SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
วิกฤตซับไพรมในอเมริกา

                         สฤณี อาชวานันทกุล
                        Fringer | คนชายขอบ
                      http://www.fringer.org/
                                วันที่ 15 ตุลาคม 2551
แหลงขอมูล: สไลดประกอบสวนใหญนํามาจาก http://www.slideshare.net/econman/the-
                        credit-crisis-of-2008a-presentation

                      งานนี้เผยแพรภายใตลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial
                      Share Alike (by-nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงาน
                      ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้ไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไม
                      นําไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใตลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น
รากของปญหา: ฟองสบูอสังหาริมทรัพย
เชื้อเพลิงฟองสบู: ภาวะดอกเบี้ยต่ํา
การแปลงสินเชื่อบานเปนหลักทรัพย
                      ปญหาตัวแทน (principal-agent problem) : ไม
                      มีใครทําหนาที่ดูแลลูกหนี้อีกตอไป เพราะ
                      1) นายหนาขายสินเชื่อไดคาคอมมิชชั่นทันทีจาก
                      การขายสินเชื่อบาน (ซึ่งเปนสินเชื่อระยะยาว)
                      2) ธนาคารแปลงสินเชื่อเปนหลักทรัพยมี
                      หลักประกัน (collateralized debt obligation =
                      CDO) ไปขายตอใหกับนักลงทุน วาณิชธนกรจัด
                      แพ็คเกจแยกขาย CDO เปน 3 ชั้น (5:20:75
                      tranches) ที่มีเครดิตแตกตางกัน โดย Tranche
                      1 (5% ของเงินตน) คือสวนทุนที่มีเครดิตแย
                      ที่สุด และ Tranche 3 (75%) คือสวนที่ ‘ดี’ ที่สุด
ปญหา moral hazard                                “credit ease”
• นิยามของ “ซับไพรม” ที่ใชกันทั่วไปคือ ลูกหนี้ที่มีอันดับเครดิต (FICO credit
  score) ต่ํากวา 620 แตเจาหนี้บางรายนิยามสินเชือเปน “ซับไพรม” สําหรับ
                                                   ่
  ลูกหนี้ที่มีอันดับเครดิตสูงถึง 680 ถาวางเงินดาวนต่ํากวา 5%
• ลูกหนี้ซับไพรมมักกูแบบ Adjustable-rate Mortgage (ARM) : เชน 2/28
  ARM หมายความวาดอกเบี้ยคงที่ สมมุติวา 8% เปนเวลาสองป หลังจากนั้น
  ปรับเปน 6-month LIBOR + 6% สําหรับ 28 ปที่เหลือ
• นอกจากนี้ยังไมตองวางเงินดาวน และกูไดเต็ม 100% ของราคาบาน
• Zimmerman (2007) พิสูจนวาสินเชื่อบานที่ปลอยในป 2006 ดอยคุณภาพกวา
  สินเชื่อที่ปลอยในป 2005 และ 2004 ตามลําดับ
• “Liar Loans” : ลูกหนี้สามารถโกหกในคําขอสินเชื่อไดเพราะเจาหนี้จะไม
  ตรวจสอบความถูกตอง
• NINJA : ลูกหนี้ที่ไมมีรายได งาน หรือสินทรัพย แตไดรับอนุมัติใหกู (ยอมา
  จาก No Income, No Job, and No Assets)
• บริษัทจัดอันดับเครดิต Standard & Poor’s ประเมินวาสินเชื่อซับไพรมปลอย
  ใหมมีมูลคาถึง $421 พันลานในป 2006, AMP Capital Investors ประเมินวา
  ยอดสินเชื่อซับไพรมทั้งอเมริกามีมูลคา $1.4 ลานลาน ณ สิ้นเดือน 7/2007
Credit Default Swap (CDS)
• “ประกัน” สําหรับกรณีทเกิดกรณีผิดเงือนไขสัญญาเงินกู
                          ี่          ่
  เชน ผิดนัดชําระหนี้ (credit event)
ความฉอฉล มักงาย และไมโปรงใส
• ความฉอฉล:
   – เงื่อนไขไมเปนธรรมที่หลอกลวงลูกหนี้ เชน ARM, universal default
   – Moody’s (สถาบันจัดอันดับเรทติ้ง) อางวามี “บั๊ก” ในโมเดล
     คอมพิวเตอรที่ทาใหหลักทรัพยบางอยางไดเรทติ้งสูงเกินไป
                     ํ
     (5/2008)
• ความมักงาย:
   – สถาบันการเงินหลายแหงกูเงินมากเกินไปมาลงทุน (over-
     leveraged) เชน 28 เทาของทุนในกรณีของ Lehman Brothers
• ความไมโปรงใส:
   – สถาบันการเงินใชเครื่องมือ “นอกงบดุล” เชน Special-Purpose
     Vehicle (SPV) ซอนขนาด exposure ที่แทจริงและเลียงภาษี
                                                          ่
   – ผลิตภัณฑบางชนิดซื้อขายกันตัวตอตัวในลักษณะ “over-the-
     counter” ทําใหไมมีใครรูขนาดที่แทจริง (เชน หลังจาก AIG ลม เรา
     ถึงไดรับรูวาตลาด CDS มีขนาด $62 ลานลาน หรือเกือบ 5 เทาของ
     GDP อเมริกาทั้งประเทศ!)
เมื่อลูกหนีผิดนัด...
           ้
ผลขาดทุนเปนทวีคูณของเงินตนซับไพรม
การดําเนินงานของธนาคาร
• “หนี้” ของธนาคารสวนใหญคือเงินฝาก ซึ่งสวนใหญมีระยะสั้น (เชน
  เงินฝากประจํา 2 ป) ในขณะที่ “สินทรัพย” สวนใหญเปนเงินกูระยะ
                                                             
  ยาว สินเชื่อบาน (หรือ CDO ซึ่งจัดเปน “เงินลงทุน”) มีระยะยาว
  ที่สุด คือ 25-30 ป
• ธนาคารตองบันทึกมูลคาของ “เงินลงทุน” ตามราคาตลาด
• ตัวอยาง – งบดุลของ Wachovia ณ 30/6/08 (กอนถูก Citigroup
  เทกโอเวอร):
              สินทรัพย                       หนี้และสวนทุน

  สินทรัพยระยะสั้น       $110      หนี้ระยะสั้น               $505
  สินทรัพยระยะยาว                  หนี้ระยะยาว                $230
     เงินลงทุน            $600      สวนทุน (ของผูถือหุน)     $75
     อื่นๆ                $100

  รวม                     $810      รวม                        $810
สาเหตุที่ธนาคารลม
                สินทรัพย                                หนี้และสวนทุน
   สินทรัพยระยะสั้น          -$90           หนี้ระยะสั้น               $305
   สินทรัพยระยะยาว                          หนี้ระยะยาว                $230
      เงินลงทุน               $500           สวนทุน (ของผูถือหุน)     -$25
      อื่นๆ                   $100

   รวม                        $510           รวม                       $510
• ลูกหนี้ผิดนัด + ราคาบานตกรูด         มูลคาตลาดของเงินลงทุนระยะยาวและ/หรือ
  สินเชื่อบานตกลงอยางฮวบฮาบ (สมมุติวาลดลง $100 ในตัวอยางขางตน)
• มูลคาเงินลงทุนที่ตกลงเรื่อยๆ ตองบันทึกเปนผลขาดทุน ซึ่งทําใหสวนทุนรอย
  หรอลงอยางรวดเร็วจนติดลบ            ธนาคารลมละลาย
• ในระหวางนี้ ถาเจาหนี้ (ผูฝากเงินหรือสถาบันการเงินอื่น) แหถอนเงินหรือเรียก
  หนี้คืนกอนกําหนด ธนาคารก็อาจขาดสภาพคลองจนลมละลายไดเชนกัน
• ทางแกคือขายสินทรัพยเนาออกไป และ/หรือเพิ่มทุน หรือทําทั้งสองอยาง
• ถารัฐรับซื้อสินทรัพยเนาในราคาสูง โดยไมยึดธนาคาร (ผานการเพิ่มทุน
  ซึ่งจะทําใหผูถือหุนเดิมถือหุนนอยลง) ก็แปลวาไมได “ลงโทษ” ธนาคาร
ปญหาหนีของภาคครัวเรือนยังไม ‘จบ’
         ้
• ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ 2008 จํานวนชาวอเมริกนที่มูลคาบานติดลบ
                                                 ั
  (negative equity) เพิ่มสูงเปน 8.8 ลานราย สูงเปนประวัตการณ
                                                          ิ
• ตลาดสินเชือบานทั้งประเทศมีมูลคา $11 ลานลาน (79% ของ
              ่
  GDP), ในจํานวนนี้ประมาณ 13% เปนซับไพรม
• ครัวเรือนสหรัฐเปนหนี้บัตรเครดิตประมาณ $1 ลานลาน สินเชือ่
  รถยนตอีก $700 พันลาน
• สินเชือเหลานีมักไมมีสินทรัพยค้ําประกัน ตองอาศัยความสามารถ
        ่         ้
  ในการชําระหนี้ของลูกหนี้เองลวนๆ
• ความสามารถนีถกลิดรอนดวยเงื่อนไขโหด และภาวะคาครองชีพสูง
                    ้ ู
• เงินผอนบานมักเปนหนีกอนสุดทายที่คนจะยอมผิดนัด
                          ้
• แสดงวาอาจมีหนี้เสียที่รอเวลาปะทุอีกนับแสนลานเหรียญ ยัง
  ไมนับหลักทรัพยและอนุพันธที่แปลงมาหรือตั้งอยูบนหนี้
  เหลานี้ ไมรูอีกจํานวนเทาไร??
จุดจบของลัทธิเสรีนิยมใหม?

“ตลาดเสรี” เคยมีอยูจริงหรือไม?
อะไรจะเกิดขึ้นตอไป?

More Related Content

More from Sarinee Achavanuntakul

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Credit Crisis

  • 1. วิกฤตซับไพรมในอเมริกา สฤณี อาชวานันทกุล Fringer | คนชายขอบ http://www.fringer.org/ วันที่ 15 ตุลาคม 2551 แหลงขอมูล: สไลดประกอบสวนใหญนํามาจาก http://www.slideshare.net/econman/the- credit-crisis-of-2008a-presentation งานนี้เผยแพรภายใตลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงาน ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้ไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไม นําไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใตลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น
  • 4. การแปลงสินเชื่อบานเปนหลักทรัพย ปญหาตัวแทน (principal-agent problem) : ไม มีใครทําหนาที่ดูแลลูกหนี้อีกตอไป เพราะ 1) นายหนาขายสินเชื่อไดคาคอมมิชชั่นทันทีจาก การขายสินเชื่อบาน (ซึ่งเปนสินเชื่อระยะยาว) 2) ธนาคารแปลงสินเชื่อเปนหลักทรัพยมี หลักประกัน (collateralized debt obligation = CDO) ไปขายตอใหกับนักลงทุน วาณิชธนกรจัด แพ็คเกจแยกขาย CDO เปน 3 ชั้น (5:20:75 tranches) ที่มีเครดิตแตกตางกัน โดย Tranche 1 (5% ของเงินตน) คือสวนทุนที่มีเครดิตแย ที่สุด และ Tranche 3 (75%) คือสวนที่ ‘ดี’ ที่สุด
  • 5. ปญหา moral hazard “credit ease” • นิยามของ “ซับไพรม” ที่ใชกันทั่วไปคือ ลูกหนี้ที่มีอันดับเครดิต (FICO credit score) ต่ํากวา 620 แตเจาหนี้บางรายนิยามสินเชือเปน “ซับไพรม” สําหรับ ่ ลูกหนี้ที่มีอันดับเครดิตสูงถึง 680 ถาวางเงินดาวนต่ํากวา 5% • ลูกหนี้ซับไพรมมักกูแบบ Adjustable-rate Mortgage (ARM) : เชน 2/28 ARM หมายความวาดอกเบี้ยคงที่ สมมุติวา 8% เปนเวลาสองป หลังจากนั้น ปรับเปน 6-month LIBOR + 6% สําหรับ 28 ปที่เหลือ • นอกจากนี้ยังไมตองวางเงินดาวน และกูไดเต็ม 100% ของราคาบาน • Zimmerman (2007) พิสูจนวาสินเชื่อบานที่ปลอยในป 2006 ดอยคุณภาพกวา สินเชื่อที่ปลอยในป 2005 และ 2004 ตามลําดับ • “Liar Loans” : ลูกหนี้สามารถโกหกในคําขอสินเชื่อไดเพราะเจาหนี้จะไม ตรวจสอบความถูกตอง • NINJA : ลูกหนี้ที่ไมมีรายได งาน หรือสินทรัพย แตไดรับอนุมัติใหกู (ยอมา จาก No Income, No Job, and No Assets) • บริษัทจัดอันดับเครดิต Standard & Poor’s ประเมินวาสินเชื่อซับไพรมปลอย ใหมมีมูลคาถึง $421 พันลานในป 2006, AMP Capital Investors ประเมินวา ยอดสินเชื่อซับไพรมทั้งอเมริกามีมูลคา $1.4 ลานลาน ณ สิ้นเดือน 7/2007
  • 6. Credit Default Swap (CDS) • “ประกัน” สําหรับกรณีทเกิดกรณีผิดเงือนไขสัญญาเงินกู ี่ ่ เชน ผิดนัดชําระหนี้ (credit event)
  • 7. ความฉอฉล มักงาย และไมโปรงใส • ความฉอฉล: – เงื่อนไขไมเปนธรรมที่หลอกลวงลูกหนี้ เชน ARM, universal default – Moody’s (สถาบันจัดอันดับเรทติ้ง) อางวามี “บั๊ก” ในโมเดล คอมพิวเตอรที่ทาใหหลักทรัพยบางอยางไดเรทติ้งสูงเกินไป ํ (5/2008) • ความมักงาย: – สถาบันการเงินหลายแหงกูเงินมากเกินไปมาลงทุน (over- leveraged) เชน 28 เทาของทุนในกรณีของ Lehman Brothers • ความไมโปรงใส: – สถาบันการเงินใชเครื่องมือ “นอกงบดุล” เชน Special-Purpose Vehicle (SPV) ซอนขนาด exposure ที่แทจริงและเลียงภาษี ่ – ผลิตภัณฑบางชนิดซื้อขายกันตัวตอตัวในลักษณะ “over-the- counter” ทําใหไมมีใครรูขนาดที่แทจริง (เชน หลังจาก AIG ลม เรา ถึงไดรับรูวาตลาด CDS มีขนาด $62 ลานลาน หรือเกือบ 5 เทาของ GDP อเมริกาทั้งประเทศ!)
  • 10. การดําเนินงานของธนาคาร • “หนี้” ของธนาคารสวนใหญคือเงินฝาก ซึ่งสวนใหญมีระยะสั้น (เชน เงินฝากประจํา 2 ป) ในขณะที่ “สินทรัพย” สวนใหญเปนเงินกูระยะ  ยาว สินเชื่อบาน (หรือ CDO ซึ่งจัดเปน “เงินลงทุน”) มีระยะยาว ที่สุด คือ 25-30 ป • ธนาคารตองบันทึกมูลคาของ “เงินลงทุน” ตามราคาตลาด • ตัวอยาง – งบดุลของ Wachovia ณ 30/6/08 (กอนถูก Citigroup เทกโอเวอร): สินทรัพย หนี้และสวนทุน สินทรัพยระยะสั้น $110 หนี้ระยะสั้น $505 สินทรัพยระยะยาว หนี้ระยะยาว $230 เงินลงทุน $600 สวนทุน (ของผูถือหุน) $75 อื่นๆ $100 รวม $810 รวม $810
  • 11. สาเหตุที่ธนาคารลม สินทรัพย หนี้และสวนทุน สินทรัพยระยะสั้น -$90 หนี้ระยะสั้น $305 สินทรัพยระยะยาว หนี้ระยะยาว $230 เงินลงทุน $500 สวนทุน (ของผูถือหุน) -$25 อื่นๆ $100 รวม $510 รวม $510 • ลูกหนี้ผิดนัด + ราคาบานตกรูด มูลคาตลาดของเงินลงทุนระยะยาวและ/หรือ สินเชื่อบานตกลงอยางฮวบฮาบ (สมมุติวาลดลง $100 ในตัวอยางขางตน) • มูลคาเงินลงทุนที่ตกลงเรื่อยๆ ตองบันทึกเปนผลขาดทุน ซึ่งทําใหสวนทุนรอย หรอลงอยางรวดเร็วจนติดลบ ธนาคารลมละลาย • ในระหวางนี้ ถาเจาหนี้ (ผูฝากเงินหรือสถาบันการเงินอื่น) แหถอนเงินหรือเรียก หนี้คืนกอนกําหนด ธนาคารก็อาจขาดสภาพคลองจนลมละลายไดเชนกัน • ทางแกคือขายสินทรัพยเนาออกไป และ/หรือเพิ่มทุน หรือทําทั้งสองอยาง • ถารัฐรับซื้อสินทรัพยเนาในราคาสูง โดยไมยึดธนาคาร (ผานการเพิ่มทุน ซึ่งจะทําใหผูถือหุนเดิมถือหุนนอยลง) ก็แปลวาไมได “ลงโทษ” ธนาคาร
  • 12. ปญหาหนีของภาคครัวเรือนยังไม ‘จบ’ ้ • ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ 2008 จํานวนชาวอเมริกนที่มูลคาบานติดลบ ั (negative equity) เพิ่มสูงเปน 8.8 ลานราย สูงเปนประวัตการณ ิ • ตลาดสินเชือบานทั้งประเทศมีมูลคา $11 ลานลาน (79% ของ ่ GDP), ในจํานวนนี้ประมาณ 13% เปนซับไพรม • ครัวเรือนสหรัฐเปนหนี้บัตรเครดิตประมาณ $1 ลานลาน สินเชือ่ รถยนตอีก $700 พันลาน • สินเชือเหลานีมักไมมีสินทรัพยค้ําประกัน ตองอาศัยความสามารถ ่ ้ ในการชําระหนี้ของลูกหนี้เองลวนๆ • ความสามารถนีถกลิดรอนดวยเงื่อนไขโหด และภาวะคาครองชีพสูง ้ ู • เงินผอนบานมักเปนหนีกอนสุดทายที่คนจะยอมผิดนัด ้ • แสดงวาอาจมีหนี้เสียที่รอเวลาปะทุอีกนับแสนลานเหรียญ ยัง ไมนับหลักทรัพยและอนุพันธที่แปลงมาหรือตั้งอยูบนหนี้ เหลานี้ ไมรูอีกจํานวนเทาไร??