย
- ก่อตัOงขึOนเมื7อปี 1980 เป็นศาลที7ตัOงขึOนเพื7อเน้นความเชี7ยวชาญพิเศษทัOงในด ้านการขยายขอบเขต
อํานาจศาลให ้ครอบคลุมข ้อพิพาททุกประเภทที7เกี7ยวกับสิ7งแวดล ้อม ผังเมือง และการใช ้ที7ดิน เป็นต ้น
(a combined jurisdiction within a single court) ที7สําคัญคือให ้ความสําคัญกับการสรรหา
บุคลากร องค์คณะผู้พิพากษาที7มีความเหมาะสม (appropriate personnel) มีความรู้และมีความ
เชี7ยวชาญ (knowledge and expertise) สาขาความรู้ความเชี7ยวชาญ เช่น ด ้านวิทยาศาสตร์สิ7ง
แวดล ้อม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม ผังเมือง รวมไปถึงด ้านสิทธิในที7ดินของชนเผ่าอะบอริจิน
- การขับเคลื7อนกระบวนการยุติธรรมภายในศาลแห่งนีOอยู่ภายใต ้สโลแกนที7ว่า “Just, quick and
24/09/13 8:51 AM(3) You and Auii Thestar
Page 4 of 14https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar
cheap resolution of proceedings” “Just” คือ การดําเนินคดีต ้องได ้ผลคือความยุติธรรม มี
คุณภาพ, “Quick” คือ ต ้องเป็นไปอย่างรวดเร็วเพื7อขจัดปัญหาความล่าช ้าในกระบวนการยุติธรรม ซึ7ง
ปรากฏให ้เห็นชัดเจนจากการเพิ7มขึOนของการเลื7อนนัด และการนัดพิจารณา โดยสืบเนื7องจากหลักที7ว่า
ความยุติธรรมที7ล่าช ้า คือความอยุติธรรม (“the delay of justice is a denial of justice”, Lord
Denning) ความล่าช ้าในการดําเนินคดียังเชื7อมโยงกับค่าใช ้จ่ายในการดําเนินคดีอีกด ้วย คือ ยิ7งใช ้
เวลาในการดําเนินการนาน ค่าใช ้จ่ายก็ยิ7งสูง หรือ “ยิ7งนานก็ยิ7งแพง” (“the longer…proceedings,
the greater the cost.”) ดังนัOนศาลแห่งนีOจึงมีเป้าหมายในการดําเนินงานเพื7อให ้เกิดความยุติธรรม
การใช ้เวลาและค่าใช ้จ่ายต ้องให ้เหมาะสม "Cheap" (ราคาถูก) ได ้สัดส่วนกับความยากง่ายของแต่ละ
คดี
นอกจากนีOศาลแห่งนีOยังใช ้แนวทาง Multi-Door Courthouse คือการอํานวยการให ้มีแนวทางระงับ
ข ้อพิพาทในหลากหลายรูปแบบอยู่ภายในศาลเดียว โดยศาลจะดูแล สอบถาม คัดกรองและจัดวิธีการ
ระงับข ้อพิพาทให ้เหมาะสมแก่ลักษณะของแต่ละคดี โดยมีทัOงกระบวนการประนีประนอมยอมความ การ
ไกล่เกลี7ย และการนําคดีขึOนสู่ศาล เป็นต ้น
(Brian J Preston, “Operating an environment court: the experience of the Land and
Environment Court of New South Wales”, Inaugural Distinguished Lecture on
Environmental Law, The Environmental Commission of Trinidad and Tobago.)
September 20 at 10:31pm · Edited · Unlike · 1
Paeng Jitsong 2." Tribunal" เป็นรูปแบบหนึ7งของศาลเฉพาะทาง ส่วนใหญ่ตัOงขึOนในประเทศที7
ใช ้ระบอบกฎหมายแบบคอมมอนลอว์ โดยมักจะเป็นหน่วยงานที7อยู่ในฝ่ ายบริหาร ตัวอย่างเช่น
หน่วยงานคุ้มครองสิ7งแวดล ้อมของสหรัฐอเมริกา (US Environmental Protection Agency: US
EPA http://www.epa.gov/ ) หรือ Environmental Tribunal ของประเทศอังกฤษ เป็นต ้น
3. "แผนกคดีสิ7งแวดล ้อม" (Green Bench) เป็นการจัดตัOงระบบศาลสิ7งแวดล ้อมที7ยังสังกัดอยู่ในระบบ
ศาลเดิม ใช ้ในประเทศเช่น อินเดีย สวีเดน กรีซ และประเทศไทย เป็นต ้น สําหรับประเทศไทย เมื7อปี
2548 ได ้มีการจัดตัOงแผนกคดีสิ7งแวดล ้อมในศาลฎีกา เป็นลักษณะศาลชํานัญพิเศษ ประกอบด ้วยคณะ
ผู้พิพากษาผู้เชี7ยวชาญด ้านกฎหมายสิ7งแวดล ้อม 8 คน ทําหน้าที7พิจาณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญา
ที7เป็นคดีสิ7งแวดล ้อม และในปี 2549 ก็มีการจัดตัOงแผนกคดีสิ7งแวดล ้อมในศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์
ภาค 1-9 เป็นลําดับ ต่อมาในปี 2554 ได ้มีการจัดตัOงแผนกคดีสิ7งแวดล ้อมขึOนในศาลปกครองชัOนต ้น
และศาลปกครองสูงสุด ทําหน้าที7พิจารณาพิพากษาและดําเนินการทัOงปวงในคดีปกครองเกี7ยวกับสิ7ง
แวดล ้อม
4. "รูปแบบอื7นๆ" เช่น คณะกรรมการเพื7อพิจารณาค่าเสียหายทางสิ7งแวดล ้อม ในประเทศญี7ปุ่ น และ
ประเทศเกาหลีใต ้ เป็นต ้น
US Environmental Protection Agency
www.epa.gov
The EPA Connect blog will highlight regular posts from EPA's
leadership across the country and spanning all program areas
on a range of topics of importance to the agency.
September 20 at 3:21pm · Edited · Unlike · 1 · Remove Preview
Paeng Jitsong สําหรับกลุ่มประเทศที7"ไม่มี"การจัดตัOงศาลสิ7งแวดล ้อมนัOน ได ้อาศัยการใช ้และ
การปรับปรุงระบบความยุติธรรมแบบเดิม โดยเริ7มจากการสร ้างผู้พิพากษาผู้เชี7ยวชาญ (Green
Judge) เป็นการเน้นความรู้ความเชี7ยวชาญเฉพาะด ้านของตัวผู้พิพากษา โดยมีแนวความคิดที7ว่าแม ้ตัOง
ศาลเฉพาะทางแต่ตัวผู้พิพากษาไม่เข ้าใจ ไม่มีความรู้ความเชี7ยวชาญกฎหมายสิ7งแวดล ้อม ก็ไม่มี
ประโยชน์ รูปแบบนีOจึงเป็นรูปแบบที7เป็นการพัฒนาจากภายใน (Development from within) รูป
แบบนีOเป็นที7นิยมในกลุ่มประเทศแถบยุโรป (ประเทศเยอรมนี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ และฝรั7งเศส)
ตัวอย่างเช่น ประเทศฝรั7งเศสศาลมีการกําหนดมาตรการก่อนคําพิพากษาสําหรับกรณีฉุกเฉิน กรณีปกติ
และกรณีเฉพาะ และศาลยังสร ้างระบบความรับผิดแบบใหม่ เรียกว่า ค่าเสียหายทางสิ7งแวดล ้อม (Le
préjudice écologique) เพื7อมุ่งหมายชดเชยความเสียหายให ้สิ7งแวดล ้อมเป็นหลัก เป็นระบบความรับ
ผิดที7ต่างจากระบบความยุติธรรมแบบเดิมที7มุ่งชดเชยความเสียหายให ้แก่ผู้เสียหาย ศาลฝรั7งเศสได ้
พยายามนําหลักนิติธรรมทางสิ7งแวดล ้อมและหลักนิติวิธีทางสิ7งแวดล ้อมมาใช ้โดยเห็นเป็นประจักษ์ใน
คดีเรือ Erika อับปาง ศาลได ้พิพากษาชดใช ้ค่าเสียหายทางสิ7งแวดล ้อมให ้กับฝ่ ายปกครองท ้องถิ7นและ
องค์กรเอกชนทางสิ7งแวดล ้อม
นอกจากนีOยังมีนวัตกรรมทางกฎหมายใหม่ๆ โดยศาลมีบทบาทในการพยายามขจัดอุปสรรคต่างๆ เพื7อ
สนับสนุนให ้ประชาชนสามารถเข ้าถึงกระบวนการยุติธรรม (Access to justice) ตัวอย่างเช่น ศาลของ
รัฐอเมซอนนาส ประเทศบราซิล มีนโยบายเข ้าถึงประชาชนเพื7ออํานวยความยุติธรรมทางสิ7งแวดล ้อม
โดยจัดให ้มีศาลเคลื7อนที7 (Traveling Court) เป็นลักษณะรถบัสพร ้อมอุปกรณ์ครบครัน ดําเนินการ
ตัดสินคดี ให ้ความรู้ การศึกษาแก่ประชาชน เช่น ชุมชนกลางป่ าอะเมซอน ไปพร ้อมๆ กัน อีกตัวอย่าง
หนึ7งคือ ในรัฐควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย ที7มีพืOนที7กว ้างขวางก็จัดให ้มีผู้พิพากษาเดินทางเข ้าถึง
ประชาชน (Flying Judge) เพื7อช่วยอํานวยความยุติธรรมให ้แก่ประชาชน เป็นต ้น
กฤษณะ ช่างกล่อม, การจัดตัOงศาลสิ7งแวดล ้อมกับปัญหาระบบความยุติธรรมไทย (สํานักพิมพ์วิญfูชน,
2556).
http://infosurhoy.com/.../main/2013/02/27/feature-02
น.ส.ธมนวรรณ จิตสงค์ 5601034613
Brazil: Justice from North to South
infosurhoy.com
A new law requires all Brazilian states and the Federal District to
introduce itinerant courts by April to resolve conflicts in rural
areas.
September 20 at 3:42pm · Edited · Unlike · 1 · Remove Preview
วีระยุทธ หอมชื*น ตัวอย่างการมีบทบาทของสภาทนายความต่อการใช ้สิทธิทางศาลเพื7อคุ้มครองผู้
ได ้รับความเสียหายในคดีสารตะกั7วปนเปืOอนในลําห ้วยคลิตีO: สภาทนายความได ้รับมอบอํานาจจาก
กรรมการหมู่บ ้านคลิตีOจํานวน 13 ราย ได ้ยื7นฟ้องกรมควบคุมกรมควบคุมมลพิษต่อศาลปกครอง เมื7อวัน
ที7 23 กุมภาพันธ์ 2547 ในความผิดฐานละเว ้นปฎิบัติหน้าที7และปฎิบัติหน่าที7ล ้าช ้า โดยขอให็ศาลสั7ง
ให ้กรมควบคุมมลพิษเร่งดําเนินการฟืOนฟูลําห ้วยคลิตีO (คําฟ้องคดีหมายเลขดําที7 214/2547 ) ซึ7งต่อ
มาได ้เพิ7มประเด็นค่าเสียหาย เนื7องจากผู้ฟ้องคดีเห็นว่ากรมควบคุมมลพิษมีอํานาจหน้าที7เรียกค่าเสีย
หายอันเกิดจากการที7◌ืรัพยากรธรรมชาติถูกทําลาย หรือถูกทําให ้เสียหายในมาตรา 97 ของ พรบ. ส่ง
เสริมฯ แต่ไม่ดําเนินการ ซึ7งถือเป็นการละเมิดสิทธิการใช ้สอยประโยชน์และพึ7งพิงทรัพยากรธรรมชาติ
ตลอดจนความหลากหลายทางชีวภาพจากลําห ้วย (คําร ้องขอแก ้ไขคําพิพากษาเลขดําที7 214/2547)
ต่อมาศาลได ้มีคําพิพพากษาว่า "...กรมควบคุมมลพิษปฎิบัติหน้าที7ในการฟืOนฟูหรือระงับการปนเปืOอน
ของสารตะกั7วในลําห ้วยล่าช ้าเกินสมควร อีกทัOง กรมควบคุมมลพิษละเลยหน้าที7ในการเรียกค่าเสียหาย
จากผู้ประกอบการที7เป็นผู้ก่อให ้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติที7ระบุไว ้ในมาตรา 97 ศาล
ตัดสินให ้กรมควบคุมมลพิษชดใช ้ค่าเสียหานต่อชาวบ ้านรวมเป็นเงินทัOงสิOน 743,226 บาท..." (ปณิดา
พัฒนพงศ์, Thesis การดําเนินคดีสิ7งแวดล ้อมโดยองค์กรเอกชนม, 2554, น. 109) ดังกล่าวมาเป็น
ตัวอย่างของสภาทนายความที7ให ้ความช่วยเหลือการใช ้สิทธิทางศาลดําเนินคดีแทนผู้เสียหาย
September 20 at 5:24pm · Unlike · 1
วีระยุทธ หอมชื*น นาย วีระยุทธ หอมชื7น 5601034563
September 20 at 5:25pm · Like
Ormsin Salinwan Kruathes ความยุติธรรมที7ล่าช ้าก็คือการปฏิเสธความยุติธรรม (Justice
delayed is justice denied)
24/09/13 8:51 AM(3) You and Auii Thestar
Page 5 of 14https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar
ความยุติธรรมที7ล่าช ้าก็คือการปฏิเสธความยุติธรรม เป็นภาษิตกฎหมายที7ตกทอดมาตัOงแต่สมัยโรมันแล ้ว
มีหมายความว่า ถ ้ากฎหมายจัดให ้มีการเยียวยาความเสียหายแก่ผู้เสียหาย แต่การเยียวยานัOนไม่ทันกาล
ก็ไม่ต่างอะไรกับว่าไม่ได ้เยียวยา
กระบวนการยุติธรรมยังต ้องการ หลักประกันในมิติของเวลา เพราะเวลาที7ล่วงเลยไปเป็นปัจจัยสําคัญที7
ส่งผลกระทบต่อการค ้นหาความจริงและการวินิจฉัยที7ถูกต ้อง เพราะความล่าช ้าย่อมจะชักนําให ้เกิด
ความเข ้าใจคลาดเคลื7อน ตามมาเช่นพยานหลักฐานบางชิOนหายไป หรือเสื7อมสภาพ หรือถูกกลบเกลื7อน
บิดเบือน หรือคลายความชัดเจนไป กระบวนการพิจารณาจึงต ้องหาทางลดความเสี7ยงต่อความผิดพลาด
บกพร่องเหล่านีOโดยจะต ้องมีหลักประกันที7จะให ้มีการสืบพยานเสียตัOงแต่เหตุการณ์เพิ7งจะผ่านไปอย่าง
สดๆร ้อน ๆ แต่ในทางกลับกันการรีบร ้อนเกินไปก็อาจทําให ้ พยานหลักฐานไม่ครบถ ้วนได ้เช่นเดียวกัน
การด่วนตัดสินคดีโดยไม่ปล่อยให ้เวลาผ่านไปเพียงพอก็อาจจะทําให ้การรวบรวมพยานหลักฐาน และ
การให ้เหตุผลในการวินิจฉัยบกพร่องไป และกลายเป็นความเสี7ยงต่อความผิดพลาดได ้เช่นเดียวกัน
นอกจากความแน่นอนถูกต ้องของการแสงหาข ้อเท็จจริง เวลายังมีผลในแง่ความสมประโยชน์ของการ
ตัดสินคดี เพราะหากเวลาได ้ผ่านไปนานๆ คําตัดสินที7แม ้จะวินิจฉัยตามความจริงและชอบด ้วยกฎหมาย
อาจจะไร ้ประโยชน์ไปแล ้วก็ได ้
ด ้วยเหตุนีOความไม่เป็นธรรมอาจจะไม่ได ้เกิดจากข ้อเท็จจริงที7ไม่ถูกต ้อง หรือการปรับใช ้กฎหมายที7ผิด
พลาดเท่านัOน แต่ยังอาจจะเกิดจากการที7คําพิพากษามาถึงล่าช ้าเกินกว่าที7จะเยียวยาความเสียหายแล ้ว
ก็ได ้
โดยหลักการดังกล่าวนีOตัOงอยู่บนสิทธิในการเข ้าถึงการพิจารณาคดีอย่างรวดเร็วและสิทธิอื7นๆทํานอง
เดียวกันที7มีความมุ่งประสงค์เพื7อขับเคลื7อนให ้กระบวนการยุติธรรมมีความรวดเร็วขึOน (กิตติศักดิU ปรกติ,
วิกฤตและโอกาสในการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางแพ่งและพาณิชย์, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์)
September 20 at 11:35pm · Edited · Unlike · 1
Ormsin Salinwan Kruathes หลักการเข ้าถึงกระบวนการยุติธรรมของรัฐ
การเข ้าถึงกระบวนการยุติธรรมของรัฐ (Access to Justice) เป็นแนวคิดและการดําเนินการที7รัฐจะ
ต ้องเข ้าไปดําเนินการและกําหนดเป็นนโยบายหลักของการบริหารจัดการประเทศเพื7อยกระดับและสร ้าง
ความเท่าเทียมให ้แก่ประชาชนในการได ้รับโอกาสและเป็นการคุ้มครองสิทธิของประชาชน รากฐานของ
ของการเข ้าถึงความยุติธรรมของรัฐมีที7มาจากแนวคิดในเรื7องของ ความเท่าเทียมกันทางสังคม (Social
Justice) ซึ7งเป็นแนวคิดรากฐานประการหนึ7งของกรอบแนวคิดแบบประชาธิปไตย (Democratic
Scheme)
พัฒนาการการเข ้าถึงความยุติธรรม
1. ยุคแรก (1960)
- ในยุคแรกนีOแนวคิดการพัฒนาเพื7อต ้องการเข ้าถึงระบบศาลและนักกฎหมาย โดยเฉพาะมีประเด็นเรื7อง
ค่าใช ้จ่ายในคดี ความล่าช ้า และความซับซ ้อนในระบบกฎหมาย
- การให ้ความช่วยเหลือจากรัฐในด ้านสวัสดิการ การให ้ความช่วยเหลือคลินิกกฎหมายและระบบประกัน
ให ้คนยากจนได ้รับประโยชน์จากการบริการทางกฎหมาย เป็นสิ7งที7จําเป็นและจะช่วยทําลายอุปสรรคขัด
ขวางการเข ้าถึงความยุติธรรมได ้
2.ยุคที7สอง (1970)
- การเข ้าถึงความยุติธรรมมีผลกระทบต่อชนชัOนกลางและคนยากจน เนื7องจากประเด็นค่าใช ้จ่ายในคดี
- เริ7มมองว่าการช่วยเหลือทางกฎหมายยังไม่เพียงพอ จึงเริ7มมีการปฏิรูปโครงสร ้างสถาบัน ในการ
ดําเนินการของศาล การพิจารณาคดี ปรับกลไกและโครงสร ้างการฟ้องคดี การจัดตัOงศาลมโนสาเร่ การ
แก ้ไขหลักการไต่สวนให ้ศาลเข ้ามามีบทบาทในการไต่สวนให ้มากที7สุด รวมถึงการยกเว ้นค่าธรรมเนียม
ในบางกรณี
3. ยุคที7สาม (1980)
- เริ7มพัฒนาการแก ้ไขข ้อพิพาทแบบทางเลือก เช่นการนําเอาระบบไกล่เกลี7ย และระบบ
อนุญาโตตุลาการมาใช ้
- การแก ้ไขข ้อพิพาทแบบทางเลือกนํามาปรัชใช ้พร ้อมๆกับการพัฒนากลไกการเข ้าสู่ข ้อยุติทางแพ่ง
โดยไม่ผ่านศาล มีการจัดทําสัยญามาตรฐานเพื7อการคุ้มครองผู้บริโภค
4. ยุคที7สี7 (1990)
- ความคิดเกี7ยวกับความยุติธรรม สะท ้อนออกมาในรูปแบบของ การตัดสินของศาล.
- มีกลไกที7จะช่วยระวังข ้อพิพาทหรือความขัดแย ้ง โดยการมีกฎหมายในเชิงป้องกัน
- สนับสนุนให ้ประชาชนมีส่วนร่วมในการยกร่างกฎหมาย การจัดทํานโยบายสาธารณะควรให ้ผู้แทนของ
ประชาชนหรือองค์กรที7ไม่ใช่ของรัฐเข ้ามามีส่วนร่วมด ้วย
- เริ7มตระหนักว่า การมีกฎหมายจํานวนมากและฟุ่ มเฟือย อาจไม่ใช่หลักประกันการเข ้าถึงความยุติธรรม
ได ้
5. ยุคที7ห ้า (ปัจจุบัน)
- ยอมรับกว่าการแก ้ไขข ้อพิพาทแบบทางเลือกและการออกกฎหมายเชิงป้องกัน มากขึOน
- พัฒนาการสร ้างความเป็นธรรมในเชิงสารบัญญัติและวิธีสบัญญัติ เปิดโอกาสที7เท่าเทียมในการได ้รับ
สิทธิตามที7กฎหมายรับรอง การเข ้าถึงบริการทางสังคม การชดเชยเหยื7อหรือผู้เสียหาย โดยเฉพาะคน
ยากจนในการฟ้องร ้องคดี (โครงการจัดทําแผนการดําเนินงานเพื7อปรับปรุงแลพัฒนาการเข ้าถึง
กระบวนการยุติธรรมของรัฐ, สํานักงานกิจการยุติธรรม, กระทรวงยุติธรรม)
September 20 at 11:36pm · Edited · Unlike · 1
Ormsin Salinwan Kruathes สลิลวรรณ เครือเทศน์ 5601034779
September 20 at 11:23pm · Unlike · 1
Chutinan Rasmee ในปัจจุบันรัฐธรรมนูญเสรีประชาธิปไตยได ้มีการจัดระเบียบการใช ้อํานาจ
อธิปไตยอยู่บนพืOนฐานของหลักแบ่งแยกอํานาจ
หลักแบ่งแยกอํานาจ (Separation of powers) นีO มีผู้ที7นําหลักมาเผยแพร่ได ้ดีที7สุดคือ
Montesquieu ซึ7งอยู่ในหนังสือ “เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย” (L’Esprit des Lois) โดยอธิบายว่า ใน
ทุกรัฐจะมีอํานาจอยู่สามอย่างคืออํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการ ในกรณีนีOขอ
อธิบายเพียงเฉพาะความหมายของอํานาจบริหาร
อํานาจบริหารคืออะไร?
อํานาจบริหารถูกอธิบายในเชิงปฏิเสธว่า คืออํานาจที7ไม่ใช่อํานาจในทางนิติบัญญัติและไม่ใช่อํานาจใน
ทางตุลาการ ซึ7งหมายความว่านอกจากอํานาจในการกําหนดกฎหมายและอํานาจในการพิจารณาตัดสิน
คดีแล ้ว อํานาจที7รัฐใช ้กระทําการคืออํานาจบริหาร และอํานาจบริหารสามารถแบ่งการกระทําได ้เป็น 2
แบบดังนีO
1.) การกระทําทางรัฐบาล
เป็นการใช ้อํานาจตามกฎหมายรัฐธรรมนูญโดยตรง เรียกว่าเป็นการใช ้อํานาจทางการเมือง ใช ้อํานาจ
กําหนดนโยบายรัฐ เน้นในเรื7องอํานาจหน้าที7เพื7อการดํารงอยู่ของรัฐ ความปลอดภัย ความมั7นคงและ
ความเจริญก ้าวหน้าของรัฐ เช่น การกําหนดค่าแรงขัOนตํ7า นโยบายค่าครองชีพ เรื7องความสัมพันธ์
ทางการทูต เป็นต ้น
2.) การกระทําทางปกครอง
เป็นการใช ้อํานาจตามกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ เป็นการใช ้อํานาจหน้าที7ในการจัดทําบริการ
สาธารณะเพื7อสนองความต ้องการส่วนร่วม เป็นภารกิจของรัฐโดยทั7วไป ดังนัOนเพื7อให ้ภารกิจเหล่านัOน
บรรลุผลได ้จึงจําต ้องให ้เจ ้าหน้าที7ของรัฐมีสถานะพิเศษเหนือกว่าประชาชน แต่อย่างไรก็ตามเมื7อมี
อํานาจก็มักเกิดการใช ้อํานาจตามอําเภอใจ ดังนัOนเพื7อเป็นการประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน จึงต ้อง
นําหลัก”นิติรัฐ” มาใช ้เพื7อให ้เจ ้าหน้าที7ดําเนินการภายในกรอบของกฎหมาย ซึ7งก็คือ “หลักความชอบ
ด ้วยกฎหมายของการกระทําทางปกครอง” โดยทําให ้เกิดผลสําคัญ 2 ประการก็คือ
1. เจ ้าหน้าที7จะใช ้อํานาจได ้เท่าที7กฎหมายให ้อํานาจไว ้เท่านัOน (หลักไม่มีกฎหมายไม่มีอํานาจ)
2. กฎหมายเป็นกรอบการกระทําในทางปกครอง กล่าวคือเจ ้าหน้าที7จะออกคําสั7งหรือกําหนดมาตรการ
ให ้ขัดแย ้งกับบทบัญญัติแห่งกฎหมายไม่ได ้ (หลักกฎหมายสูงสุด)
และเมื7อนึกตามสุภาษิตโรมันที7ว่า “ที7ใดมีสังคม ที7นั7นมีกฎหมาย” (UBI SOCIETAS, IBI IUS) และเมื7อมี
กฎหมายแล ้วก็ย่อมต ้องมีการนํากฎหมายไปใช ้บังคับ และฝ่ ายที7นําไปใช ้ก็คือ ฝ่ ายบริหารนั7นเอง ซึ7ง
ฝ่ ายบริหารนัOนเปรียบเสมือนแขนขาของฝ่ ายนิติบัญญัติ เราจึงมิอาจปฏิเสธได ้ว่า ในทางบริหารนัOนก็ย่อม
ต ้องมีนักกฎหมายอยู่ เช่น อัยการ และนักกฎหมายภาครัฐ(นิติกร) และนักกฎหมายเหล่านีOหากมีความรู้
ความเข ้าใจเกี7ยวกับกฎหมายที7ดี ก็จะเป็นส่วนสําคัญในการช่วยพัฒนากฎหมายสิ7งแวดล ้อมในประเทศ
ได ้เช่นกัน
ที7มา : รศ.สมยศ เชืOอไทย,กฎหมายมหาชนเบืOองต ้น สํานักพิมพ์วิญfูชน , ดร.ชาญชัย แสวงศักดิU,คํา
อธิบายกฎหมายปกครอง สํานักพิมพ์วิญfูชน
(ชุตินันท์ รัศมี 5601034589)
24/09/13 8:51 AM(3) You and Auii Thestar
Page 6 of 14https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar
September 20 at 11:32pm · Unlike · 1
Somsak Wongranght http://thaipublica.org/2013/03/lesson-environmental-
cases/
เมื7อวันที7 23 กุมภาพันธ์ 2556 คณะกรรมการสิ7งแวดล ้อมสภาทนายความ จัดงานเสวนาแลกเปลี7ยน
ประสบการณ์ในการทําคดีสิ7งแวดล ้อมที7มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เพื7อให ้ฝ่ ายตุลาการ ผู้ที7
เกี7ยวข ้อง และผู้ที7สนใจ ร่วมแสดงความคิดเห็นต่อข ้อเสนอในการดําเนินคดีสิ7งแวดล ้อม ซึ7งทางสภา
ทนายความเคยจัดประชุมสรุปบทเรียนมาแล ้ว 2 ครัOง เมื7อวันที7 2 และ 22 กันยายน 2555 ในโครงการ
“สรุปบทเรียน ปัญหา และอุปสรรคในการดําเนินคดีสิ7งแวดล ้อมและทรัพยากรธรรมชาติ”ในโครงการ
สรุปบทเรียน ทนายความคดีสิ7งแวดล ้อมจะร่วมกันแลกเปลี7ยนปัญหาและอุปสรรคที7เกิดขึOน พร ้อมเสนอ
แนวทางแก ้ไขปัญหา โดยแบ่งคดีสิ7งแวดล ้อมเป็น 5 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มคดีเกี7ยวกับสารพิษและวัตถุ
อันตราย/คดีสิ7งแวดล ้อมจากการทํางาน กลุ่มคดีที7ดินป่ าไม ้ กลุ่มคดีตรวจสอบการดําเนินโครงการที7อาจ
ส่งผลกระทบต่อสิ7งแวดล ้อมและชุมชน กลุ่มคดีที7ฟ้องหน่วยงานรัฐปฏิบัติหน้าที7ตามกฎหมาย และกลุ่ม
คดีเกี7ยวเนื7องจากการใช ้สิทธิด ้านสิ7งแวดล ้อมของชุมชนกลุ่มคดีเกี7ยวกับสารพิษและวัตถุอันตราย/คดี
สิ7งแวดล ้อมจากการทํางาน มีปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินคดีหลายประเด็นกว่าคดีกลุ่มอื7นๆ ซึ7งมีคดี
กรณีตัวอย่างที7น่าสนใจ ดังนีOคดีโรงงานทอผ ้ากรุงเทพจากกรณีลูกจ ้างของบริษัทโรงงานทอผ ้ากรุงเทพ
จํากัด จํานวน 38 คน ฟ้องบริษัทและกรรมการ หลังจากเป็นโรคปอดอักเสบ (บิสซิโนซีส) เนื7องจากฝุ่ น
ฝ้ายจากการทํางาน ซึ7งฟ้องในปี 2538 เรียกค่าเสียหาย 57 ล ้านบาทสําหรับกรณีนีO ศาลวินิจฉัยว่า
โจทก์ทัOง 38 คน ทราบการทําละเมิดของจําเลยทัOงสองแล ้วตัOงแต่วันที7โจทก์ทัOงหมดไปตรวจร่างกายที7
คลินิกอาชีววิทยาศาสตร์และสิ7งแวดล ้อม โรงพยาบาลราชวิถี และพบว่าป่ วยเป็นโรคบิสซิโนซีส หรือ
ตัOงแต่วันที7กรรมการกองทุนเงินทดแทนวินิจฉัยว่าเป็นโรคดังกล่าวและจ่ายค่าทดแทนให ้ ซึ7งไม่ว่านับ
ระยะเวลาตอนไหนคดีนีOก็พ ้น 1 ปีแล ้ว แต่เนื7องจากโจทก์บรรยายฟ้องมาด ้วยว่า จําเลยทัOงสองทํา
ละเมิดต่อโจทก์มาตลอดจนถึงปัจจุบันคดีจึงยังไม่ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 40 เพราะศาลมองว่าเป็นเหตุ “ละเมิดต่อเนื7อง”ในปี 2546 ศาลแรงงานกลางชัOนต ้นพิพากษา
ให ้จําเลยชดใช ้ค่าเสียหายคนละ 1-2 แสนบาท รวม 37 คน เพราะเป็นแหล่งปล่อยมลพิษทําให ้ผู้อื7น
ได ้รับอันตราย ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ7งแวดล ้อมแห่งชาติ ทัOงนีO ศาลยกฟ้องโจทก์ 1
คน เพราะไม่เป็นโรคปอดอักเสบ แต่โจทก์ยื7นอุทธรณ์ในปี 2550 ศาลแรงงานกลางชัOนอุทธรณ์
พิพากษาคดีที7จําเลยอุทธรณ์ โดยยืนตามคําพิพากษาชัOนต ้น ให ้จ่ายค่าสินไหมทดแทนแกโจทก์ทัOง 37
คน เป็นจํานวนเงิน 10,000-110,000 บาทต่อคน ใน 15 วัน เนื7องจากนายจ ้างละเมิดกฎหมาย
คุ้มครองแรงงานและคนป่ วยนาน 11 ปี โดยผ ้าปิดจมูกไม่ได ้มาตรฐานและไม่ปรับปรุงให ้ดีขึOน รวมถึงไม่
ปรับปรุงสภาพแวดล ้อมในโรงงานให ้ดีขึOนด ้วยส่วนคดีฟ้องกรรมการนัOน ศาลพิพากษาให ้กรรมการไม่
ต ้องรับผิดเป็นการส่วนตัว เพราะเห็นว่ากรรมการกระทําภายในขอบเขตอํานาจของบริษัท
บทเรียนคดีสิ*งแวดล้อม จากสารพิษถึงการทํางาน “คดีคลิตีJ-เดอะบีช-
ซานติก้าผับ” ...
thaipublica.org
บทเรียนคดีสิ7งแวดล ้อม จากสารพิษถึงการทํางาน "คดีคลิตีO-เดอะบีช-ซานติก ้า
ผับ"
September 21 at 9:21am via mobile · Unlike · 1 · Remove Preview
Somsak Wongranght จากบทเรียนคดีสิ7งแวดล ้อมดังกล่าว
พอสรุปได ้ว่า 1ทนายความในบทบาท นักกฎหมายเหมือนยาดําที7มีบทบาทในทุกขัOนตอนของ
กระบวนยุติธรรมสิ7งแวล ้อม
2 ทนายที7ดีมีจริยธรรมเป็นส่วนสนับสนุนสําคัญในการเยียวยาความเสียหายและอนุรักษสิ7งแวดล ้อม
3คุณค่าของนักกฎหมายไม่จํากัดเฉพาะการเป็นตุลาการอัยการแต่อยู่ที7ทํางานที7จนรับผิดชอบให ้เต็ม
กําลังความรู้ความสามารถโดยวิธีการที7ชอบด ้วยกฎหมาย
สมศักดิU วงศ์ราษฎร์
September 21 at 9:52am via mobile · Unlike · 1
Somsak Wongranght สมศักดิU วงศ์ราษฎร์ 5601034720
September 21 at 9:55am via mobile · Unlike · 1
Apitchaya Timpitak ทรัพยากรธรรมชาติและสิ7งแวดล ้อม ไม่ใช่ของต ้องห ้าม มิให ้แตะต ้องหรือ
ใช ้ประโยชน์ แท ้จริงแล ้วทรัพยากรธรรมชาติและสิ7งแวดล ้อมนีO ประชาชนสามารถใช ้ประโยชน์ได ้ ขอ
แต่เพียงใช ้อย่างฉลาด และขณะเดียวกันก็ต ้องช่วยกันบํารุงรักษาและสร ้างขึOนใหม่ เราคงไม่อาจ
แสวงหาทรัพยากรจากโลกอื7นได ้ หากมีการใช ้ทรัพยากรหรือรักษาสิ7งแวดล ้อม โดยไม่ได ้บริหารจัดการ
ให ้ดีแล ้ว นับวันก็มีแต่ทรัพยากรธรรมชาติและสิ7งแวดล ้อมที7มีอยู่อย่างจํากัดก็จะสิOนสลายไป ชนรุ่นหลัง
จะอยู่กันได ้อย่างไร
เมื7อกล่าวถึงสิ7งแวดล ้อม ย่อมหมายถึงประโยชน์หรือสมบัติของสังคมส่วนรวม แต่เมื7อกล่าวถึงการใช ้
หรือหาประโยชน์จากสิ7งแวดล ้อม ก็มักจะคิดถึงผลประโยชน์ของปัจเจกชน การปกป้องรักษาสิ7ง
แวดล ้อม ไม่อาจสําเร็จได ้โดยลําพังของคน ๆ เดียวหรือรัฐ ๆ เดียว เนื7องจากสิ7งแวดล ้อมเป็นเรื7องสิ7งที7
อยู่รอบตัวมนุษย์ การที7คน ๆ หนึ7ง หรือประเทศ ๆ หนึ7ง มุ่งมั7นที7จะปกป้องรักษาสิ7งแวดล ้อม ในขณะที7
คนอื7น ๆ หรือประเทศอื7น ๆ มุ่งมั7นแต่จะทําลายหรือเพิกเฉย การอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อม ย่อมไม่มีทางสําเร็จ
ได ้ การทําความเข ้าใจปลุกจิตสํานึกของคนทุกคนในสังคมหรือรัฐบาลทุกประเทศ ให ้ร่วมมือกันอนุรักษ์
สิ7งแวดล ้อม จึงเป็นการแก ้ปัญหาที7ต ้นเหตุ และการที7สิ7งแวดล ้อมมีความเกี7ยวพัน ทัOงตัวบุคคลทั7วโลก
และพืOนที7ทั7วโลก ทัOงบนดิน ใต ้ดิน นํOา และอากาศ สัตว์และพืชทั7วโลก รวมทัOงการอยู่อาศัยอย่างมี
คุณภาพชีวิตของมนุษย์และสัตว์ จึงทําให ้ต ้องมีกฎหมายสิ7งแวดล ้อมระหว่างประเทศ และกฎหมายสิ7ง
แวดล ้อมภายในประเทศ
September 21 at 11:35am · Unlike · 1
Apitchaya Timpitak อํานาจอธิปไตยในรัฐ ๆ หนึ7งที7ปกครองด ้วยระบอบประชาธิปไตยประกอบ
ด ้วย อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหารและอํานาจตุลาการ สถาบันที7ใช ้อํานาจอธิปไตยทัOงสาม ล ้วน
แต่มีบทบาทที7สําคัญต่อการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อม กล่าวคือ ฝ่ ายนิติบัญญัติมีหน้าที7ในการออกกฎหมายที7
พิทักษ์สิ7งแวดล ้อม และดูแลผลกระทบต่อสิ7งแวดล ้อม ในขณะที7ฝ่ ายบริหาร มีหน้าที7ในการใช ้อํานาจ
ทางปกครอง ให ้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ในขณะที7ฝ่ ายตุลาการ มีหน้าที7ตีความบังคับใช ้กฎหมายให ้มี
ประสิทธิภาพ และวางบรรทัดฐานของกฎหมายสิ7งแวดล ้อม การทําหน้าที7ของแต่ละฝ่ าย ล ้วนแต่ต ้อง
อาศัยบุคลากรที7มีความรู้ความเข ้าใจ ในกฎหมายสิ7งแวดล ้อมเป็นอย่างดี เพราะกฎหมายสิ7งแวดล ้อมเป็น
กฎหมายพิเศษที7ต ้องร่าง ใช ้ตีความและบังคับการ โดยหลักการและวิธีการที7เป็นพิเศษแตกต่างจาก
กฎหมายทั7วไปเพื7อให ้บรรลุจุดประสงค์ที7จะอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทัOง
การใช ้ทรัพยากรแบบยั7งยืน (resource conservation and sustainable use) (อ ้างอิง ภัทรศักดิU
วรรณแสง (ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ ประจําสํานักประธานศาลฎีกา) บทความกฎหมายเรื7องบทบาทของ
ศาลยุติธรรมกับกฎหมายสิ7งแวดล ้อม http://www.dlo.co.th/node/252)
น.ส. อภิชญา ทิมพิทักษ์ 5601034621
บทบาทของศาลยุติธรรมกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม | สํานักกฎหมายธรรม
นิติ
www.dlo.co.th
ผู้เขียน: ภัทรศักดิU วรรณแสง*วันที7: 19 สิงหาคม
September 21 at 11:35am · Unlike · 1 · Remove Preview
Kantima Mutchakit ในแง่ของนักกฎหมาย คดีสิ7งแวดล ้อมมีลักษณะคดีและเจตนารมณ์แตก
ต่าง จากคดีแพ่งและคดีอาญาทั7วไปดังกล่าวแล ้ว ประเทศไทยมีนักกฎหมายเฉพาะด ้านหลายสาขา
กฎหมายแล ้ว เช่น กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายแรงงาน กฎหมายภาษี กฎหมายธุรกิจการค ้า
ฯลฯ แต่ยังขาดแคลนนักกฎหมายสิ7งแวดล ้อม ที7มีความรู้ความเข ้าใจในกฎหมายสิ7งแวดล ้อมอย่าง
ถ่องแท ้และจริงจังเพราะการพัฒนา อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีย่อมมีผลกระทบต่อสิ7งแวดล ้อม คดี
เกี7ยวกับกฎหมายสิ7งแวดล ้อมมีความซับซ ้อน ลําพังแต่ความรู้ในทางนิติศาสตร์ยังไม่เพียงพอ ต ้องอาศัย
ความรู้ทางด ้านสิ7งแวดล ้อม และมาตรการทางกฎหมายเป็นพิเศษที7เหมาะสม แก่การแก ้ไขปัญหาหรือ
ข ้อพิพาทเกี7ยวกับสิ7งแวดล ้อมที7เกิดขึOนได ้ ในหลักกฎหมายสิ7งแวดล ้อมในต่างประเทศ ได ้กําหนดเป็น
หลักการที7มอบความไว ้วางใจแก่ศาลเป็นอย่างมาก ในการใช ้ดุลพินิจที7เหมาะสมแก่รูปคดี เหตุที7เป็น
เช่นนีOเพราะกระบวนการในศาล เป็นกระบวนการที7เปิดเผยต่อสาธารณชน เปิดโอกาสให ้ผู้เกี7ยวข ้องหรือ
ผู้มีส่วนได ้เสียทุกฝ่ าย เข ้ามาใช ้สิทธิทางศาลได ้อย่างกว ้างขวาง และคําสั7งศาลถูกตรวจสอบได ้ในตัว
เองเนื7องจากคําพิพากษาต ้องประกอบไปด ้วยหลักกฎหมายและเหตุผล และยังอาจถูกตรวจสอบโดย
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

More Related Content

Viewers also liked

2553 la681 class 6 (23 september 2010) slideshow
2553 la681 class 6 (23 september 2010) slideshow2553 la681 class 6 (23 september 2010) slideshow
2553 la681 class 6 (23 september 2010) slideshow
Chacrit Sitdhiwej
 
English 1105
English 1105English 1105
English 1105
sdram
 
Presentation: convention and techniques
Presentation: convention and techniquesPresentation: convention and techniques
Presentation: convention and techniques
Chacrit Sitdhiwej
 
Apprendimento collaborativo
Apprendimento collaborativoApprendimento collaborativo
Apprendimento collaborativo
massimo82
 

Viewers also liked (18)

01 se faire connaissance
01 se faire connaissance01 se faire connaissance
01 se faire connaissance
 
01.02.2 les lieux en ville
01.02.2 les lieux en ville01.02.2 les lieux en ville
01.02.2 les lieux en ville
 
2553 la681 class 6 (23 september 2010) slideshow
2553 la681 class 6 (23 september 2010) slideshow2553 la681 class 6 (23 september 2010) slideshow
2553 la681 class 6 (23 september 2010) slideshow
 
2553 la786 week 3 class (1 july 2010) slideshow
2553 la786 week 3 class (1 july 2010) slideshow2553 la786 week 3 class (1 july 2010) slideshow
2553 la786 week 3 class (1 july 2010) slideshow
 
Dance Tunes Special Meeting Presentation English
Dance Tunes Special Meeting Presentation EnglishDance Tunes Special Meeting Presentation English
Dance Tunes Special Meeting Presentation English
 
04 02-1 aimer + activités
04 02-1 aimer + activités04 02-1 aimer + activités
04 02-1 aimer + activités
 
Trabajos Juntos
Trabajos JuntosTrabajos Juntos
Trabajos Juntos
 
02 comprehensible input
02 comprehensible input02 comprehensible input
02 comprehensible input
 
English 1105
English 1105English 1105
English 1105
 
08.03.1 adjectifs possessifs
08.03.1 adjectifs possessifs08.03.1 adjectifs possessifs
08.03.1 adjectifs possessifs
 
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
 
Presentation: convention and techniques
Presentation: convention and techniquesPresentation: convention and techniques
Presentation: convention and techniques
 
Apprendimento collaborativo
Apprendimento collaborativoApprendimento collaborativo
Apprendimento collaborativo
 
Trabajos Juntos
Trabajos JuntosTrabajos Juntos
Trabajos Juntos
 
Best first day ever
Best first day everBest first day ever
Best first day ever
 
03 02-1 les matières
03 02-1 les matières03 02-1 les matières
03 02-1 les matières
 
banchese3
banchese3banchese3
banchese3
 
No.7
No.7No.7
No.7
 

Similar to สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
thnaporn999
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-bill
Sanchai San
 

Similar to สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (12)

9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
 
งานนำเสนอ1 is
งานนำเสนอ1 isงานนำเสนอ1 is
งานนำเสนอ1 is
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
 
Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
Human2.1 1
Human2.1 1Human2.1 1
Human2.1 1
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-bill
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)
 
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
 

More from Chacrit Sitdhiwej

More from Chacrit Sitdhiwej (20)

หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมากหลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
 
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
 
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
 
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
 
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
 
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเองแนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
 
The public face
The public faceThe public face
The public face
 
the many faces
the many facesthe many faces
the many faces
 
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
หมวดหมู่ของกฎหมาย
หมวดหมู่ของกฎหมายหมวดหมู่ของกฎหมาย
หมวดหมู่ของกฎหมาย
 
การทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมการทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรม
 
environmental impact assessment (EIA) (2)
environmental impact assessment (EIA) (2)environmental impact assessment (EIA) (2)
environmental impact assessment (EIA) (2)
 
environmental impact assessment (EIA) (1)
environmental impact assessment (EIA) (1)environmental impact assessment (EIA) (1)
environmental impact assessment (EIA) (1)
 
environmental assessment (EA)
environmental assessment (EA)environmental assessment (EA)
environmental assessment (EA)
 
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
 
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทยบ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
 
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิดสังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
 
การหาหัวข้อวิจัย
การหาหัวข้อวิจัยการหาหัวข้อวิจัย
การหาหัวข้อวิจัย
 

สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

  • 1. 24/09/13 8:51 AM(3) You and Auii Thestar Page 1 of 14https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar Sponsored Recent First Met Solimpeks Solar Solimpeks Solar Corp. Like us – Solimpeks is the fastest growing Solar Panel manufacturer in the world! ·Like 11,683 people like Solimpeks Solar Corp. National Geographic Channel Asia Opens up a world of possibilities by exploring science, technology, wildlife and more. ·Like Look Talay and Navyseaplane Naxproject like National Geographic Channel Asia. Facebook friends since August Mutual Friends 86 Photos 1 Likes 1 Events Auii Thestar Chacrit Sitdhiwej September 19 สรุปการอภิปรายบทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อม — with Ormsin Salinwan Kruathes and 19 others. Unlike · Comment You, Myname Isnatt and Eay Gunjanut-Th like this. Tapanot Maipanich Chanon Teaworm Aumzaa Nuberone September 19 at 8:44pm via mobile · Like Tapanot Maipanich Machith Phetphousy September 19 at 8:44pm via mobile · Like Pann Chandla-or นักกฎหมายมีบทบาทสําคัญในการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อมหลายประการ อย่างไร ก็ตามควรต ้องเข ้าใจลักษณะของวิชาชีพนักกฎหมายและหลักในการปฏิบัติตนของนักกฎหมายเสีย ก่อน เพราะหากนักกฎหมายปฏิบัติตนอยู่ตามทํานองคลองธรรมแล ้ว สังคมก็จะพัฒนาดีตามไปด ้วย สําหรับนักกฎหมายนัOนถือเป็น“วิชาชีพ” (Profession) กล่าวคือ 1. เป็นงานที7ต ้องอุทิศตนไปตลอดชีวิต 2. ต ้องมีการอบรมสั7งสอน ใช ้เวลานานหลายปี ดังนัOน จึงต ้องถือว่ามีความรู้ที7เป็นลักษณะเฉพาะ บุคคล ภายนอกวิชาชีพจะไม่อาจทราบได ้ว่าการประกอบวิชาชีพที7ทําไปดีหรือไม่ หรือถูกต ้องมากน้อยเพียงใด 3. หมู่ชุมชนหรือหมู่คณะที7มีขนบธรรมเนียมประเพณีที7สํานึกในจรรยาบรรณ เกียรติยศ ศักดิUศรี และ อาชีพของตน หมายความว่า ในหมู่ผู้ประกอบวิชาชีพเดียวกัน (peers) จะมีการกําหนดมาตรฐานความ ประพฤติในการประกอบการงานของตนไว ้ เช่น ประมวลจริยธรรมข ้าราชการตุลาการ ข ้อบังคับสภา ทนายความว่าด ้วยมรรยาททนายความ เป็นต ้น และมีองค์กรและกระบวนการเพื7อสอดส่องพิทักษ์รักษา ขนมธรรมเนียม เกียรติยศ ศักดิUศรีของวิชาชีพ (สืบเนื7องจากข ้อ 2 เนื7องจากบุคคลภายนอกไม่อาจทราบ ได ้ว่าการประพฤติตนของนักกฎหมายถูกต ้องหรือไม่อย่างไร จําเป็นต ้องมีองค์กรวิชาชีพทําหน้าที7ดัง กล่าว (Guild) เช่น สภาทนายความ เนติบัณฑิตยสภา เป็นต ้น) (อ ้างอิงจาก ปรีดี เกษมทรัพย์ หลักวิชาชีพนักกฎหมายในภาคพืOนยุโรป ,รวมคําบรรยายหลักวิชาชีพนัก กฎหมาย พิมพ์ครัOงที7 9 แสวง บุญเฉลิมวิภาส บรรณาธิการ 2552) นักกฎหมายที7ดีควรปฏิบัติตัว ดังนีO 1. ยึดมั7นและปฏิบัติแต่สิ7งที7ถูกต ้องชอบธรรมเท่านัOน ต ้องยึดมั7นในหลักการ กล ้าแสดงความคิดเห็น และ ใช ้หลักที7ว่า “Principle Before Expediency” 2. ต ้องรักษาเกียรติภูมิแห่งวิชาชีพกฎหมาย (Professional Solidarity) 3. ต ้องมีความละเอียด ประณีต สุขุม 4. มีความพอเหมาะพอดี 5. มีสามัญสํานึก (อ ้างอิงจาก ธานินทร์ กรัยวิเชียร จริยธรรมของนักกฎหมาย บรรยายในการปัจฉิมนิเทศของเนติบัณฑิต สมัยที7 50 ของสํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา 27 มิถุนายน 2541 รวมคําบรรยาย หลักวิชาชีพนักกฎหมาย พิมพ์ครัOงที7 9 แสวง บุญเฉลิมวิภาส บรรณาธิการ 2552) นอกจากนัOนแล ้วนักกฎหมายควรต ้องดํารงตนให ้ปราศจากอคติ 4 เพื7อให ้ปราศจากความลําเอียง คือ ฉันทาคติ(ลําเอียงเพราะรัก) โทสาคติ(ลําเอียงเพราะชัง) ภยาคติ(ลําเอียงเพราะกลัว) และโมหาคติ (ลําเอียงเพราะ รู้เท่าไม่ถึงการณ์) September 20 at 2:31am · Unlike · 1 Pann Chandla-or รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ก็มองถึงปัญหาการแทรกแซงการทําหน้าที7ของนัก กฎหมายเช่นกัน ดังนัOนจึงมีการวางหลักประกันความเป็นอิสระของนักกฎหมายไว ้อยู่บ ้าง เช่น 1. มาตรา 78 (6) หน่วยงานทางกฎหมายที7มีหน้าที7ให ้ความเห็นเกี7ยวกับการดําเนินงานของรัฐตาม กฎหมายและตรวจสอบการตรากฎหมายของรัฐ ดําเนินการอย่างเป็นอิสระ 2. มาตรา 197 เป็นหลักประกันความเป็นอิสระของผู้พิพากษาให ้มีอิสระในการพิพากษาอรรถคดี ปราศจากการแทรกแซง ห ้ามย ้ายผู้พิพากษาโดยไม่ได ้รับความยินยอม เป็นต ้น สรุป นักกฎหมายอาจมีบทบาทในการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อมดังนีO 1. นักกฎหมายต ้องมีจิตสํานึกโดยต ้องเข ้าใจถึงการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อมเสียก่อน 2. นักกฎหมายต ้องใช ้วิชาชีพของตนในการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อม ไม่ว่าจะเป็นการร่างกฎหมายต่างๆ เพื7อ แก ้ปัญหาสิ7งแวดล ้อม ใช ้กฎหมายและใช ้ดุลพินิจตามกฎหมายที7มีขึOนเพื7อคุ้มครองสิ7งแวดล ้อมโดยชอบ และให ้บรรลุวัตถุประสงค์ของกฎหมาย พิพากษาคดีต่างๆ โดยใช ้ความรู้และความยุติธรรม เป็นอิสระ มี คุณภาพ รวดเร็ว (Access to Justice) และต ้องใช ้ความรู้ทางกฎหมายช่วยเหลือประชาชน (Access to Information) และคุ้มครองประชาชนให ้ได ้รับความเป็นธรรมจากกระบวนการทางกฎหมายอย่าง ·Photos 1 ·Friends 86 Mutual Ormsin Salinwan Kruathes Paeng Jitsong ฉัน รักในหลวง Tapanot Maipanich WormfOrest Gym Mameow Mitrabhorn Heng Puthong Nattwajee Jaksan Likes ThaiPBS Share Friendship MoreYou and Auii Thestar Change Cover Home ChacritSearch for people, places and things 33
  • 2. 24/09/13 8:51 AM(3) You and Auii Thestar Page 2 of 14https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar เท่าเทียม (Public Participation) 3. นักกฎหมายสิ7งแวดล ้อมที7ดีควรต ้องเป็นผู้ชีOนําสังคมให ้ตระหนักถึงความสําคัญของสิ7งแวดล ้อม ทําให ้สังคมของเราเป็นสังคมที7ช่วยกันอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อม เปรียบคํากล่าวที7ว่านักกฎหมายเป็น “วิศวกร สังคม” นายปัญญ์ จันทร์ลออ 5601034514 September 20 at 2:33am · Unlike · 1 Natsuda Rattamanee หนึ7งในอาชีพนักกฎหมายที7อยู่ในฐานะผู้ใช ้กฎหมายในฝ่ ายบริหารคือ อัยการ อัยการคือทนายของรัฐ ซึ7งมีหน้าที7เกี7ยวกับกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม อํานาจหน้าที7และบทบาทของพนักงานอัยการในการคุ้มครองสิทธิและให ้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย แก่ประชาชน 1. การคุ้มครองสิทธิ ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ ซึ7งได ้บัญญัติให ้เป็นอํานาจหน้าที7 ของ พนักงานอัยการ มีดังนีO (14) ร ้องขอให ้ศาล มีคําสั7งถอดถอนกรรมการมูลนิธิบางคน หรือคณะกรรมการของมูลนิธิ ในกรณีที7 ดําเนินกิจการของมูลนิธิผิดพลาดเสื7อมเสียต่อมูลนิธิ หรือดําเนินกิจการฝ่ าฝืนกฎหมาย หรือข ้อบังคับ ของมูลนิธิ หรือกลายเป็นผู้มีฐานะ หรือความประพฤติ ไม่เหมาะสมในการดําเนินการ ตามวัตถุประสงค์ ของมูลนิธ ิ (ป.พ.พ. มาตรา 129) (15) ร ้องขอให ้ศาล มีคําสั7งเลิกมูลนิธิ เพราะวัตถุประสงค์ ของมูลนิธิขัดต่อกฎหมาย หรือมูลนิธิกระทํา การขัดต่อกฎหมาย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือ อาจเป็นภยันตราย ต่อความสงบสุขของ ประชาชน หรือความมั7นคงของรัฐ หรือมูลนิธิ ไม่สามารถดําเนินกิจการ ต่อไปไม่ว่าเพราะเหตุใดๆ หรือ หยุดดําเนินกิจการ ตัOงแต่ 2 ปีขึOนไป (ป.พ.พ. มาตรา 131) และยังมี ป.พ.พ.มาตรา 133, มาตรา 1251,มาตรา 134 ที7เกี7ยวกับอํานาจอัยการเรื7อวมูลนิธิอีกจะเห็น ได ้ว่าอัยการจึงมีส่วนช่วยในการคัดกรองมูลนิธิสิ7งแวดล ้อมต่างๆที7บางครัOงก่อตัOงขึOนมาผิดวัตถุประสงค์ ของการเป็นมูลนิธิ 2. การช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน นอกเหนือจากการคุ้มครองสิทธิ ที7เป็นอํานาจหน้าที7ของพนักงานอัยการ ตามที7ประมวลกฎหมาย แพ่ง และพาณิชย์ บัญญัติไว ้แล ้ว ตามพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และกฎ กระทรวง แบ่งส่วนราชการสํานักงานอัยการสูงสุด (ฉบับที7 2) พ.ศ. 2549 ลงวันที7 29 กันยายน 2549 ข ้อ 15 (24) ยังได ้กําหนดให ้ สํานักงานอัยการสูงสุด มีอํานาจหน้าที7รับผิดชอบการ ดําเนินการเกี7ยวกับ การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ และผลประโยชน์ ของประชาชน และการให ้ ความช่วยเหลือ ทางกฎหมายแก่ประชาชน อัยการจึงมีงานด ้านการให ้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ ประชาชน ในกรณีอื7นๆ อีกด ้วย ซึ7งทางรัฐบาลได ้มอบหมาย ให ้สํานักงานอัยการสูงสุดเข ้าไปมีส่วนร่วม ในการดําเนินการช่วยเหลือ ประชาชนตามนโยบาย ของรัฐบาลต่างๆ โดย สํานักงานอัยการสูงสุด จะรับ นโยบายของรัฐบาลมา และมีคําสั7งของ สํานักงานอัยการสูงสุด ให ้พนักงานอัยการ ถือเป็นแนวทางใน การปฏิบัติ ในการให ้ความช่วยเหลือ ประชาชนต่อไป ตัวอย่างเช่น การให ้ความช่วยเหลือ เกษตรกรและ ผู้ยากจน การสนับสนุนการดําเนินงาน กองทุนหมู่บ ้าน เป็นต ้น อัยการก็สามารถใช ้อํานาจส่วนนีOให ้การ ช่วยเหลือเรื7องการอนุรักษ์และรักษาสิ7งแวดล ้อมของไทยได ้ September 20 at 10:57am via mobile · Unlike · 1 Natsuda Rattamanee 3.การเผยแพร่ความรู้ ทางด ้านสิทธิมนุษยชน และความรู้ทางกฎหมาย แก่ประชาชน ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สํานักงานอัยการสูงสุด (ฉบับที7 2) พ.ศ. 2549 ลงวันที7 29 กันยายน 2549 ข ้อ 15 (24) กําหนดให ้ สํานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน มีอํานาจหน้าที7 ในการเผยแพร่ความรู้ ทางด ้านสิทธิมนุษยชน และความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน เนื7องจากในปัจจุบัน มีประชาชนจํานวน ไม่น้อย ที7ยังไม่ทราบถึงสิทธิและหน้าที7ของตนที7มีอยู่ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงมักจะถูกละเมิด สิทธิ ถูกเอารัดเอาเปรียบ จากผู้ที7มีความรู้ทางกฎหมายดีกว่า หรือมีสถานะทางเศรษฐกิจที7เข ้มแข็งกว่า และยังมีประชาชนอีกจํานวนไม่น้อย ที7ได ้กระทําผิดกฎหมาย โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ดังนัOนการให ้ความรู้ พืOนฐานทางกฎหมายแก่ประชาชน เป็นมาตรการสําคัญที7จะช่วยให ้ประชาชน ได ้รับทราบถึงสิทธิและ หน้าที7ของตน และใช ้สิทธิต่างๆ อย่างถูกต ้องตามกฎหมาย ซึ7งรวมถึงการให ้ความรู้ในเรื7องสิทธิชุมชน สิทธตามรัฐธรรมนูญ กฎหมายเกี7ยวกับป่ าไม ้และสัตว์ป่ าแก่ประชาชนด ้วย ก็จะเป็นการช่วยเสริมให ้การ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเป็นไปอย่างกว ้างขวางและครอบคลุม 4.อํานาจในการฟ้องคดีอาญา ตามมาตรา 28 ป.วิ.อ. บุคคลเหล่านีOมีอํานาจฟ้องคดีอาญาต่อศาล(1) พนักงานอัยการ พนักงานอุยการอยู่ในฐานะที7จะฟ้องดําเนินคดีอาญาแทนผู้เสียหายได ้ในกรณีความผิด อาญา ซึ7งหากเป็นเรื7องที7เกี7ยวกับสิ7งแวดล ้อมแล ้วอัยการก็จะมีส่วนช่วยให ้ผู้กระทําผิดต ้องได ้รับโทษที7 ควรเกิด 5.การคุ้มครองสิทธิ ประชาชนระหว่างประเทศ สํานักงานอัยการสูงสุด ได ้มีคําสั7งที7 251/2548 ลงวันที7 2 มิถุนายน 2548 ให ้จัดตัOง ศูนย์อัยการ คุ้มครองสิทธิ ประชาชนระหว่างประเทศ (ศอสป.) ขึOนให ้มีอํานาจหน้าที7รับผิดชอบ งานคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ และการให ้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย รวมทัOง การเผยแพร่ ความรู้ด ้านกฎหมายแก่คนไทย ในต่างประเทศ และชาวต่างประเทศในประเทศไทย และรับผิดชอบงานด ้านการพัฒนาส่งเสริม และ คุ้มครองสิทธิประชาชนระหว่างประเทศ ตามพันธกรณีที7ประเทศไทย มีอยู่ตามกฎหมาย ระหว่างประเทศ ต่อมาได ้มีกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สํานักงานอัยการสูงสุด (ฉบับที7 2) พ.ศ.2549 ข ้อ 15 (24) (ง) ลงวันที7 29 กันยายน 2549 จัดตัOงสํานักงานอัยการพิเศษ ฝ่ ายคุ้มครองสิทธิ ประชาชนระหว่าง ประเทศ (สฝคป.) ขึOนในสังกัดสํานักงานคุ้มครองสิทธิ และช่วยเหลือทางกฎหมาย แก่ประชาชน และให ้ โอนงานทัOงปวงที7อยู่ในความรับผิดชอบของ ศอสป. ไปยัง สฝคป. ตามคําสั7ง สํานักงานอัยการสูงสุด ที7 521/2549 ดังนัOนส่วนนีOก็เป็นส่วนที7จะต ้องเผยแพร่ความรู้ที7ประเทศไทยได ้ไปทําพันธกรณีใดมาบ ้าง กับนานาชาติอละประชาชนจะมีสิทธิใดบ ้างตามกฎหมายระหว่างประเทศหรือพันธสัญญาต่างๆ September 20 at 10:57am via mobile · Unlike · 1 Natsuda Rattamanee http://www.humanrights.ago.go.th/index.php... อํานาจหน้าที*และบทบาทของพนักงานอัยการในการคุ้มครองสิทธิและให้ความช่วยเหลือ ทางกฎหม www.humanrights.ago.go.th Home เกี7ยวกับสํานักงาน เกี7ยวกับ สคช. อํานาจหน้าที7และบทบาท September 20 at 10:58am via mobile · Unlike · 1 · Remove Preview Auii Thestar Samawit Kittikasamsil September 20 at 10:59am · Like · 1 Auii Thestar สภาทนายความ กับบทบาทในการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อม ตามที7สภาทนายความได ้จดทะเบียนเป็นองก์กรเอกชน ด ้านสิ7งแวดล ้อม เมื7อวันที7 ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕ สภาทนายความถือเป็นพันธกิจ ที7มีหน้าที7ดูแลรักษามิให ้มีการทาลายสภาพสิ7งแวดล ้อมให ้เปลี7ยนแปลง อย่างรวดเร็ว การเปลี7ยนแปลงที7เกิดขึOนต่อสิ7งแวดล ้อมย่อมมีผลกระทบต่อมนุษย์ สิ7งแวดล ้อมโดยทั7วไป ย่อมจะมีการเปลี7ยนแปลงตามธรรมชาติอยู่ตลอดเวลา การเปลี7ยนแปลงดังกล่าวจะกระทบกระเทือนต่อ การดารงชีพของสิ7งมีชีวิตในระบบนิเวศไม่ทางตรงก็ทางอ ้อม แต่สภาวะแวดล ้อมในปัจจุบันไม่เพียงแต่ เปลี7ยนแปลงไปตามธรรมชาติเท่านัOน มนุษย์ยังเป็นตัวการสาคัญที7ทาให ้สภาวะแวดล ้อมเปลี7ยนแปลง เพิ7มขึOนอีกทางหนึ7ง ซึ7งเป็นการเปลี7ยนแปลงที7รวดเร็วมาก ถ ้าไม่มีการวางแผนที7รอบคอบจะก่อ ให ้เกิด ปัญหาการเปลี7ยนแปลงสภาวะแวดล ้อมตามมา จนอาจจะปรับคืนสู่สภาพปกติได ้ยากหรือทาให ้เสีย สภาพเดิมไปกลายเป็นสภาวะแวดล ้อมที7ไม่เหมาะสมต่อการดารงชีพ และถึงขัOนที7อาจเป็นอันตรายต่อ สิ7งมีชีวิตได ้ ทุกๆ ปี มีประชาชนเป็นจานวนมากที7ประสบปัญหาจากการที7สิ7งแวดล ้อมถูกคุกคาม ไม่ว่า จากภาคเอกชน หรือภาครัฐ โครงการใหญ่ๆ ที7เกิดขึOนจากภาครัฐโดยไม่คานึงถึงผลกระทบที7ตามมา ล ้วนแต่ก่อให ้เกิดปัญหาขึOนกับชุมชนท ้องถิ7นดั7งเดิมที7อยู่ใกล ้เคียง เช่น โครงการโรงงานไฟฟ้าถ่านหิน การทาเหมืองแร่ ก็มีการก่อให ้เกิดมลพิษและมีการละเมิดสิทธิสาธารณะ ทาให ้สาธารณะประโยชน์อัน เป็นผลประโยชน์ร่วมกันของประชาชนถูกละเมิดและถูกทาลายจนไม่สามารถเยียวยาแก ้ไขได ้
  • 3. 24/09/13 8:51 AM(3) You and Auii Thestar Page 3 of 14https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar ปัญหาในปัจจุบัน ปัจจุบันทนายความผู้มีความชานาญในคดีสิ7งแวดล ้อม ยังไม่เพียงพอต่อการให ้ความรู้ทางกฎหมายสิ7ง แวดล ้อม และปกป้องประชาชนผู้สุจริตให ้พ ้นจากการละเมิดสิทธิทางสิ7งแวดล ้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ เพื7อเป็นการเผย แพร่ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชนและให ้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ของสภาทนายความตามพระราช บัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ คือ มาตรา ๗ สืบเนื7องจากสภาทนายความได ้รับการขึOนทะเบียนเป็นองค์กรเอกชนด ้านสิ7งแวดล ้อม ภาระที7สาคัญของ สานักงานคณะกรรมการสิ7งแวดล ้อม สภาทนายความ ก็คือ การผลิตทนายความที7มีความเชี7ยวชาญใน การดาเนินคดีสิ7งแวดล ้อม นอกจากเป็นการส่งเสริมความรู้ทางด ้านกฎหมายสิ7งแวดล ้อมแล ้ว ยังเป็นการ พัฒนาบุคลากรขององค์กรให ้เป็นทนายความและบุคคลากรทางด ้านสิ7งแวดล ้อมที7มีประสิทธิภาพ ทัOงใน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคให ้เพียงพอและครอบคลุมทั7วทัOงประเทศ (สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์) September 20 at 11:00am · Unlike · 1 Auii Thestar นายพุฒินันต์ สุขสม 5601034530 September 20 at 11:00am · Unlike · 1 Natsuda Rattamanee อีกอาชีพของนักกฎหมายที7อยู่ในวงการบริหารและมีส่วนช่วยเรื7องสิ7ง แวดล ้อมคือ นักกฎหมายภาครัฐ (นิติกร) กล่าวคือ นิติกรLegal Officerเป็น ผู้ที7ทํางานทางกฎหมายของราชการนอกวงการศาลโดยเฉพาะ ได ้แก่ นิติกร สําหรับนิติกรในสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จะทําหน้าที7ตรวจสอบร่างกฎหมาย และ ให ้ความเห็นทางกฎหมายแก่หน่วยงานราชการที7ร ้องขอ ซึ7งถือเป็นผู้ดําเนินกระบวนการยุติธรรมทาง ปกครองรูปแบบหนึ7ง ในลักษณะการตรวจสอบจากองค์กรของรัฐที7นอกเหนือจากศาลปกครอง เป็น บุคคลผู้ดูแลงานด ้านการศึกษา วางแผน วิเคราะห์ เขียนโครงการ วางระเบียบ ทําทุกอย่างตามหน้าที7 และงานที7เกี7ยวข ้องกับงานกฎหมายขององค์กร ทัOงในแง่การเสนอความเห็น และวิเคราะห์ปรับปรุง ระเบียบของหน่วยงานให ้เหมาะสมกับสถานการณ์บ ้านเมือง การทํางานเอกสารที7เกี7ยวข ้องกับกฎหมาย ระหว่างหน่วยงาน ระเบียบความเป็นธรรมของพนักงาน อาจต ้องมีการประสานงานระหว่างหน่วยงาน หรือเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายให ้คนภายนอกหน่วยงานเข ้าใจด ้วย จะว่าไปแล ้วก็เหมือนตําแหน่งอื7นๆ หรือแผนกในบริษัททั7วไป อย่างพนักงานบัญชีก็ดูเรื7องรายรับรายจ่าย HR ก็ดูเรื7องรับสมัครงาน นิติกรก็ ดูเรื7องงานกฎหมายของบริษัทนั7นแหละค่ะ ในหน่วยงานทางภาครัฐ ตําแหน่งงานนิติกรที7มีคนไปสมัครกันมาก ก็ตามหน่วยงานที7เกี7ยวกับ กระบวนการยุติธรรมสายตรงทัOงหลาย เช่น DSI ป.ป.ช. กฤษฎีกา ศาล แต่จริงๆ แล ้ว กระทรวง ศึกษาธิการ สํานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย (ในกระทรวงวัฒนธรรม) หรือมหาวิทยาลัยต่างๆ ก็มีนิติกร ไม่ว่าหน่วยงานไหนก็ต ้องมีงานที7เกี7ยวข ้องกับทางกฎหมายทัOงนัOน นิติกร เป็นหนึ7งในวิชาชีพทางกฎหมาย เป็นนักกฎหมายที7ทําหน้าที7งานวิเคราะห์ จัดการงานด ้าน กฎหมายของหน่วยงาน ดังนัOน นอกจากความรู้ด ้านกฎหมายและ ยังต ้องมีความชอบด ้านการจัดการงาน เอกสารพอสมควร ร่างเอกสาร และจัดทําเอกสารของหน่วยงาน เข ้าไปดูแลงานทางกฎหมายของทุก ส่วน จะเห็นว่านิติกรสามารถเป็นส่วนสําคัญในการจัดการ ให ้ความรู้ รวมถึงตัOงระบบหรือเรื7องขึOนๆไปให ้กับ หน่วยงานของตนที7เป็นระบบราชการสามารถเข ้าใจเรื7องกฎหมายและเจตนารมณ์อย่างตรงจุด ถ ้านิติกร มีความรู้ความสามารถดีก็จะเป็นส่วนสําคัญให ้การอนุรักษ์จัดการทรัพยากรฯตามนโยบายที7รัฐบาลออก มา เดินไปได ้อย่างมีประสิทธิภาพ http://www.dek-d.com/admission/26654/ ณัฐสุดา. รัตตมณี 5601034522 รู้จักจริงหรือไม่ "นิติกร" คืออะไร | Dek-D.com www.dek-d.com อาชีพนักกฎหมายที7ใช ้ฝีมือในการทํางาน ไม่ได ้ไปแกะสลักอะไร แต่ใช ้ฝีมือใน การจัดการ September 20 at 11:01am via mobile · Unlike · 1 · Remove Preview Apitchaya Timpitak Satang Sandee Kantima Mutchakit Somsak Wongranght September 20 at 11:05am via mobile · Like Nui Oyoyo บทบาทของนักกฎหมายในการส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ7ง แวดล ้อม ไม่ได ้มีเพียงในเชิงนิติบัญญัติ ตุลาการ และผู้บังคับใช ้กฎหมายเท่านัOน ยังสามารถเข ้าไปมี บทบาทการมีส่วนร่วมในด ้านอื7นได ้ด ้วย ขึOนอยู่กับบริบทหรือหน้าที7ทีรับผิดชอบอยู่ อย่างเช่น การเข ้าไป มีบทบาทในการจัดทํานโยบายไม่ว่าจะเป็นด ้านเศรษฐกิจ สังคม ความมั7นคงหรือแม ้แต่นโยบายในทาง ระหว่างประเทศ ที7ต ้องทําโยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน นักกฎหมายเองก็สามารถเข ้าไปมีบทบาท ได ้ในทุกขัOนตอนการจัดทํา ขอยกตัวอย่างนโยบายความมั7นคงแห่งชาติ ปัจจุบันปัญหาสิ7งแวดล ้อมถือเป็นหนึ7งภัยคุกคามความมั7นคงในรูปแบบใหม่ ที7ต ้องมีมาตรการดูแล ป้องกัน และแก ้ไขปัญหาที7กระทบต่อประเทศชาติทัOงในปัจจุบันและอนาคต แม ้ว่าเรื7องสิ7งแวดล ้อมจะมี กฎหมายหลายฉบับที7บัญญัติไว ้โดยเฉพาะแล ้วก็ตาม แต่ก็ยังคงต ้องมีการส่งเสริมการอนุรักษ์ไว ้ใน นโยบายความมั7นคงแห่งชาติด ้วย ซึ7งในนโยบายความมั7นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ได ้กําหนดนโยบาย สร ้างดุลยภาพของการ บริหารจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติสิ7งแวดล ้อมและคุ้มครองสิทธิเหนือทรัพยากรชีวภาพ เช่น 1. สร ้างจิตสํานึกของความรัก ความหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ7งแวดล ้อมให ้เกิดขึOนในทุกภาค ส่วน 2. สนับสนุนการใช ้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด 3. สร ้างระบบความยุติธรรมเฉพาะในการพิจารณาประเด็นปัญหาความขัดแย ้งที7เกิดจากการใช ้ ทรัพยากรธรรมชาติและการทําลายสิ7งแวดล ้อม 4. ส่งเสริมให ้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบาย แผน หรือโครงการขนาดใหญ่ที7มีผลกระทบต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ7งแวดล ้อม 5. ส่งเสริมให ้ชุมชนมีจิตสํานึกและรู้จักปกป้องผลประโยชน์ที7เกิดจากทรัพยากรชีวภาพ ฯลฯ (อ ้างอิง : http://www.nsc.go.th/index.php?option=com_frontpage&Itemid=1) น.ส.โสภาพร คงเชืOอนาค 5601034696 September 20 at 1:48pm · Unlike · 1 Paeng Jitsong สถาบันศาลมีบทบาทในการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อมโดยปรากฏให ้เห็นจากรูปแบบ การจัดตัOงศาลสิ7งแวดล ้อมในประเทศต่างๆ ซึ7งมีหลากหลาย แตกต่างกันไปตามความเหมาะสม ระบอบกฎหมาย และระบอบการปกครองประเทศ ในกลุ่มประเทศที7มีการจัดตัOงศาลสิ7งแวดล ้อม อาจแบ่งได ้เป็น 4 รูปแบบ คือ 1 . "ศาลเฉพาะทาง" (Specialized Environmental Court) คือศาลสูงสุดด ้านคดีสิ7งแวดล ้อม ตัวอย่างเช่น ศาลสิ7งแวดล ้อมของรัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศ ออสเตรเลีย ศาลสิ7งแวดล ้อมของรัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย - ก่อตัOงขึOนเมื7อปี 1980 เป็นศาลที7ตัOงขึOนเพื7อเน้นความเชี7ยวชาญพิเศษทัOงในด ้านการขยายขอบเขต อํานาจศาลให ้ครอบคลุมข ้อพิพาททุกประเภทที7เกี7ยวกับสิ7งแวดล ้อม ผังเมือง และการใช ้ที7ดิน เป็นต ้น (a combined jurisdiction within a single court) ที7สําคัญคือให ้ความสําคัญกับการสรรหา บุคลากร องค์คณะผู้พิพากษาที7มีความเหมาะสม (appropriate personnel) มีความรู้และมีความ เชี7ยวชาญ (knowledge and expertise) สาขาความรู้ความเชี7ยวชาญ เช่น ด ้านวิทยาศาสตร์สิ7ง แวดล ้อม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม ผังเมือง รวมไปถึงด ้านสิทธิในที7ดินของชนเผ่าอะบอริจิน - การขับเคลื7อนกระบวนการยุติธรรมภายในศาลแห่งนีOอยู่ภายใต ้สโลแกนที7ว่า “Just, quick and
  • 4. 24/09/13 8:51 AM(3) You and Auii Thestar Page 4 of 14https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar cheap resolution of proceedings” “Just” คือ การดําเนินคดีต ้องได ้ผลคือความยุติธรรม มี คุณภาพ, “Quick” คือ ต ้องเป็นไปอย่างรวดเร็วเพื7อขจัดปัญหาความล่าช ้าในกระบวนการยุติธรรม ซึ7ง ปรากฏให ้เห็นชัดเจนจากการเพิ7มขึOนของการเลื7อนนัด และการนัดพิจารณา โดยสืบเนื7องจากหลักที7ว่า ความยุติธรรมที7ล่าช ้า คือความอยุติธรรม (“the delay of justice is a denial of justice”, Lord Denning) ความล่าช ้าในการดําเนินคดียังเชื7อมโยงกับค่าใช ้จ่ายในการดําเนินคดีอีกด ้วย คือ ยิ7งใช ้ เวลาในการดําเนินการนาน ค่าใช ้จ่ายก็ยิ7งสูง หรือ “ยิ7งนานก็ยิ7งแพง” (“the longer…proceedings, the greater the cost.”) ดังนัOนศาลแห่งนีOจึงมีเป้าหมายในการดําเนินงานเพื7อให ้เกิดความยุติธรรม การใช ้เวลาและค่าใช ้จ่ายต ้องให ้เหมาะสม "Cheap" (ราคาถูก) ได ้สัดส่วนกับความยากง่ายของแต่ละ คดี นอกจากนีOศาลแห่งนีOยังใช ้แนวทาง Multi-Door Courthouse คือการอํานวยการให ้มีแนวทางระงับ ข ้อพิพาทในหลากหลายรูปแบบอยู่ภายในศาลเดียว โดยศาลจะดูแล สอบถาม คัดกรองและจัดวิธีการ ระงับข ้อพิพาทให ้เหมาะสมแก่ลักษณะของแต่ละคดี โดยมีทัOงกระบวนการประนีประนอมยอมความ การ ไกล่เกลี7ย และการนําคดีขึOนสู่ศาล เป็นต ้น (Brian J Preston, “Operating an environment court: the experience of the Land and Environment Court of New South Wales”, Inaugural Distinguished Lecture on Environmental Law, The Environmental Commission of Trinidad and Tobago.) September 20 at 10:31pm · Edited · Unlike · 1 Paeng Jitsong 2." Tribunal" เป็นรูปแบบหนึ7งของศาลเฉพาะทาง ส่วนใหญ่ตัOงขึOนในประเทศที7 ใช ้ระบอบกฎหมายแบบคอมมอนลอว์ โดยมักจะเป็นหน่วยงานที7อยู่ในฝ่ ายบริหาร ตัวอย่างเช่น หน่วยงานคุ้มครองสิ7งแวดล ้อมของสหรัฐอเมริกา (US Environmental Protection Agency: US EPA http://www.epa.gov/ ) หรือ Environmental Tribunal ของประเทศอังกฤษ เป็นต ้น 3. "แผนกคดีสิ7งแวดล ้อม" (Green Bench) เป็นการจัดตัOงระบบศาลสิ7งแวดล ้อมที7ยังสังกัดอยู่ในระบบ ศาลเดิม ใช ้ในประเทศเช่น อินเดีย สวีเดน กรีซ และประเทศไทย เป็นต ้น สําหรับประเทศไทย เมื7อปี 2548 ได ้มีการจัดตัOงแผนกคดีสิ7งแวดล ้อมในศาลฎีกา เป็นลักษณะศาลชํานัญพิเศษ ประกอบด ้วยคณะ ผู้พิพากษาผู้เชี7ยวชาญด ้านกฎหมายสิ7งแวดล ้อม 8 คน ทําหน้าที7พิจาณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญา ที7เป็นคดีสิ7งแวดล ้อม และในปี 2549 ก็มีการจัดตัOงแผนกคดีสิ7งแวดล ้อมในศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ ภาค 1-9 เป็นลําดับ ต่อมาในปี 2554 ได ้มีการจัดตัOงแผนกคดีสิ7งแวดล ้อมขึOนในศาลปกครองชัOนต ้น และศาลปกครองสูงสุด ทําหน้าที7พิจารณาพิพากษาและดําเนินการทัOงปวงในคดีปกครองเกี7ยวกับสิ7ง แวดล ้อม 4. "รูปแบบอื7นๆ" เช่น คณะกรรมการเพื7อพิจารณาค่าเสียหายทางสิ7งแวดล ้อม ในประเทศญี7ปุ่ น และ ประเทศเกาหลีใต ้ เป็นต ้น US Environmental Protection Agency www.epa.gov The EPA Connect blog will highlight regular posts from EPA's leadership across the country and spanning all program areas on a range of topics of importance to the agency. September 20 at 3:21pm · Edited · Unlike · 1 · Remove Preview Paeng Jitsong สําหรับกลุ่มประเทศที7"ไม่มี"การจัดตัOงศาลสิ7งแวดล ้อมนัOน ได ้อาศัยการใช ้และ การปรับปรุงระบบความยุติธรรมแบบเดิม โดยเริ7มจากการสร ้างผู้พิพากษาผู้เชี7ยวชาญ (Green Judge) เป็นการเน้นความรู้ความเชี7ยวชาญเฉพาะด ้านของตัวผู้พิพากษา โดยมีแนวความคิดที7ว่าแม ้ตัOง ศาลเฉพาะทางแต่ตัวผู้พิพากษาไม่เข ้าใจ ไม่มีความรู้ความเชี7ยวชาญกฎหมายสิ7งแวดล ้อม ก็ไม่มี ประโยชน์ รูปแบบนีOจึงเป็นรูปแบบที7เป็นการพัฒนาจากภายใน (Development from within) รูป แบบนีOเป็นที7นิยมในกลุ่มประเทศแถบยุโรป (ประเทศเยอรมนี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ และฝรั7งเศส) ตัวอย่างเช่น ประเทศฝรั7งเศสศาลมีการกําหนดมาตรการก่อนคําพิพากษาสําหรับกรณีฉุกเฉิน กรณีปกติ และกรณีเฉพาะ และศาลยังสร ้างระบบความรับผิดแบบใหม่ เรียกว่า ค่าเสียหายทางสิ7งแวดล ้อม (Le préjudice écologique) เพื7อมุ่งหมายชดเชยความเสียหายให ้สิ7งแวดล ้อมเป็นหลัก เป็นระบบความรับ ผิดที7ต่างจากระบบความยุติธรรมแบบเดิมที7มุ่งชดเชยความเสียหายให ้แก่ผู้เสียหาย ศาลฝรั7งเศสได ้ พยายามนําหลักนิติธรรมทางสิ7งแวดล ้อมและหลักนิติวิธีทางสิ7งแวดล ้อมมาใช ้โดยเห็นเป็นประจักษ์ใน คดีเรือ Erika อับปาง ศาลได ้พิพากษาชดใช ้ค่าเสียหายทางสิ7งแวดล ้อมให ้กับฝ่ ายปกครองท ้องถิ7นและ องค์กรเอกชนทางสิ7งแวดล ้อม นอกจากนีOยังมีนวัตกรรมทางกฎหมายใหม่ๆ โดยศาลมีบทบาทในการพยายามขจัดอุปสรรคต่างๆ เพื7อ สนับสนุนให ้ประชาชนสามารถเข ้าถึงกระบวนการยุติธรรม (Access to justice) ตัวอย่างเช่น ศาลของ รัฐอเมซอนนาส ประเทศบราซิล มีนโยบายเข ้าถึงประชาชนเพื7ออํานวยความยุติธรรมทางสิ7งแวดล ้อม โดยจัดให ้มีศาลเคลื7อนที7 (Traveling Court) เป็นลักษณะรถบัสพร ้อมอุปกรณ์ครบครัน ดําเนินการ ตัดสินคดี ให ้ความรู้ การศึกษาแก่ประชาชน เช่น ชุมชนกลางป่ าอะเมซอน ไปพร ้อมๆ กัน อีกตัวอย่าง หนึ7งคือ ในรัฐควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย ที7มีพืOนที7กว ้างขวางก็จัดให ้มีผู้พิพากษาเดินทางเข ้าถึง ประชาชน (Flying Judge) เพื7อช่วยอํานวยความยุติธรรมให ้แก่ประชาชน เป็นต ้น กฤษณะ ช่างกล่อม, การจัดตัOงศาลสิ7งแวดล ้อมกับปัญหาระบบความยุติธรรมไทย (สํานักพิมพ์วิญfูชน, 2556). http://infosurhoy.com/.../main/2013/02/27/feature-02 น.ส.ธมนวรรณ จิตสงค์ 5601034613 Brazil: Justice from North to South infosurhoy.com A new law requires all Brazilian states and the Federal District to introduce itinerant courts by April to resolve conflicts in rural areas. September 20 at 3:42pm · Edited · Unlike · 1 · Remove Preview วีระยุทธ หอมชื*น ตัวอย่างการมีบทบาทของสภาทนายความต่อการใช ้สิทธิทางศาลเพื7อคุ้มครองผู้ ได ้รับความเสียหายในคดีสารตะกั7วปนเปืOอนในลําห ้วยคลิตีO: สภาทนายความได ้รับมอบอํานาจจาก กรรมการหมู่บ ้านคลิตีOจํานวน 13 ราย ได ้ยื7นฟ้องกรมควบคุมกรมควบคุมมลพิษต่อศาลปกครอง เมื7อวัน ที7 23 กุมภาพันธ์ 2547 ในความผิดฐานละเว ้นปฎิบัติหน้าที7และปฎิบัติหน่าที7ล ้าช ้า โดยขอให็ศาลสั7ง ให ้กรมควบคุมมลพิษเร่งดําเนินการฟืOนฟูลําห ้วยคลิตีO (คําฟ้องคดีหมายเลขดําที7 214/2547 ) ซึ7งต่อ มาได ้เพิ7มประเด็นค่าเสียหาย เนื7องจากผู้ฟ้องคดีเห็นว่ากรมควบคุมมลพิษมีอํานาจหน้าที7เรียกค่าเสีย หายอันเกิดจากการที7◌ืรัพยากรธรรมชาติถูกทําลาย หรือถูกทําให ้เสียหายในมาตรา 97 ของ พรบ. ส่ง เสริมฯ แต่ไม่ดําเนินการ ซึ7งถือเป็นการละเมิดสิทธิการใช ้สอยประโยชน์และพึ7งพิงทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนความหลากหลายทางชีวภาพจากลําห ้วย (คําร ้องขอแก ้ไขคําพิพากษาเลขดําที7 214/2547) ต่อมาศาลได ้มีคําพิพพากษาว่า "...กรมควบคุมมลพิษปฎิบัติหน้าที7ในการฟืOนฟูหรือระงับการปนเปืOอน ของสารตะกั7วในลําห ้วยล่าช ้าเกินสมควร อีกทัOง กรมควบคุมมลพิษละเลยหน้าที7ในการเรียกค่าเสียหาย จากผู้ประกอบการที7เป็นผู้ก่อให ้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติที7ระบุไว ้ในมาตรา 97 ศาล ตัดสินให ้กรมควบคุมมลพิษชดใช ้ค่าเสียหานต่อชาวบ ้านรวมเป็นเงินทัOงสิOน 743,226 บาท..." (ปณิดา พัฒนพงศ์, Thesis การดําเนินคดีสิ7งแวดล ้อมโดยองค์กรเอกชนม, 2554, น. 109) ดังกล่าวมาเป็น ตัวอย่างของสภาทนายความที7ให ้ความช่วยเหลือการใช ้สิทธิทางศาลดําเนินคดีแทนผู้เสียหาย September 20 at 5:24pm · Unlike · 1 วีระยุทธ หอมชื*น นาย วีระยุทธ หอมชื7น 5601034563 September 20 at 5:25pm · Like Ormsin Salinwan Kruathes ความยุติธรรมที7ล่าช ้าก็คือการปฏิเสธความยุติธรรม (Justice delayed is justice denied)
  • 5. 24/09/13 8:51 AM(3) You and Auii Thestar Page 5 of 14https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar ความยุติธรรมที7ล่าช ้าก็คือการปฏิเสธความยุติธรรม เป็นภาษิตกฎหมายที7ตกทอดมาตัOงแต่สมัยโรมันแล ้ว มีหมายความว่า ถ ้ากฎหมายจัดให ้มีการเยียวยาความเสียหายแก่ผู้เสียหาย แต่การเยียวยานัOนไม่ทันกาล ก็ไม่ต่างอะไรกับว่าไม่ได ้เยียวยา กระบวนการยุติธรรมยังต ้องการ หลักประกันในมิติของเวลา เพราะเวลาที7ล่วงเลยไปเป็นปัจจัยสําคัญที7 ส่งผลกระทบต่อการค ้นหาความจริงและการวินิจฉัยที7ถูกต ้อง เพราะความล่าช ้าย่อมจะชักนําให ้เกิด ความเข ้าใจคลาดเคลื7อน ตามมาเช่นพยานหลักฐานบางชิOนหายไป หรือเสื7อมสภาพ หรือถูกกลบเกลื7อน บิดเบือน หรือคลายความชัดเจนไป กระบวนการพิจารณาจึงต ้องหาทางลดความเสี7ยงต่อความผิดพลาด บกพร่องเหล่านีOโดยจะต ้องมีหลักประกันที7จะให ้มีการสืบพยานเสียตัOงแต่เหตุการณ์เพิ7งจะผ่านไปอย่าง สดๆร ้อน ๆ แต่ในทางกลับกันการรีบร ้อนเกินไปก็อาจทําให ้ พยานหลักฐานไม่ครบถ ้วนได ้เช่นเดียวกัน การด่วนตัดสินคดีโดยไม่ปล่อยให ้เวลาผ่านไปเพียงพอก็อาจจะทําให ้การรวบรวมพยานหลักฐาน และ การให ้เหตุผลในการวินิจฉัยบกพร่องไป และกลายเป็นความเสี7ยงต่อความผิดพลาดได ้เช่นเดียวกัน นอกจากความแน่นอนถูกต ้องของการแสงหาข ้อเท็จจริง เวลายังมีผลในแง่ความสมประโยชน์ของการ ตัดสินคดี เพราะหากเวลาได ้ผ่านไปนานๆ คําตัดสินที7แม ้จะวินิจฉัยตามความจริงและชอบด ้วยกฎหมาย อาจจะไร ้ประโยชน์ไปแล ้วก็ได ้ ด ้วยเหตุนีOความไม่เป็นธรรมอาจจะไม่ได ้เกิดจากข ้อเท็จจริงที7ไม่ถูกต ้อง หรือการปรับใช ้กฎหมายที7ผิด พลาดเท่านัOน แต่ยังอาจจะเกิดจากการที7คําพิพากษามาถึงล่าช ้าเกินกว่าที7จะเยียวยาความเสียหายแล ้ว ก็ได ้ โดยหลักการดังกล่าวนีOตัOงอยู่บนสิทธิในการเข ้าถึงการพิจารณาคดีอย่างรวดเร็วและสิทธิอื7นๆทํานอง เดียวกันที7มีความมุ่งประสงค์เพื7อขับเคลื7อนให ้กระบวนการยุติธรรมมีความรวดเร็วขึOน (กิตติศักดิU ปรกติ, วิกฤตและโอกาสในการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางแพ่งและพาณิชย์, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์) September 20 at 11:35pm · Edited · Unlike · 1 Ormsin Salinwan Kruathes หลักการเข ้าถึงกระบวนการยุติธรรมของรัฐ การเข ้าถึงกระบวนการยุติธรรมของรัฐ (Access to Justice) เป็นแนวคิดและการดําเนินการที7รัฐจะ ต ้องเข ้าไปดําเนินการและกําหนดเป็นนโยบายหลักของการบริหารจัดการประเทศเพื7อยกระดับและสร ้าง ความเท่าเทียมให ้แก่ประชาชนในการได ้รับโอกาสและเป็นการคุ้มครองสิทธิของประชาชน รากฐานของ ของการเข ้าถึงความยุติธรรมของรัฐมีที7มาจากแนวคิดในเรื7องของ ความเท่าเทียมกันทางสังคม (Social Justice) ซึ7งเป็นแนวคิดรากฐานประการหนึ7งของกรอบแนวคิดแบบประชาธิปไตย (Democratic Scheme) พัฒนาการการเข ้าถึงความยุติธรรม 1. ยุคแรก (1960) - ในยุคแรกนีOแนวคิดการพัฒนาเพื7อต ้องการเข ้าถึงระบบศาลและนักกฎหมาย โดยเฉพาะมีประเด็นเรื7อง ค่าใช ้จ่ายในคดี ความล่าช ้า และความซับซ ้อนในระบบกฎหมาย - การให ้ความช่วยเหลือจากรัฐในด ้านสวัสดิการ การให ้ความช่วยเหลือคลินิกกฎหมายและระบบประกัน ให ้คนยากจนได ้รับประโยชน์จากการบริการทางกฎหมาย เป็นสิ7งที7จําเป็นและจะช่วยทําลายอุปสรรคขัด ขวางการเข ้าถึงความยุติธรรมได ้ 2.ยุคที7สอง (1970) - การเข ้าถึงความยุติธรรมมีผลกระทบต่อชนชัOนกลางและคนยากจน เนื7องจากประเด็นค่าใช ้จ่ายในคดี - เริ7มมองว่าการช่วยเหลือทางกฎหมายยังไม่เพียงพอ จึงเริ7มมีการปฏิรูปโครงสร ้างสถาบัน ในการ ดําเนินการของศาล การพิจารณาคดี ปรับกลไกและโครงสร ้างการฟ้องคดี การจัดตัOงศาลมโนสาเร่ การ แก ้ไขหลักการไต่สวนให ้ศาลเข ้ามามีบทบาทในการไต่สวนให ้มากที7สุด รวมถึงการยกเว ้นค่าธรรมเนียม ในบางกรณี 3. ยุคที7สาม (1980) - เริ7มพัฒนาการแก ้ไขข ้อพิพาทแบบทางเลือก เช่นการนําเอาระบบไกล่เกลี7ย และระบบ อนุญาโตตุลาการมาใช ้ - การแก ้ไขข ้อพิพาทแบบทางเลือกนํามาปรัชใช ้พร ้อมๆกับการพัฒนากลไกการเข ้าสู่ข ้อยุติทางแพ่ง โดยไม่ผ่านศาล มีการจัดทําสัยญามาตรฐานเพื7อการคุ้มครองผู้บริโภค 4. ยุคที7สี7 (1990) - ความคิดเกี7ยวกับความยุติธรรม สะท ้อนออกมาในรูปแบบของ การตัดสินของศาล. - มีกลไกที7จะช่วยระวังข ้อพิพาทหรือความขัดแย ้ง โดยการมีกฎหมายในเชิงป้องกัน - สนับสนุนให ้ประชาชนมีส่วนร่วมในการยกร่างกฎหมาย การจัดทํานโยบายสาธารณะควรให ้ผู้แทนของ ประชาชนหรือองค์กรที7ไม่ใช่ของรัฐเข ้ามามีส่วนร่วมด ้วย - เริ7มตระหนักว่า การมีกฎหมายจํานวนมากและฟุ่ มเฟือย อาจไม่ใช่หลักประกันการเข ้าถึงความยุติธรรม ได ้ 5. ยุคที7ห ้า (ปัจจุบัน) - ยอมรับกว่าการแก ้ไขข ้อพิพาทแบบทางเลือกและการออกกฎหมายเชิงป้องกัน มากขึOน - พัฒนาการสร ้างความเป็นธรรมในเชิงสารบัญญัติและวิธีสบัญญัติ เปิดโอกาสที7เท่าเทียมในการได ้รับ สิทธิตามที7กฎหมายรับรอง การเข ้าถึงบริการทางสังคม การชดเชยเหยื7อหรือผู้เสียหาย โดยเฉพาะคน ยากจนในการฟ้องร ้องคดี (โครงการจัดทําแผนการดําเนินงานเพื7อปรับปรุงแลพัฒนาการเข ้าถึง กระบวนการยุติธรรมของรัฐ, สํานักงานกิจการยุติธรรม, กระทรวงยุติธรรม) September 20 at 11:36pm · Edited · Unlike · 1 Ormsin Salinwan Kruathes สลิลวรรณ เครือเทศน์ 5601034779 September 20 at 11:23pm · Unlike · 1 Chutinan Rasmee ในปัจจุบันรัฐธรรมนูญเสรีประชาธิปไตยได ้มีการจัดระเบียบการใช ้อํานาจ อธิปไตยอยู่บนพืOนฐานของหลักแบ่งแยกอํานาจ หลักแบ่งแยกอํานาจ (Separation of powers) นีO มีผู้ที7นําหลักมาเผยแพร่ได ้ดีที7สุดคือ Montesquieu ซึ7งอยู่ในหนังสือ “เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย” (L’Esprit des Lois) โดยอธิบายว่า ใน ทุกรัฐจะมีอํานาจอยู่สามอย่างคืออํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการ ในกรณีนีOขอ อธิบายเพียงเฉพาะความหมายของอํานาจบริหาร อํานาจบริหารคืออะไร? อํานาจบริหารถูกอธิบายในเชิงปฏิเสธว่า คืออํานาจที7ไม่ใช่อํานาจในทางนิติบัญญัติและไม่ใช่อํานาจใน ทางตุลาการ ซึ7งหมายความว่านอกจากอํานาจในการกําหนดกฎหมายและอํานาจในการพิจารณาตัดสิน คดีแล ้ว อํานาจที7รัฐใช ้กระทําการคืออํานาจบริหาร และอํานาจบริหารสามารถแบ่งการกระทําได ้เป็น 2 แบบดังนีO 1.) การกระทําทางรัฐบาล เป็นการใช ้อํานาจตามกฎหมายรัฐธรรมนูญโดยตรง เรียกว่าเป็นการใช ้อํานาจทางการเมือง ใช ้อํานาจ กําหนดนโยบายรัฐ เน้นในเรื7องอํานาจหน้าที7เพื7อการดํารงอยู่ของรัฐ ความปลอดภัย ความมั7นคงและ ความเจริญก ้าวหน้าของรัฐ เช่น การกําหนดค่าแรงขัOนตํ7า นโยบายค่าครองชีพ เรื7องความสัมพันธ์ ทางการทูต เป็นต ้น 2.) การกระทําทางปกครอง เป็นการใช ้อํานาจตามกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ เป็นการใช ้อํานาจหน้าที7ในการจัดทําบริการ สาธารณะเพื7อสนองความต ้องการส่วนร่วม เป็นภารกิจของรัฐโดยทั7วไป ดังนัOนเพื7อให ้ภารกิจเหล่านัOน บรรลุผลได ้จึงจําต ้องให ้เจ ้าหน้าที7ของรัฐมีสถานะพิเศษเหนือกว่าประชาชน แต่อย่างไรก็ตามเมื7อมี อํานาจก็มักเกิดการใช ้อํานาจตามอําเภอใจ ดังนัOนเพื7อเป็นการประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน จึงต ้อง นําหลัก”นิติรัฐ” มาใช ้เพื7อให ้เจ ้าหน้าที7ดําเนินการภายในกรอบของกฎหมาย ซึ7งก็คือ “หลักความชอบ ด ้วยกฎหมายของการกระทําทางปกครอง” โดยทําให ้เกิดผลสําคัญ 2 ประการก็คือ 1. เจ ้าหน้าที7จะใช ้อํานาจได ้เท่าที7กฎหมายให ้อํานาจไว ้เท่านัOน (หลักไม่มีกฎหมายไม่มีอํานาจ) 2. กฎหมายเป็นกรอบการกระทําในทางปกครอง กล่าวคือเจ ้าหน้าที7จะออกคําสั7งหรือกําหนดมาตรการ ให ้ขัดแย ้งกับบทบัญญัติแห่งกฎหมายไม่ได ้ (หลักกฎหมายสูงสุด) และเมื7อนึกตามสุภาษิตโรมันที7ว่า “ที7ใดมีสังคม ที7นั7นมีกฎหมาย” (UBI SOCIETAS, IBI IUS) และเมื7อมี กฎหมายแล ้วก็ย่อมต ้องมีการนํากฎหมายไปใช ้บังคับ และฝ่ ายที7นําไปใช ้ก็คือ ฝ่ ายบริหารนั7นเอง ซึ7ง ฝ่ ายบริหารนัOนเปรียบเสมือนแขนขาของฝ่ ายนิติบัญญัติ เราจึงมิอาจปฏิเสธได ้ว่า ในทางบริหารนัOนก็ย่อม ต ้องมีนักกฎหมายอยู่ เช่น อัยการ และนักกฎหมายภาครัฐ(นิติกร) และนักกฎหมายเหล่านีOหากมีความรู้ ความเข ้าใจเกี7ยวกับกฎหมายที7ดี ก็จะเป็นส่วนสําคัญในการช่วยพัฒนากฎหมายสิ7งแวดล ้อมในประเทศ ได ้เช่นกัน ที7มา : รศ.สมยศ เชืOอไทย,กฎหมายมหาชนเบืOองต ้น สํานักพิมพ์วิญfูชน , ดร.ชาญชัย แสวงศักดิU,คํา อธิบายกฎหมายปกครอง สํานักพิมพ์วิญfูชน (ชุตินันท์ รัศมี 5601034589)
  • 6. 24/09/13 8:51 AM(3) You and Auii Thestar Page 6 of 14https://www.facebook.com/schacrit?and=auii.thestar September 20 at 11:32pm · Unlike · 1 Somsak Wongranght http://thaipublica.org/2013/03/lesson-environmental- cases/ เมื7อวันที7 23 กุมภาพันธ์ 2556 คณะกรรมการสิ7งแวดล ้อมสภาทนายความ จัดงานเสวนาแลกเปลี7ยน ประสบการณ์ในการทําคดีสิ7งแวดล ้อมที7มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เพื7อให ้ฝ่ ายตุลาการ ผู้ที7 เกี7ยวข ้อง และผู้ที7สนใจ ร่วมแสดงความคิดเห็นต่อข ้อเสนอในการดําเนินคดีสิ7งแวดล ้อม ซึ7งทางสภา ทนายความเคยจัดประชุมสรุปบทเรียนมาแล ้ว 2 ครัOง เมื7อวันที7 2 และ 22 กันยายน 2555 ในโครงการ “สรุปบทเรียน ปัญหา และอุปสรรคในการดําเนินคดีสิ7งแวดล ้อมและทรัพยากรธรรมชาติ”ในโครงการ สรุปบทเรียน ทนายความคดีสิ7งแวดล ้อมจะร่วมกันแลกเปลี7ยนปัญหาและอุปสรรคที7เกิดขึOน พร ้อมเสนอ แนวทางแก ้ไขปัญหา โดยแบ่งคดีสิ7งแวดล ้อมเป็น 5 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มคดีเกี7ยวกับสารพิษและวัตถุ อันตราย/คดีสิ7งแวดล ้อมจากการทํางาน กลุ่มคดีที7ดินป่ าไม ้ กลุ่มคดีตรวจสอบการดําเนินโครงการที7อาจ ส่งผลกระทบต่อสิ7งแวดล ้อมและชุมชน กลุ่มคดีที7ฟ้องหน่วยงานรัฐปฏิบัติหน้าที7ตามกฎหมาย และกลุ่ม คดีเกี7ยวเนื7องจากการใช ้สิทธิด ้านสิ7งแวดล ้อมของชุมชนกลุ่มคดีเกี7ยวกับสารพิษและวัตถุอันตราย/คดี สิ7งแวดล ้อมจากการทํางาน มีปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินคดีหลายประเด็นกว่าคดีกลุ่มอื7นๆ ซึ7งมีคดี กรณีตัวอย่างที7น่าสนใจ ดังนีOคดีโรงงานทอผ ้ากรุงเทพจากกรณีลูกจ ้างของบริษัทโรงงานทอผ ้ากรุงเทพ จํากัด จํานวน 38 คน ฟ้องบริษัทและกรรมการ หลังจากเป็นโรคปอดอักเสบ (บิสซิโนซีส) เนื7องจากฝุ่ น ฝ้ายจากการทํางาน ซึ7งฟ้องในปี 2538 เรียกค่าเสียหาย 57 ล ้านบาทสําหรับกรณีนีO ศาลวินิจฉัยว่า โจทก์ทัOง 38 คน ทราบการทําละเมิดของจําเลยทัOงสองแล ้วตัOงแต่วันที7โจทก์ทัOงหมดไปตรวจร่างกายที7 คลินิกอาชีววิทยาศาสตร์และสิ7งแวดล ้อม โรงพยาบาลราชวิถี และพบว่าป่ วยเป็นโรคบิสซิโนซีส หรือ ตัOงแต่วันที7กรรมการกองทุนเงินทดแทนวินิจฉัยว่าเป็นโรคดังกล่าวและจ่ายค่าทดแทนให ้ ซึ7งไม่ว่านับ ระยะเวลาตอนไหนคดีนีOก็พ ้น 1 ปีแล ้ว แต่เนื7องจากโจทก์บรรยายฟ้องมาด ้วยว่า จําเลยทัOงสองทํา ละเมิดต่อโจทก์มาตลอดจนถึงปัจจุบันคดีจึงยังไม่ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 40 เพราะศาลมองว่าเป็นเหตุ “ละเมิดต่อเนื7อง”ในปี 2546 ศาลแรงงานกลางชัOนต ้นพิพากษา ให ้จําเลยชดใช ้ค่าเสียหายคนละ 1-2 แสนบาท รวม 37 คน เพราะเป็นแหล่งปล่อยมลพิษทําให ้ผู้อื7น ได ้รับอันตราย ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ7งแวดล ้อมแห่งชาติ ทัOงนีO ศาลยกฟ้องโจทก์ 1 คน เพราะไม่เป็นโรคปอดอักเสบ แต่โจทก์ยื7นอุทธรณ์ในปี 2550 ศาลแรงงานกลางชัOนอุทธรณ์ พิพากษาคดีที7จําเลยอุทธรณ์ โดยยืนตามคําพิพากษาชัOนต ้น ให ้จ่ายค่าสินไหมทดแทนแกโจทก์ทัOง 37 คน เป็นจํานวนเงิน 10,000-110,000 บาทต่อคน ใน 15 วัน เนื7องจากนายจ ้างละเมิดกฎหมาย คุ้มครองแรงงานและคนป่ วยนาน 11 ปี โดยผ ้าปิดจมูกไม่ได ้มาตรฐานและไม่ปรับปรุงให ้ดีขึOน รวมถึงไม่ ปรับปรุงสภาพแวดล ้อมในโรงงานให ้ดีขึOนด ้วยส่วนคดีฟ้องกรรมการนัOน ศาลพิพากษาให ้กรรมการไม่ ต ้องรับผิดเป็นการส่วนตัว เพราะเห็นว่ากรรมการกระทําภายในขอบเขตอํานาจของบริษัท บทเรียนคดีสิ*งแวดล้อม จากสารพิษถึงการทํางาน “คดีคลิตีJ-เดอะบีช- ซานติก้าผับ” ... thaipublica.org บทเรียนคดีสิ7งแวดล ้อม จากสารพิษถึงการทํางาน "คดีคลิตีO-เดอะบีช-ซานติก ้า ผับ" September 21 at 9:21am via mobile · Unlike · 1 · Remove Preview Somsak Wongranght จากบทเรียนคดีสิ7งแวดล ้อมดังกล่าว พอสรุปได ้ว่า 1ทนายความในบทบาท นักกฎหมายเหมือนยาดําที7มีบทบาทในทุกขัOนตอนของ กระบวนยุติธรรมสิ7งแวล ้อม 2 ทนายที7ดีมีจริยธรรมเป็นส่วนสนับสนุนสําคัญในการเยียวยาความเสียหายและอนุรักษสิ7งแวดล ้อม 3คุณค่าของนักกฎหมายไม่จํากัดเฉพาะการเป็นตุลาการอัยการแต่อยู่ที7ทํางานที7จนรับผิดชอบให ้เต็ม กําลังความรู้ความสามารถโดยวิธีการที7ชอบด ้วยกฎหมาย สมศักดิU วงศ์ราษฎร์ September 21 at 9:52am via mobile · Unlike · 1 Somsak Wongranght สมศักดิU วงศ์ราษฎร์ 5601034720 September 21 at 9:55am via mobile · Unlike · 1 Apitchaya Timpitak ทรัพยากรธรรมชาติและสิ7งแวดล ้อม ไม่ใช่ของต ้องห ้าม มิให ้แตะต ้องหรือ ใช ้ประโยชน์ แท ้จริงแล ้วทรัพยากรธรรมชาติและสิ7งแวดล ้อมนีO ประชาชนสามารถใช ้ประโยชน์ได ้ ขอ แต่เพียงใช ้อย่างฉลาด และขณะเดียวกันก็ต ้องช่วยกันบํารุงรักษาและสร ้างขึOนใหม่ เราคงไม่อาจ แสวงหาทรัพยากรจากโลกอื7นได ้ หากมีการใช ้ทรัพยากรหรือรักษาสิ7งแวดล ้อม โดยไม่ได ้บริหารจัดการ ให ้ดีแล ้ว นับวันก็มีแต่ทรัพยากรธรรมชาติและสิ7งแวดล ้อมที7มีอยู่อย่างจํากัดก็จะสิOนสลายไป ชนรุ่นหลัง จะอยู่กันได ้อย่างไร เมื7อกล่าวถึงสิ7งแวดล ้อม ย่อมหมายถึงประโยชน์หรือสมบัติของสังคมส่วนรวม แต่เมื7อกล่าวถึงการใช ้ หรือหาประโยชน์จากสิ7งแวดล ้อม ก็มักจะคิดถึงผลประโยชน์ของปัจเจกชน การปกป้องรักษาสิ7ง แวดล ้อม ไม่อาจสําเร็จได ้โดยลําพังของคน ๆ เดียวหรือรัฐ ๆ เดียว เนื7องจากสิ7งแวดล ้อมเป็นเรื7องสิ7งที7 อยู่รอบตัวมนุษย์ การที7คน ๆ หนึ7ง หรือประเทศ ๆ หนึ7ง มุ่งมั7นที7จะปกป้องรักษาสิ7งแวดล ้อม ในขณะที7 คนอื7น ๆ หรือประเทศอื7น ๆ มุ่งมั7นแต่จะทําลายหรือเพิกเฉย การอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อม ย่อมไม่มีทางสําเร็จ ได ้ การทําความเข ้าใจปลุกจิตสํานึกของคนทุกคนในสังคมหรือรัฐบาลทุกประเทศ ให ้ร่วมมือกันอนุรักษ์ สิ7งแวดล ้อม จึงเป็นการแก ้ปัญหาที7ต ้นเหตุ และการที7สิ7งแวดล ้อมมีความเกี7ยวพัน ทัOงตัวบุคคลทั7วโลก และพืOนที7ทั7วโลก ทัOงบนดิน ใต ้ดิน นํOา และอากาศ สัตว์และพืชทั7วโลก รวมทัOงการอยู่อาศัยอย่างมี คุณภาพชีวิตของมนุษย์และสัตว์ จึงทําให ้ต ้องมีกฎหมายสิ7งแวดล ้อมระหว่างประเทศ และกฎหมายสิ7ง แวดล ้อมภายในประเทศ September 21 at 11:35am · Unlike · 1 Apitchaya Timpitak อํานาจอธิปไตยในรัฐ ๆ หนึ7งที7ปกครองด ้วยระบอบประชาธิปไตยประกอบ ด ้วย อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหารและอํานาจตุลาการ สถาบันที7ใช ้อํานาจอธิปไตยทัOงสาม ล ้วน แต่มีบทบาทที7สําคัญต่อการอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อม กล่าวคือ ฝ่ ายนิติบัญญัติมีหน้าที7ในการออกกฎหมายที7 พิทักษ์สิ7งแวดล ้อม และดูแลผลกระทบต่อสิ7งแวดล ้อม ในขณะที7ฝ่ ายบริหาร มีหน้าที7ในการใช ้อํานาจ ทางปกครอง ให ้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ในขณะที7ฝ่ ายตุลาการ มีหน้าที7ตีความบังคับใช ้กฎหมายให ้มี ประสิทธิภาพ และวางบรรทัดฐานของกฎหมายสิ7งแวดล ้อม การทําหน้าที7ของแต่ละฝ่ าย ล ้วนแต่ต ้อง อาศัยบุคลากรที7มีความรู้ความเข ้าใจ ในกฎหมายสิ7งแวดล ้อมเป็นอย่างดี เพราะกฎหมายสิ7งแวดล ้อมเป็น กฎหมายพิเศษที7ต ้องร่าง ใช ้ตีความและบังคับการ โดยหลักการและวิธีการที7เป็นพิเศษแตกต่างจาก กฎหมายทั7วไปเพื7อให ้บรรลุจุดประสงค์ที7จะอนุรักษ์สิ7งแวดล ้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทัOง การใช ้ทรัพยากรแบบยั7งยืน (resource conservation and sustainable use) (อ ้างอิง ภัทรศักดิU วรรณแสง (ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ ประจําสํานักประธานศาลฎีกา) บทความกฎหมายเรื7องบทบาทของ ศาลยุติธรรมกับกฎหมายสิ7งแวดล ้อม http://www.dlo.co.th/node/252) น.ส. อภิชญา ทิมพิทักษ์ 5601034621 บทบาทของศาลยุติธรรมกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม | สํานักกฎหมายธรรม นิติ www.dlo.co.th ผู้เขียน: ภัทรศักดิU วรรณแสง*วันที7: 19 สิงหาคม September 21 at 11:35am · Unlike · 1 · Remove Preview Kantima Mutchakit ในแง่ของนักกฎหมาย คดีสิ7งแวดล ้อมมีลักษณะคดีและเจตนารมณ์แตก ต่าง จากคดีแพ่งและคดีอาญาทั7วไปดังกล่าวแล ้ว ประเทศไทยมีนักกฎหมายเฉพาะด ้านหลายสาขา กฎหมายแล ้ว เช่น กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายแรงงาน กฎหมายภาษี กฎหมายธุรกิจการค ้า ฯลฯ แต่ยังขาดแคลนนักกฎหมายสิ7งแวดล ้อม ที7มีความรู้ความเข ้าใจในกฎหมายสิ7งแวดล ้อมอย่าง ถ่องแท ้และจริงจังเพราะการพัฒนา อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีย่อมมีผลกระทบต่อสิ7งแวดล ้อม คดี เกี7ยวกับกฎหมายสิ7งแวดล ้อมมีความซับซ ้อน ลําพังแต่ความรู้ในทางนิติศาสตร์ยังไม่เพียงพอ ต ้องอาศัย ความรู้ทางด ้านสิ7งแวดล ้อม และมาตรการทางกฎหมายเป็นพิเศษที7เหมาะสม แก่การแก ้ไขปัญหาหรือ ข ้อพิพาทเกี7ยวกับสิ7งแวดล ้อมที7เกิดขึOนได ้ ในหลักกฎหมายสิ7งแวดล ้อมในต่างประเทศ ได ้กําหนดเป็น หลักการที7มอบความไว ้วางใจแก่ศาลเป็นอย่างมาก ในการใช ้ดุลพินิจที7เหมาะสมแก่รูปคดี เหตุที7เป็น เช่นนีOเพราะกระบวนการในศาล เป็นกระบวนการที7เปิดเผยต่อสาธารณชน เปิดโอกาสให ้ผู้เกี7ยวข ้องหรือ ผู้มีส่วนได ้เสียทุกฝ่ าย เข ้ามาใช ้สิทธิทางศาลได ้อย่างกว ้างขวาง และคําสั7งศาลถูกตรวจสอบได ้ในตัว เองเนื7องจากคําพิพากษาต ้องประกอบไปด ้วยหลักกฎหมายและเหตุผล และยังอาจถูกตรวจสอบโดย