SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
บทที่ 3
แนวความคิดโครงการ
(Programming Concepts)
แนวความคิดโครงการ คือ การนําเสนอความสัมพันธขององคประกอบตางๆภายในโครงการ
โดยเปนการกําหนดถึงการตอบสนองตอความตองการของโครงการที่เปนไปไดในการออก แบบ
โดยเนนถึงเหตุผลและความสําคัญที่ไดมาจากขอเท็จจริง ซึ่งแนวความคิดในการออกแบบโครงการ
นั้น เปนการกําหนดทิศทางของโครงการดวยนามธรรม โดยโครงการหนึ่งๆอาจจะมีหลากหลาย
แนวความคิดโครงการได พิจารณาความสําคัญของแตละแนวความคิดโครงการ แลวเลือกให
เหมาะสมกับโครงการมากที่สุด แนวความคิดโครงการจะเปนการบรรยายในเชิงคุณภาพ กลาว
ลักษณะ การจัดการความสัมพันธ และความเหมาะสมของแตละองคประกอบภายในโครงการ
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) ซึ่งเปนโครงการที่ผสม
กันระหวางอาคารสํานักงาน และสวนอาคารจัดแสดงสินคา ซึ่งลักษณะกิจกรรมที่เกิดขึ้นมีความ
แตกตางกัน รวมไปถึงลักษณะของคุณภาพของที่วาง โดยคํานึงการออกแบบที่เปนมิตรผูใชงาน
อาคารและสิ่งแวดลอม ดังนั้น จึงวางแนวคิดโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ
จํากัด (ประเทศไทย) ไวดังนี้
• รูปลักษณของโครงการควรจะสื่อความเปนอาคารที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยนําอัตลักษณที่
สําคัญของบริษัทมาประกอบกับแนวความคิดในการออกแบบ รวมไปถึงการเลือกวัสดุประกอบ
อาคารที่สามารถสื่อถึงความเปนเอกลักษณของบริษัทไดชัดเจน
• โครงการมีการวางตัวอาคารเปนลักษณะกลุมอาคารเพื่อใหสามารถแยกการใชงานของ
กิจกรรม ของผูใชหลักกับผูใชรองไดอยางชัดเจน โดยใชพื้นที่วางหรือพื้นที่สีเขียวเปนตัวเชื่อมกลุม
อาคารหรือกิจกรรม เขาดวยกัน
แนวความคิดโครงการ 3 -1
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
• โครงการควรจะมีการสรางพื้นที่วาง บรรยากาศ และสภาพแวดลอมที่ดีเพื่อสงเสริมคุณภาพที่
วางของโครงการ และทําใหผูใชงานรูสึกผอนคลาย ไมนาเบื่อ เนื่องจากกิจกรรมหลักเปนอาคาร
สํานักงาน ซึ่งมีความตองการพื้นที่สําหรับพักผอน
• โครงการควรจะนําเอาเทคโนโลยีตางๆที่ทันสมัย ตลอดจนโครงสรางพิเศษที่ทันสมัยเขามาใช
รวมในการออกแบบโครงการ ไมวาจะเปนสวนสาธารณะ สวนจัดแสดง และสวนอาคารสํานักงาน
เพื่อสรางภาพลักษณใหกับองคกร
จากแนวความคิดโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
สามารถนําเสนอความสัมพันธที่สอดคลองกันตอเนื่องตลอดทั้ง กระบวนการจัดทํารายละเอียด
โครงการ (Programming Procedure) จึงนําเอาแนวความคิดโครงการมาอธิบายตามกลุมขอมูล
เพื่อตรวจสอบและกําหนดลงไปในโครงการตามรายละเอียดตางๆของโครงการ โดยแนวความคิด
โครงการสามารถแยกออกเปน 4ดาน ไดดังนี้
3.1 แนวความคิดดานหนาที่ใชสอย (Function Concept)
3.2 แนวความคิดดานรูปแบบ (Form Concept)
3.3 แนวความคิดดานเศรษฐศาสตร (Economy Concept)
3.4 แนวความคิดดานเทคโนโลยี (Technology Concept)
การนําเสนอจะคลอบคลุมถึงทุกสวนที่เกี่ยวของกับการออกแบบและการกําหนดรายละเอียดของ
โครงการ โดยลําดับขั้นตอนของการกําหนดแนวความคิดโครงการ ตั้งแตภาพรวมทั้งโครงการจนถึง
แตละองคประกอบและรายละเอียดในแตละสวน
แนวความคิดโครงการ 3 -2
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
3.1. แนวความคิดดานหนาที่ใชสอย (Function Concepts)
แนวความคิดโครงการเปนเรื่องของความสัมพันธในหลายปจจัยขอมูลพื้นฐานดังนั้นการกําหนด
แนวความคิดดานนี้ควรจะพิจารณาทีละสวนขององคประกอบโครงการแต ละองคประกอบเพื่อให
สอดคลองกับการกําหนดพื้นที่ใชสอยในบทตอไปซึ่งมีการ เรียงลําดับตามองคประกอบของ
โครงการดังนั้นการนําเสนอจึงมีการเรียงลําดับตาม องคประกอบโครงการดังนี้
3.1.1 ภาพรวมโครงการ (Overall Project)
3.1.2 สวนองคประกอบหลักของโครงการ (Main – Functions Zone)
3.1.3 สวนองคประกอบรองโครงการ (Sub - Function Zone)
3.1.4 สวนสนับสนุนโครงการ (Support Zone)
3.1.5 สวนสาธารณะ (Public Zone)
3.1.6 สวนบริการ (Service Zone)
3.1.7 สวนจอดรถ (Parking Zone)
โดยแตละสวนจะมีการกําหนดแนวความคิดโครงการ (Programming Concept) ตาม
แนวความคิดที่สัมพันธกับขอมูลพื้นฐาน โดยมีสามารถแสดงรายละเอียดของแตละองคประกอบ
โครงการ ดวยหัวขอแนวความคิดตางๆดังนี้
1.แนวความคิดที่เกี่ยวของกับความสัมพันธ(Relationship)
2.แนวความคิดที่เกี่ยวของกับกิจกรรม
3.แนวความคิดที่เกี่ยวของกับระบบการจัดการ(Operation)
ภาพรวมโครงการ (Overall Project)
3.1.1 แนวความคิดที่เกี่ยวของกับความสัมพันธ (Relationship)
แนวความคิดนี้เปนการแสดงความสัมพันธของหนาที่ใชสอย และการสัญจรระหวางแตละ
องคประกอบของโครงการ ซึ่งเปนการกําหนดแนวความคิดทั้งหมดของโครงการ โดยกิจกรรมที่
เกิดขึ้นในแตละองคประกอบโครงการตองมีความสัมพันธและมีความตอเนื่องสงเสริมใหเกิดความ
สมบูรณในการใชงาน และสามรถตอบสนองความตองการของผูใชโครงการไดเปนอยางดี
แนวความคิดโครงการ 3 -3
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
โดยโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) มีการแบง
โครงการตางๆของโครงการออกเปน 6 สวนและกําหนดสวนตางๆ ของโครงการไดดังนี้
1. สวนองคประกอบหลักของโครงการ (Main – Functions Zone )
เปนสวนอาคารสํานักงาน เปนสวนพื้นที่หลักของโครงการประกอบไปดวยพื้นที่สํานักงานของ
บริษัท และอีกสวนหนึ่งเปนพื้นที่สํานักงานเชาหรือไวใชสําหรับรองรับการขยายตัวของบริษัทใน
อนาคต
2. สวนองคประกอบรองโครงการ (Sub - Function Zone)
เปนสวนพื้นที่จัดแสดงสินคาโดยจะแบงออกเปน 3 สวนใหญๆ คือ
- แผนกบานสําเร็จรูป
- แผนกสินคาประเภทเฟอรนิเจอร
- แผนกสินคามูจิ
โดยพื้นที่สวนนี้จะตองสามารถมองเห็นและสังเกตไดงายจากบุคคลภายนอก ซึ่งจะแตกจากสวน
อาคารสํานักงาน โดยพื้นที่อาจจะแยกสวนออกมาจากอาคารสํานักงาน แตสามารถเชื่อมตอกันได
ดวยในลักษณะของพื้นที่วาง
3. สวนสนับสนุนโครงการ (Support Function Zone)
เปนสวนพื้นที่ของโกดังสินคา ซึ่งจะเปนที่ที่จะสนับสนุนในสวนขององคประกอบรอง โดยเปน
พื้นที่จัดเก็บสินคาเพื่อสต็อกสินคา หรือรอนําขนสงตอไปยังสาขาตางๆ พื้นที่นี้จึงจะตองสามารถ
เชื่อมตอกับสวนองคประกอบรองไดอยางสะดวกแตตองไมบดบังทัศนียภาพหรือสรางปญหาแก
สวนอื่นๆในโครงการ
4.สวนสาธารณะ (Public Zone)
ประกอบดวยสวนสาธารณะและลานกิจกรรมซึ่งเปนสวนเชื่อมองคประกอบตางๆของโครงการ
เขาดวยกันซึ่งเปนสวนที่ผูใชงานสามารถเขามาใชรวมกันได นอกจากนี้ในสวนนี้จะประกอบไปดวย
สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ เชน ธนาคาร รานอาหาร เปนตน
5. สวนบริการอาคาร (Service Zone)
เปนสวนที่มีความสําคัญกับโครงการเนื่องจากเปนสวนที่ดูแลบํารุงรักษาอาคาร และควบคุมงาน
ระบบทุกประเภทของแตละองคประกอบโครงการ ดังนั้น สวนบริการอาคารตองมีเสนทางบริการ
อาคารที่สามารถ เขาถึงไดทุกองคประกอบที่สําคัญ โดยไมรวมใชกับเสนทางหลักและเสนทางรอง
ของโครงการ และไมผานสวนสาธารณะของโครงการ เพื่อแยกประเภทผูใชโครงการใหชัดเจน
แนวความคิดโครงการ 3 -4
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
6.สวนจอดรถ (Parking Zone)
สวนที่จอดรถของโครงการ จะแยกออกเปน 2 สวนหลัก สําหรับพนักงานและลูกคา เพื่อสามารถ
ที่จะจัดการไดอยางสะดวกและเปนระเบียบเรียบรอย และสามารถเขาถึงกิจกรรมที่ผูใชแตละ
ประเภทไดสะดวก และมีสวนจอดสําหรับบริการอาคารและขนถายสินคาสงโกดัง เพื่องายตอการ
ขนถายสินคา และการใหบริการอาคารดานตางๆ โดยแยกออกจากเสนทางของสวนอื่นๆ
แผนผังที่ 3.1 แผนผังแสดงความสัมพันธของพื้นที่ใชสอย : ภาพรวมโครงการ
3.1.2 แนวความคิดที่เกี่ยวของกับกิจกรรม
แนวความคิดที่เกี่ยวของกับกิจกรรมเปนการวิเคราะหถึงพฤติกรรมผูใชโครงการสัมพันธกับ
กิจกรรม ที่เกิดขึ้นในแตละองคประกอบ เพื่อนําไปใชในการกําหนดรายละเอียดพื้นที่ใชสอย โดยมี
หัวขอที่ใชในการพิจารณาในแตละองคประกอบ
โดยโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)มีแนวความคิดที่
เกี่ยวของกับกิจกรรม ในแตละองคประกอบดังนี้
แนวความคิดโครงการ 3 -5
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
ก.การจัดกลุมกิจกรรม (Activities Grouping)
แผนผังที่ 3.2 แสดงการจัดกลุมของกิจกรรม จําแนกตามผูใชกิจกรรม
ข.ลําดับความสําคัญของกิจกรรม (Sequence of Activities)
แผนผังที่ 3.3 แสดงความสัมพันธระหวางลําดับของกิจกรรมกับกลุมผูใชโครงการหลัก
แผนผังที่ 3.4 แสดงความสัมพันธระหวางลําดับของกิจกรรมกับกลุมผูใชโครงการรอง
แนวความคิดโครงการ 3 -6
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
แผนผังที่ 3.5 แสดงความสัมพันธระหวางลําดับของกิจกรรมกับกลุมผูใหบริการอาคาร
ค.ลําดับความสําคัญของผูใช(Order of Importance)
แผนผังที่ 3.6 แสดงความสัมพันธองคประกอบโครงการกับลําดับความสัมพันธของผูใชโครงการ
ง.ความตองการใชพื้นที่ของกิจกรรม (Activity Requirements)
โดยแนวความคิดโครงการในเรื่องความ ตองการใชพื้นที่ของกิจกรรมจะมีรายละเอียดแสดงถึง
เนื้อหา และเรื่องราวของกิจกรรม รวมถึงความตองการของกิจกรรมนั้นๆใหเกิดขึ้นภายในโครงการ
ดังนี้
แนวความคิดโครงการ 3 -7
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
3.1.3 แนวความคิดที่เกี่ยวของกับระบบการจัดการ (Operation)
1. สวนองคประกอบหลักของโครงการ (Main-Functions Zone )
เปนสวนอาคารสํานักงาน เปนสวนพื้นที่หลักของโครงการประกอบไปดวยพื้นที่สํานักงานของ
บริษัท และอีกสวนหนึ่งเปนพื้นที่สํานักงานเชาหรือไวใชสําหรับรองรับการขยายตัวของบริษัทใน
อนาคต
แผนผังที่ 3.7 แสดงความสัมพันธองคประกอบหลัก
2. สวนองคประกอบรองโครงการ (Sub - Function Zone)
เปนสวนพื้นที่จัดแสดงสินคาโดยจะแบงออกเปน 3 สวนใหญๆ คือ
- แผนกบานสําเร็จรูป
- แผนกสินคาประเภทเฟอรนิเจอร
- แผนกสินคามูจิ
โดยพื้นที่สวนนี้จะตองสามารถมองเห็นและสังเกตุไดงายจากบุคคลภายนอก ซึ่งจะแตกจากสวน
อาคารสํานักงาน โดยพื้นที่อาจจะแยกสวนออกมาจากอาคารสํานักงาน แตสามารถเชื่อมตอกันได
ดวยในลักษณะของพื้นที่วาง
แนวความคิดโครงการ 3 -8
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
แผนผังที่ 3.8 แสดงความสัมพันธองคประกอบรอง
3. สวนสนับสนุนโครงการ (Support Function Zone)
เปนสวนพื้นที่ของโกดังสินคา ซึ่งจะเปนที่ที่จะสนับสนุนในสวนขององคประกอบรอง โดยเปน
พื้นที่จัดเก็บสินคาเพื่อสต็อกสินคา หรือรอนําขนสงตอไปยังสาขาตางๆ พื้นที่นี้จึงจะตองสามารถ
เชื่อมตอกับสวนองคประกอบรองไดอยางสะดวกแตตองไมบดบังทัศนียภาพหรือสรางปญหาแก
สวนอื่นๆในโครงการ
แผนผังที่ 3.9 แสดงความสัมพันธสวนสนับสนุนโครงการ
แนวความคิดโครงการ 3 -9
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
4.สวนสาธารณะ (Public Zone)
ประกอบดวยสวนสาธารณะและลานกิจกรรมซึ่งเปนสวนเชื่อมองคประกอบตางๆของโครงการ
เขาดวยกันซึ่งเปนสวนที่ผูใชงานสามารถเขามาใชรวมกันได นอกจากนี้ในสวนนี้จะประกอบไปดวย
สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ เชน ธนาคาร รานอาหาร เปนตน
แผนผังที่ 3.10 แสดงความสัมพันธสวนสาธารณะ
5. สวนบริการอาคาร (Service Zone)
เปน สวนที่มีความสําคัญกับโครงการเนื่องจากเปนสวนที่ดูแลบํารุงรักษาอาคาร และควบคุมงาน
ระบบทุกประเภทของแตละองคประกอบโครงการ ดังนั้น สวนบริการอาคารตองมีเสนทางบริการ
อาคารที่สามารถ เขาถึงไดทุกองคประกอบที่สําคัญ โดยไมรวมใชกับเสนทางหลักและเสนทางรอง
ของโครงการ และไมผานสวนสาธารณะของโครงการ เพื่อแยกประเภทผูใชโครงการใหชัดเจน
แนวความคิดโครงการ 3 -10
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
แผนผังที่ 3.11 แสดงความสัมพันธสวนบริการอาคาร
6. สวนจอดรถ (Parking Zone)
สวนที่จอดรถของโครงการ จะแยกออกเปน 2 สวนหลัก สําหรับพนักงานและลูกคา เพื่อสามารถ
ที่จะจัดการไดอยางสะดวกและเปนระเบียบเรียบรอย และสามารถเขาถึงกิจกรรมที่ผูใชแตละ
ประเภทไดสะดวก และมีสวนจอดสําหรับบริการอาคารและขนถายสินคาสงโกดัง เพื่องายตอการ
ขนถายสินคา และการใหบริการอาคารดานตางๆ โดยแยกออกจากเสนทางของสวนอื่นๆ
แนวความคิดโครงการ 3 -11
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
แผนผังที่ 3.12 แสดงความสัมพันธสวนจอดรถ
3.2 แนวความคิดดานรูปแบบ (Form Concept)
แนวความคิดดานรูปแบบ แบงออกเปนสวนดังนี้
3.2.1 แนวความคิดในการเลือกที่ตั้งโครงการ (Criteria for Site Selection)
3.2.2 แนวความคิดโครงการดานจินตภาพ (Image Concepts)
มีรายละเอียดดังนี้
3.2.1 แนวความคิดในการเลือกที่ตั้งโครงการ (Criteria for Site Selection)
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) เปนโครงการอาคาร
สํานักงานที่ตองพิจารณาองคประกอบตางๆ โดยเฉพาะจะตองอยูในที่ตั้งที่เหมาะสมกับโครงการ
ดังนั้น หลักเกณฑการพิจารณาที่ตั้ง(Site) โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ
จํากัด (ประเทศไทย) จึงมีขั้นตอน ดังนี้
1. แนวความคิดในการเลือกที่ตั้งโครงการ
2. แนวความคิดในการเปรียบเทียบที่ตั้ง
แนวความคิดโครงการ 3 -12
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
1. แนวความคิดในการเลือกที่ตั้งโครงการ
หลักเกณฑที่ใชในการพิจารณาที่ตั้งโครงการทั้ง 3 แหงนั้น ที่ตั้งโครงการทั้ง 3 แหงตองมี
ศักยภาพใกลเคียงกัน โดยโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศ
ไทย) มีหลักเกณฑการพิจารณาที่ตั้งโครงการ ดังนี้
1. ดานเศรษฐกิจและการเงิน (Economical and Financial)
1.1 ราคาที่ดิน
โครงการไดงบประมาณจากบริษัท ในการลงทุนขยายสาขาอาคารสํานักงาน
1.2 สภาพการตลาด และสวนแบง (Marketing Share)
ดวยพื้นที่ที่ตั้งโครงการนั้นเปนแหลงที่อยูอาศัย จึงมีโครงการหลายๆประเภทเกิดขึ้นทั้งที่เปนสวน
แบงทางการตลาด หรือเปนโครงการที่สนับสนุนกับโครงการ แตโดยรวมแลวนั้นดวยภาพลักษณ
และจุดขายของบริษัท มีความแตกตางจากโครงการอื่นๆ และดวยองคประกอบหลักของโครงการ
เปนอาคารสํานักงาน จึงไมคอยมีผลกระทบตอการตลาดมากนัก
2. ดานเทคนิค (Techniques)
2.1 การใชที่ดิน (Land Use)
การใชที่ดินของโครงการเปนอาคารสํานักงานและมีสวนแสดงสินคา จึงไมมีความจําเปนตองเปน
อาคารสูง แตตองการพื้นที่แสดงสินคาที่สามารถสังเกตและเขาถึงไดงาย และมีพื้นที่เปดโลง
2.2 สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (Utilities and Facilities)
ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่สงเสริมโครงการนอกจาก ประปา ไฟฟา โทรศัพท
อินเตอรเน็ต ฯลฯ
แลวยังมีถนนสายหลักสายรอง ที่จะสามารถที่จะสงเสริมในสวนของการเขาใชโครงการในแตละ
รูปแบบการใชงานไดงายขึ้น
2.3 ความสะดวกในการเขาถึง (Accessibility)
การเขาถึงโครงการ สามารถที่จะเขาถึงโครงการไดหลายทาง ดังนี้
เขาถึงโครงการโดยเสนทางคมนาคมขนสงโดยรอบๆโครงการหรือการใชถนนในการเขาถึงพื้นที่ตั้ง
โครงการ
- ระบบของการเดินทางโดยเสนทางของถนนตางๆ
- การใชการเดินทางโดยรถสวนบุคคล
- การเดินทางโดยรถโดยสารรับจาง (Taxi รถสองแถว)
- การเขาถึงโดยรถโดยสารสาธารณะ
แนวความคิดโครงการ 3 -13
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
2.4 การคมนาคม และสภาพการจราจร (Transportation and Traffic)
เนื่องจากที่ตั้งโครงการอยูในพื้นที่อยูอาศัย จึงมีผลกระทบทางดานการจราจรเกิดขึ้นในกรณีที่เปน
ชวงเวลาเรงดวน อาจทําใหการสัญจรในการเขาถึงโครงการมีความหนาแนนและเกิดการติดขัดของ
ยานพาหนะ ดังนั้นในชวงเชาและเย็นจึงจะเกิดการจราจรที่หนาแนน
3. ดานสังคมและวัฒนธรรม (Social & Culture)
3.1 ลักษณะประชากร (Population)
ลักษณะของประชากรในบริเวณพื้นที่ตั้งโครงการ หรือสภาพแวดลอมโดยรอบ ตองอยูใน
กลุมเปาหมายหลักและรองของโครงการ อีกทั้งยังตองมีปริมาณของกลุมผูที่สนใจในโครงการอยาง
พอเพียง ทั้งในแงของลักษณะและปริมาณ
3.2 ความปลอดภัย (Safety)
โครงการมีการเขาใชของผูใชงานเปนจํานวนมาก ดังนั้นจึงควรที่จะมีมาตรการในการปองกัน
อุบัติเหตุ และเพื่อปองกันชีวิตและทรัพยสินของผูเขาใชบริการ จึงควรมีเจาหนาที่ที่สามารถดูแล ได
อยางทั่วถึง
3.3 ความเหมาะสมของประเภทอาคาร (Conformity)
อาคารที่เกิดขึ้นภายในโครงการไมควรกอใหเกิดผลเสียหรือผลกระทบกับอาคารโดยรอบ มีความ
สอดคลองทั้งรูปแบบสถาปตยกรรมและที่วาง
4. ดานสภาวะแวดลอม (Environment)
4.1 สภาพโดยรอบบริเวณ (Surroundings)
สภาพโดยรอบโครงการเปนที่วางละยานที่พักอาศัย ซึ่งในการจัดทําโครงการตองไมสงผลกระทบ
ตอพื้นที่และบริบทโดยรอบ
4.2 ทิวทัศน (View from site)
โครงการประเภทอาคารสํานักงานไมมีความจําเปนที่จะตองให คานํ้าหนักกับมุมมองจากภายใน
โครงการมากนักเนื่องจากอาคารประเภทนี้เปน อาคารที่เนนใหมีพื้นที่และกิจกรรมสวนมากภายใน
โครงการมากกวาภายนอกโครงการ
4.3 การมองเห็นที่ตั้ง และลักษณะเชื้อเชิญ (Approach and Invitation)
เนื่องจากโครงการมีสวนจัดแสดงสินคา ในดานการมองเห็นที่ตั้งจึงมีความสําคัญ สามารถมองเห็น
ไดงาย หรือมีจุดดึงดูด หรือมีลักษณะที่เชื้อเชิญ
4.4 ความสัมพันธของโครงการที่เกี่ยวของ (Linkage)
เนื่องจากโครงการจําเปนที่จะตองพึ่งพาอาศัยโครงการที่อยูในละแวกใกลเคียง เพื่อเปนการดึงดูด
หรือเพิ่มปริมาณผูใชโครงการ โครงการโดยรอบจึงมีความสําคัญ ในการเลือกที่ตั้งโครงการ
แนวความคิดโครงการ 3 -14
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
5. ดานแนวความคิดโครงการ (Trend)
5.1 แนวโนมการไดรับประโยชนจากระบบขนสงมวลชน (MASS TRANSIT)
ระบบขนสงมวลชน ประเภทตางๆ เชน รถประจําทาง รถไฟฟา หรือแนวโนมโครงการตางๆที่จะ
เกิดขึ้น จะมีผลอยางมากตอโครงการ ซึ่งตองสามารถเชื่อมโยงพื้นที่ตั้งโครงการเขากับกับพื้นที่
ตางๆ หรือพื้นที่ที่มีการดําเนินกิจกรรม สงผลใหเกิดประโยชนกับโครงการได อีกทั้งยังเปนการ
อํานวยความสะดวกของผูใชโครงการ
5.2 การขยายตัวโครงการ (Project Expansion)
พื้นที่ตั้งโครงการ หรือสภาพแวดลอมของโครงการตองมีศักยภาพที่ดีพอที่จะสามารถรองรับ
การขยายตัวของโครงการที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
5.3 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน (Trend in Changing Land Use)
พื้นที่ตั้งโครงการควรตั้งอยูในเขตพื้นที่ที่มีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน ไปในทางที่
สอดคลองกับประเภทโครงการ เพื่อโครงการที่อาจจะเกิดขึ้นตอๆมาในอนาคตนั้น สามารถสงเสริม
กับโครงการที่มีอยูในปจจุบันได
5.4 แนวโนมของการอยูในที่เวนคืน (Expropriation)
พื้นที่ที่ตังของโครงการเจาของเปนเอกชน จึงไมควรจะตั้งอยูในพื้นที่ที่มีการเวนคืนที่ดิน ซึ่งจะสงผล
กระทบตอโครงการในระยะยาว
5.5 แนวโนมการขยายตัวของชุมชนขางเคียง
การที่ชุมชนมีอัตราการขยายตัวสูงยอมทําสงผลตอการโครงการทั้ง ในแงของสภาพแวดลอม
ระบบคมนาคม การเขาถึง ภาพลักษณของโครงการ กลุมเปาหมายและปจจัยตางๆที่สงผลตอ
โครงการ
จากหลักเกณฑในการพิจารณาที่ตั้ง ดังกลาว ทําใหสามารถสรุปหัวขอที่ใชในการพิจารณาที่ตั้ง
โครงการ 3 แหง ไดในสวนของหลักเกณฑในการเปรียบเทียบที่ตั้ง โดยอางอิงกับบทที่ 2 ในสวน
ตารางที่ 2.1 สรุปความสําคัญของหลักเกณฑการเลือกที่ตั้งโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท
เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
แนวความคิดโครงการ 3 -15
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
2. แนวความคิดในการเปรียบเทียบที่ตั้ง
เนื่องจากโครงการมีหลักเกณฑในการพิจารณาหาที่ตั้งโครงการ ดังนั้น จึงนําหลักเกณฑ
ดังกลาวมาเปรียบเทียบที่ตั้ง โครงการเพื่อหาบทสรุปที่ตั้งโครงการ ที่มีความเหมาะสมมากที่สุด
จากตัวเลือกที่ตั้งโครงการทั้ง 3 แหง
โดยเปนหลักเกณฑการใหลําดับคะแนนตามลําดับความสําคัญของแตละหลักเกณฑดังนี้
Criteria for Site Selection Weight
1. มีโครงการสงเสริม/สนับสนุน 5
2. การคมนาคม/การเขาถึงโครงการ 5
3. โครงสรางบริการพื้นฐานสาธารณะ/
ระบบโลจิสติก มีลักษณะที่สงเสริม
5
4. มุมมอง/ทําเลที่ตั้ง/บริบท 5
5. กลุมเปาหมาย 5
รวม 25
ตารางที่ 3.1 แสดงหลักเกณฑการใหคะแนนการพิจารณาที่ตั้งโครงการ
3.2.2 แนวความคิดโครงการดานจินตภาพ (Image Concepts)
เปนลักษณะรูปแบบโครงการดานสถาปตยกรรม ที่มีความสอดคลองกับผูใชกิจกรรม พฤติกรรม
ที่ตั้ง งบประมาณ และเทคโนโลยีอาคาร โดยแนวทางการนําเสนอ เพื่อสามารถนําไปใชในการ
ออกแบบแนวความคิดดานจินตภาพโครงการ จากการที่ไดทําการศึกษา Case Study ในบทที่ 2
ขอมูลพื้นฐานโครงการแลว สามารถนําเสนอเปนแนวความคิดไดหัวขอหลักที่เกี่ยวของกับอาคาร
ประเภทอาคารสํานักงาน ดังนี้
1.แนวความคิดโครงการดานจินตภาพภายนอก
2.แนวความคิดโครงการดานจิยตภาพภายใน
แนวความคิดโครงการ 3 -16
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
1.แนวความคิดโครงการดานจินตภาพภายนอก
แนวความคิดรูปแบบของอาคารจะแสดงความเปนเอกลักษณของบริษัท ทั้งในรูปแบบของฟอรม
อาคาร หรือวัสดุปดผิวอาคาร ที่สามารถสื่อออกมาไดอยางชัดเจน นอกจากนี้มีความออนนอมตอ
พื้นที่โดยรอบ และสอดแทรกดวยพื้นที่สีเขียว อาคารจึงดูเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติไมแบงแยก ทํา
ใหเกิดความเปนมิตรทั้งตอผูใชงาน
2.แนวความคิดโครงการดานจินตภาพภายใน
แนวความคิดโครงการ 3 -17
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
แนวความคิดรูปแบบภายในจะมีปฏิสัมพันธระหวางที่วางและกิจกรรม ทําใหเกิดความรับรูและ
ความรูสึก ทําใหเกิดปฏิสัมพันธระหวางผูใชงานและอาคาร ในรูปแบบลักษณะตางๆ
อยางไรก็ตามลักษณะการสะทอนความเปนเอกลักษณของบริษัท ออกมายังรูปลักษณของอาคาร
นั้นตองคํานึงถึงองคประกอบตางๆ เหลานี้ดวย
- กิจกรรมและหนาที่ใชสอย (Activities and Function)
- ผูใชโครงการ (User)
- ที่ตั้งและสภาพแวดลอมของโครงการ (Site and Environment)
3.3 แนวความคิดดานเศรษฐศาสตร (Economy Concepts)
การกําหนดแนวความคิดทางดานเศรษฐศาสตรโดยสามารถบงบอกรูปแบบของโครงการได
โดยแบงออกเปน 2 แนวทางคือ
- การควบคุมงบประมาณโครงการ (Budget Control)
- การควบคุมคุณภาพอาคาร (Building Quality Control)
3.3.1 ประสิทธิภาพอาคาร (Building Efficiency) ประกอบดวย
- พื้นที่ใชงานสุทธิ (Assignable Area) คือพื้นที่รวมของทุกๆพื้นที่ใชสอยที่ถูกตองการตาม
โปรแกรม
- พื้นที่สนับสนุน (Unassigned Area) คือพื้นที่ที่นอกเหนือจากพื้นที่ใชงานโดย เฉพาะพื้นที่ทาง
สัญจร หองเครื่อง หองน้ําสวนรวม หองเก็บของผนังกั้นตางๆ โดยไมรวมพื้นที่จอดรถซึ่งแตกตางไป
ตามกฎหมายของแตละทองที่ และพื้นที่ใชงานภายนอก (Outdoor Space) เพราะถือเปนพื้นที่ใช
งานแตอยูภายนอกอาคาร
- สัดสวนประสิทธิภาพของอาคาร (Efficiency Ratio) คือสัดสวนรอยละของ พื้นที่สนับสนุนตอ
พื้นที่ใชงานสุทธิ มีระดับโดยทั่วไปอยู 3 ระดับ คือ
1.ระดับดีมาก อัตราสวน 40 – 50 % ของพื้นที่ทั้งหมด
2.ระดับปานกลาง อัตราสวน 30 % ของพื้นที่ทั้งหมด
3.ระดับประหยัด อัตราสวน 20 % ของพื้นที่ทั้งหมด
แนวความคิดโครงการ 3 -18
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) เปนโครงการกึ่ง
สาธารณะที่ตองมีพื้นที่ภายในอาคารเปดโลงมากพอเพื่อสรางคุณภาพใหกับที่วางและเสริมสราง
ทัศนียภาพใหกับอาคาร โดยแบงลําดับความสําคัญของหนาที่ใชงานตามความเหมาะสมของ
กิจกรรมโดยแบงเปนองคประกอบดังนี้
องคประกอบโครงการ พื้นที่ใชสอย (%) พื้นที่สัญจร (%)
1. องคประกอบหลัก 70% 30%
2. องคประกอบรอง 70% 30%
3. สวนสนับสนุนโครงการ 80% 20%
4. สวนสาธารณะ 70% 30%
5. สวนบริการอาคาร 80% 20%
6. สวนจอดรถ 50% 50%
ตารางที่ 3.2 แสดงการแบงสัดสวนประสิทธิภาพอาคารจําแนกตามองคประกอบ
ที่มา : ตารางราคาคากอสรางจําแนกตามชนิดอาคารและระดับคุณภาพ เอกสารประกอบการสอนวิชา THESIS PREPARETION CONCEPTS – 15
3.3.2 คุณภาพอาคาร (Building Quality Control)
คุณภาพของอาคารสามารถบอกดวยราคาคากอสรางตอตารางเมตร ซึ่งโดยทั่วไปรวมถึงงาน
สถาปตยกรรม งานโครงสราง ระบบไฟฟา ระบบสุขาภิบาลแตไมรวมถึงอุปกรณพิเศษที่ติดตั้ง สา
หรับอาคารเพื่อการศึกษามีการประเมินคากอสราง ดังนี้
1. ระดับประหยัด ราคาคากอสราง 8,000 บาท/ตารางเมตร
2. ระดับปานกลาง ราคาคากอสราง 10,000 บาท/ตารางเมตร
3. ระดับดี ราคาคากอสราง 15,000 บาท/ตารางเมตร
4. ระดับดีมาก ราคาคากอสราง 20,000 บาท/ตารางเมตร
สําหรับโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) เปนโครงการ
ที่เปนเจาของโดยเอกชน ดังนั้นจึงมีการกําหนดคุณภาพอาคารใหอยูในระดับระดับประหยัดถึงดี
มาก เนื่องจากตองมีการควบคุมคุณภาพในดานสวนอาคารสํานักงานและสวนจัดแสดงสินคา
เนื่องจากเปนองคประกอบที่สําคัญของโครงการ โดยสามารถแสดงรายละเอียดองคประกอบ
โครงการใหสัมพันธกับราคาคากอสรางและระดับคุณภาพอาคาร ไดดังตอไปนี้
แนวความคิดโครงการ 3 -19
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
องคประกอบโครงการ
ราคาคากอสราง
(บาท/ตารางเมตร)
ระดับคุณภาพ
1. องคประกอบหลัก 20,000 ดีมาก
2. องคประกอบรอง 20,000 ดีมาก
3. สวนสนับสนุนโครงการ 10,000 ปานกลาง
4. สวนสาธารณะ 15,000 ดี
5. สวนบริการอาคาร 10,000 ปานกลาง
6. สวนจอดรถ 8,000 ประหยัด
ตารางที่ 3.3 แสดงราคาคากอสรางจําแนกตามองคประกอบและคุณภาพ
ที่มา : ตารางราคาคากอสรางจําแนกตามชนิดอาคารและระดับคุณภาพ เอกสารประกอบการสอนวิชา THESIS PREPARETION CONCEPTS – 16
สรุป แนวความคิดโครงการทางดานเศรษฐศาสตรโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน
เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) เปนโครงการที่เนนทางดานคุณภาพของอาคารและคุณภาพของที่วาง
เนื่องจากอาคารแหงนี้ตั้งขึ้นเพื่อรองรับกลุมลูกคา และเปนตัวแทนของภาพลักษณบริษัท ดังนั้นจึง
ตองการสัดสวนพื้นที่และคุณภาพอาคารที่ดี เพื่อตอบสนองกลุมเปาหมายโครงการ และสงเสริม
กิจกรรมที่จะเกิดขึ้นของโครงการ
3.4 แนวความคิดดานเทคโนโลยี (Technology Concepts)
แนวความคิดโครงการทางดานเทคโนโลยี เปนการเลือกประเภทของเทคโนโลยีอาคารให
เหมาะสมกับประเภทและลักษณะของโครงการโดยอางอิงจากบทที่2 ขอมูลพื้นฐานโครงการ และ
สอดคลองกับบทที่1 เปาหมายโครงการ เพื่อใชในการพิจารณาหา บทที่4 ในสวนของรายละเอียด
โครงการทางดานเทคโนโลยี โดยแนวความคิดโครงการทางดานเทคโนโลยีของโครงการ มี
รายละเอียดที่ใชในการคํานึงถึง ดังนี้
- ระบบโครงสรางอาคารตองเหมาะสมและตอบรับกับรูปแบบอาคาร
- ระบบเทคโนโลยีอาคารและระบบการกอสรางตองมีประสิทธิภาพที่ดีที่สุด ในปริมาณราคาที่ต่ํา
ที่สุด เพื่อลดคาใชจายในการลงทุน
- ระบบเทคโนโลยีอาคารมีความเหมาะกับการใชงานของอาคาร
- ระบบเทคโนโลยีอาคารมีราคาคาติดตั้ง และคาบํารุงรักษาในระยะยาว ที่ไมสมควรแพงเกินไปนัก
เพื่อลดตนทุนในการลงทุน
แนวความคิดโครงการ 3 -20
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
- ระบบเทคโนโลยีอาคารตองมีความปลอดภัยในการใชงานในระยะยาว
- ระบบเทคโนโลยีอาคารตองอายุยืนยาวในการใชงาน
- ระบบเทคโนโลยีอาคารตองสามารถชวยประหยัดพลังงานอาคารได เพื่อชวยลดคาใชจายใน
ระยะยาว
โดยรายละเอียดแนวความคิดโครงการทางดานเทคโนโลยีอาคารมี 2สวนดังนี้
3.4.1 ระบบอาคาร (Building System)
3.4.2 ระบบเทคโนโลยีพิเศษ (Specific Technology)
3.4.1 เทคโนโลยีระบบอาคาร (Building System)
โครงการพิพิธภัณฑสถานใตรมเย็น มีระบบโครงสรางหลายระบบ เนื่องจากความตองการในการใช
พื้นที่ในแตละองคประกอบ แตกตางกัน
1. ระบบโครงสราง (Structure System) ภายในโครงการจะประกอบไปดวยระบบโครงสรางดังนี้
- ระบบเสา – คาน ระบบโครงสรางเสา-คานเปนแบบระบบเสาและคานคอนกรีตเสริมเหล็ก
เนื่องจากราคาไมสูงมากนักงายตอการกอสรางสามารถสรางไดกับชวง ระยะหางระหวางเสาสั้นๆ
ใชพื้นที่ไมใหญมากนักเชน สวนบริการ ประกอบกับการกอสรางดวยเทคโนโลยีสมัยใหมในการ
กอสรางจึงไมมีขอบเขตในการกอสรางในระบบเสาและคานมากนัก
ภาพที่ 3.1 แสดงภาพโครงสรางเสา - คาน
แนวความคิดโครงการ 3 -21
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
- ระบบโครงถัก (Truss System)
เปนโครงสรางที่เหมาะกับสวนที่ตองการระยะหางเสายาวๆ เชน โกดังสินคา สวนจัดแสดง โดยใช
โครงถักชวยในการถายน้ําหนักลงไปที่หัวเสาทําใหไดระยะหางเสาที่ยาวขึ้น ติดตั้งงาย มีความ
แข็งแรง
ภาพที่ 3.2 แสดงภาพระบบโครง Truss หลังคา
ภาพที่ 3.3 แสดงภาพระบบโครงสราง Space frame
- โครงสรางหลังคา Flat Slab
มีวัสดุกันความรอน และวัสดุกันความชื้นและความลาดเอียดที่เหมาะสม มีเสียงรบกวนนอย กัน
ซึมไดดี หนาอยางนอยประมาณ 10 เซนติเมตร และควรผสมน้ํายากันซึม หรือมีวัสดุกันซึมปูทับอีก
ชั้นหนึ่ง ไมควรใชพื้นแบบสําเร็จรูป
แนวความคิดโครงการ 3 -22
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
ภาพที่ 3.4 แสดงภาพระบบโครงสราง Flat slab
2. ระบบปรับอากาศ (Air-condition System)
- ระบบปรับอากาศแบบ Split Type สวนพื้นที่ที่มีการใชระบบปรับอากาศแบบชวงเวลา เชน พื้นที่
สําหรับเชา หรือพื้นที่เล็กๆ ก็ควรจะใชระบบปรับอากาศระบบนี้ เพื่อความประหยัดสามารถปรับลด
ไดตลอดเวลา
ภาพที่ 3.5 แสดงภาพระบบปรับอากาศแบบ Split-type
แนวความคิดโครงการ 3 -23
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
- ระบบปรับอากาศแบบเครื่องทําน้ําเย็นระบายความรอนดวยน้ํา (WATER COOLED
WATER CHILLER)
ระบบปรับอากาศแบบเครื่องทําน้ําเย็นระบายความรอนดวยน้ํา (WATER COOLED WATER
CHILLER) โดยทั่วไปมี Cooling tower 3 ตัว ตอแบบขนานมีการทํางานแยกอิสระตัวใครตัวมัน ใน
แตละตัวจะมีมอเตอรพัดลมระบายความรอนดานบนของ Cooling tower ทําหนาที่ระบายความ
รอน โดยใชน้ํารอนเขาและออกรวมกัน การออกแบบในขั้นตนทางวิศวกรจะตองออกแบบ Cooling
tower ให ใหญเพียงพอตอความตองการที่แทจริง เผื่อในกรณีที่ออกแบบไมเพียงพอหรือมีการใช
งานเกินพิกัด ทําใหในกรณีนี้มีการใชงานตามปกติจะเปดเพียง 2 ตัวก็เพียงพอ อีก 1 ตัวทําหนาที่
เปนตัวสํารองยามฉุกเฉิน หรือ ในกรณีที่อากาศรอนจนผิดปกติ
ภาพที่ 3.6 แสดงรูปแบบระบบปรับอากาศแบบเครื่องทําน้ําเย็นระบายความรอนดวยน้ํา
แนวความคิดโครงการ 3 -24
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
3. ระบบสุขาภิบาล (Sanitary System) จะประกอบไปดวย 2 ระบบ
- ระบบจายน้ําขึ้น (Feed-Up Water System)
เปนระบบจายน้ําขึ้นโดยใช Pump ซึ่งเหมาะกับอาคาร Low-Rise ที่มีการเปดปดที่เปนเวลา
จะตองมีบอพักน้ําใตดิน เพื่อเก็บกักน้ําเอาไวกอนทําการจายไปยังสวนตางๆ ของโครงการ
ภาพที่ 3.7 แสดงระบบจายน้ําแบบ Feed Up Water System
- การบําบัดน้ําเสียแบบบอเติมอากาศ
เปนระบบที่มีประสิทธิภาพในการทํางานสูง ใชพื้นที่นอย ควบคุมการทํางานไดงาย และยัง
เหมาะสมกับพื้นที่ที่ทําการออกแบบอาคารอีกดวย
ภาพที่ 3.8 แสดงภาพถังบําบัดน้ําเสียแบบเติมอากาศใตดิน
แนวความคิดโครงการ 3 -25
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
4. ระบบไฟฟา (Electric System) ประกอบไปดวย
- ระบบไฟฟากําลังแบบ SUB-STATION
เนื่องจากตองการของกาลังไฟฟาสูง เพื่อความสะดวกสบายของโครงการในการจายปริมาณไฟฟา
จํานวนมาก จึงจําเปนตองแยกหมอแปลงไฟฟาออกมาตางหาก โดยแยกสวนเปนของภายใน
โครงการจากระบบไฟฟาสาธารณะโดยทั่วไป
ภาพที่ 3.9 แสดงภาพระบบไฟฟากําลัง
- หมอแปลงไฟฟาแบบน้ํามัน
หมอแปลงไฟฟาแบบน้ํามัน (Oil-Immersed Transformer) หรือบางครั้งอาจจะเรียกวาOil-Type
โดยหมอแปลงแบบนี้จะนิยมติดตั้งภายนอกอาคาร (Outdoor used) โดยจะมีโครงสรางหลักที่
ประกอบไปดวย ขดลวด, แกนเหล็กซิลิคอน, น้ํามันหมอแปลง, ตัวถัง, บุชชิ่งแรงสูง,บุชชิ่งแรงต่ํา,
เกยวัดระดับน้ํามัน และอุปกรณอื่น ซึ่งหมอแปลงแบบนี้จะสามารถซอมแซมหรือขนยายไดงาย
กวาแบบแหง แตมีขอเสียคือ ติดตั้งภายนอกอาคารจึงตองหาที่ตั้งของหมอแปลงใหเหมาะสม
เพื่อที่จะไมทําลายทัศนียภาพ
ภาพที่ 3.10 แสดงภาพหมอแปลงไฟฟาแบบน้ํามัน
แนวความคิดโครงการ 3 -26
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
- ระบบไฟฟาฉุกเฉินแบบดีเซล (Generator)
ไฟฟาฉุกเฉินแบบดีเซล เปนระบบที่ทางานอัตโนมัติ คือ หลังจากที่ไฟฟาหลักดับระบบจะสตารท
เครื่องและมีสวิทซสับเปลี่ยนจายไฟใหอุปกรณไฟฟาที่สําคัญภายใน 10 วินาที จะจายในระบบสอง
สวาง 30% ของเวลาปกติ ควรอยูใกลกับหองหมอแปลงไฟฟา และสามารถระบายอากาศไดดี
เนื่องจากจะมีควันและความรอนเกิดขึ้น
ภาพที่ 3.11 แสดงเครื่องปนไฟแบบดีเซล
- ระบบไฟฟาฉุกเฉินแบบแบตเตอรี่
เปนระบบที่สนับสนุนระบบไฟฟาฉุกเฉินคือเมื่อเกิดไฟฟาขัดของระบบนี้จะทํา หนาที่กอนระบบ
ไฟฟาฉุกเฉินแบบดีเซลติดตั้งบริเวณพื้นที่ที่สําคัญ ไดแก บันไดหนีไฟ หองเครื่องไฟฟา ประตูเขา-
ออก เพื่อเปนสัญญาณบอกทางหรือสองสวางเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
ภาพที่ 3.12 แสดงระบบไฟฟาฉุกเฉินแบบแบตเตอรี่
แนวความคิดโครงการ 3 -27
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
5. ระบบปองกันฟาผา (Lighting Protection System) ระบบปองกันไฟฟาแบบนี้สามารถ
ปองกันฟาผารอบอาคารได โดยสวนประกอบสําคัญไดแก
1. สายลอฟา (Lighting Air Terminal) ติดตั้งภายนอกอาคารทุก 1.2 เมตร
2. สายนําลงดิน (Ground Rod)เหล็กหุมฉนวนดวยทองแดง(Copper Clad)
3. สายรายดิน(Conductor) สายทองแดงเปลือยหุมดวยฉนวน PVC เดินในทอ PVC เชื่อมระหวาง
Lighting Air Terminal และ Ground Rod รัดรอบโครงสรางอาคาร
ภาพที่ 3.13 แสดงระบบปองกันฟาผา
6. ระบบแสงสวาง (Lighting System)
- การใหแสงทางตรง คือ แสงสวางที่พุงตรงจากจุดกําเนิดแสงมาสูสายตาเราโดยตรงโดยไมมีวัสดุ
บัง ดวงโคมที่ใหแสงสวางจะตองสะทอนแสงลงมาไดประมาณ 90 % โดยการใหแสงทางตรงนั้น
มักจะใชในการใหแสงสวางในสานักงาน โถง สวนแสดงนิทรรศการและสถานที่ที่ตองการเนนแสง
เฉพาะจุด
- การใหแสงกึ่งตรง คือ การออกแบบใหแสงสวางออกจากดานลาง ของแหลงกําเนิดแสงโดยตรง
เพียงประมาณ 60-90% ของปริมาณแสงทั้งหมด และกําหนดใหแสงสวนที่เหลือฉายขึ้นไปกระทบ
เพดานสวนหนึ่งและสะทอนกระจายออกไป การเลือกใชแสงแบบกึ่งตรงนั้นจะใชสาหรับสํานักงาน
หองเรียน และสถานที่ตางๆที่ตองการแสงสวางเฉลี่ยในระดับที่เสมอกันทั่วบริเวณ
แนวความคิดโครงการ 3 -28
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
- แสงธรรมชาติ เลือกใชเปนทางเลือกหลักของการออกแบบเพราะสามารถสรางความนาสนใจ
ของแสงตกกระทบที่เปนธรรมชาติที่งดงาม อีกทั้งยังเปนการประหยัดพลังงานใหกับโครงการ
ดวย
- แสงประดิษฐสวนมากจะใชในพื้นที่ที่มีการจัดกิจกรรมตางๆเชน พื้นที่ประกอบพิธีกรรม สวน
หองพัก และการใชงานในเวลากลางคืน อีกทั้งรวมถึงสวนยอยตางๆ ในโครงการ เพราะสามารถ
ควบคุมปริมาณแสงใหพอดีกับความตองการได โดยใชแสงทั้งแบบ DIRECT LIGHT,INDIRECT
LIGHT เพื่อสรางบรรยากาศความหนาสนใจในจุดตางๆ
6. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม (Communication System)
- ระบบโทรศัพท (Telephone System)
- ระบบโทรศัพทภายในอาคารหลังจาก เชื่อมสายจากองคการโทรศัพทกับหองชุมสายแลว
สายโทรศัพทจะแยกเขาตูสาขา เพื่อจัดระบบ และหมายเลข จากนั้นจะสงไปยังแผงควบคุมในแต
ละสวน
ภาพที่ 3.14 แสดงระบบโทรศัพท
- ระบบโทรทัศนวงจรปด (CCTV)
ระบบโทรทัศนวงจรปดแบบระบบรักษาความปลอดภัยรวมของอาคาร โดยจะมีการติดตั้งกลอง
ตามตําแหนงสําคัญ ไดแก ทางเขา โถง รานอาหาร และสวนพื้นที่อื่นๆ ซึ่งจอภาพสามารถ
ปรับเปลี่ยนการมองดวยการตั้งเวลาในการดู เพื่อใหเกิดการมองพื้นที่ไดอยางทั่วถึง ในกรณีที่
อาคารมีขนาดใหญและมีความตองการในการรักษาความปลอดภัยสูง
แนวความคิดโครงการ 3 -29
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
ภาพที่ 3.15 แสดงระบบโทรทัศนวงจรปด
- ระบบวิทยุสื่อสารระยะสั้น (Walkie Talkie)
สําหรับการติดตอกันระหวางพนักงานภายในโครงการ โดยสามารถพกพาไดสะดวก และประหยัด
คาใชจาย
7. ระบบปองกันอัคคีภัย (Fire Alarm System)
- Heat / Smoke Detector
ระบบจะตอบสนองเมื่อมีอุณหภูมิสูงซึ่งมีประสิทธิภาพดีและมีความตองการพื้นที่นอย โดยการ
ติดตั้งจะกระจายไปยังจุดตางๆของอาคารซึ่งเมื่อเกิดเพลิงไหมจะทําการแสดงผลไปยังหองควบคุม
เพื่อสงสัญญาณเตือนภัยไปยังระบบ Fire Detector System
- Sprinkle System
ในขณะเกิดเพลิงไหมเมื่อโดนความรอนจนถึงอุณหภูมิที่กําหนดไว ปรอทจะแตกหัวฉีดจะจายน้ํา
ออกมาโดยอัตโนมัติการลําเรียงทอจะซอนอยูใตฝาซึ่งมีความสะดวก ปลอดภัย และเหมาะสมกับ
โครงการ
- Hydrant and Standpipe
เปนระบบดับเพลิงชนิดสายสูบมีความสะดวกในการดับเพลิงในสวนที่เขาถึงไดยากใช พื้นที่ติดตั้ง
นอยสวนของการกระจายเสียงภายในโครงการใชระบบการกระจายเสียง ที่มาจากสวนกลางหรือ
มาจากสวนประชาสัมพันธเปนระบบการกระจายเสียงที่ให เสียงไดยินทั่วทั้งโครงการ เหมาะกับ
โครงการที่มีพื้นที่ขนาดใหญ
แนวความคิดโครงการ 3 -30
โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)
Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter
3.4.2 เทคโนโลยีระบบพิเศษของโครงการ (Specific Technology)
ระบบลิฟตและบันไดเลื่อน (Elevator and Escalators)
ระบบลิฟต (Hydorlic) เปนการขับเคลื่อนจากดานลาง โดยที่ไมมีหองเครื่องอยูทางดานบน
เหมาะสมกับโครงการ ขนาดของหองโดยสารที่สามารถรองรับกับความตองการ User ซึ่งจะมีแผง
ควบคุมที่อยูในระดับการใชงานที่สะดวก
ระบบบันไดเลื่อน(Escalators) มี ความจําเปนในโครงการมากเนื่องจากโครงการมีการกําหนด
เสนทางในการเดินทางโดย ใชทางยกระดับดังนั้นอาคารสถานีจึงจําเปนที่จะตองยกตัวอาคาร
สูงขึ้นเพื่อลด จุดตัดระหวางระบบเดินรถไฟเดิมกับระบบใหมในพื้นที่
เทคโนโลยีเกี่ยวกับอาคารประหยัดพลังงาน
เนื่องจากโครงการเปนโครงการขนาดใหญ ซึ่งมีผูใชงานจํานวนมาก จึงมีการใชทรัพยากรธรรมชาติ
ในปริมาณที่สูง ดังนั้นในทางที่ดี โครงการก็มีความเหมาะสมที่จะนําเทคโนโลยีที่สามารถชวย
อาคารลดใชพลังงาน เขามาใชกับโครงการ เชน การใชน้ําหมุนเวียน กักเก็บน้ํา หรือการใชแผงโซ
ลาเซล อีกทั้งยังรวมไปถึงแนวความคิดในการออกแบบอาคารอีกดวย
ระบบการจัดเก็บสินคาดวยหุนยนต
เพื่อยกระดับและการจัดการที่เปนระบบ จึงเลือกใชการจัดเก็บสินคาดวยหุนยนต โดยเริ่ม
กระบวนการตั้งแตรับสินคาเขามาจนกระทั้งสินคานั้นไดนําออกจําหนาย เปนการลดอัตราจาง
พนักงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน เนื่องจากหุนยนตนั้นสามารถทํางานหนักและมี
ขอผิดพลาดไดนอยกวามนุษย
ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ
ใช Computer ควบคุมระบบงานภายในอาคาร ซึ่งควบคุมที่ Control Room ของโครงการ โดยมี
การแสดงในรูปแบบ Graphic
แนวความคิดโครงการ 3 -31

More Related Content

Similar to 15 บทที่ 3 f

ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Rattana Wongphu-nga
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Fernimagine
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3ipimmzn
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Singto Theethat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์heartherher
 
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงานใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงานRevill Noes
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานKtmaneewan
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3noeynymon
 
คู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบคู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบtelecentreacademy
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3juice1414
 
ใบงานที่+..
ใบงานที่+..ใบงานที่+..
ใบงานที่+..win_apitchaya
 

Similar to 15 บทที่ 3 f (20)

ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
K3
K3K3
K3
 
8
88
8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงานใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
 
Yrc 606
Yrc 606Yrc 606
Yrc 606
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
คู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบคู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบ
 
001
001001
001
 
Computer project 3
Computer project 3Computer project 3
Computer project 3
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่+..
ใบงานที่+..ใบงานที่+..
ใบงานที่+..
 

More from Pichitnan Nantavichit (17)

ปก
ปกปก
ปก
 
3 4ใบอนุมัติ f
3 4ใบอนุมัติ f3 4ใบอนุมัติ f
3 4ใบอนุมัติ f
 
5 6 บทคัดย่อ f
5 6 บทคัดย่อ f5 6 บทคัดย่อ f
5 6 บทคัดย่อ f
 
7 บทนำ f
7 บทนำ f7 บทนำ f
7 บทนำ f
 
9 คำนำ f
9 คำนำ f9 คำนำ f
9 คำนำ f
 
9 คำนำ f
9 คำนำ f9 คำนำ f
9 คำนำ f
 
8 สรุปสาระสำคัญ f
8 สรุปสาระสำคัญ f8 สรุปสาระสำคัญ f
8 สรุปสาระสำคัญ f
 
16 บทที่ 4 f
16 บทที่ 4 f16 บทที่ 4 f
16 บทที่ 4 f
 
17 บทที่ 5 f
17 บทที่ 5 f17 บทที่ 5 f
17 บทที่ 5 f
 
18 บทที่ 6 f
18 บทที่ 6 f18 บทที่ 6 f
18 บทที่ 6 f
 
20 บรรณานุกรม f
20 บรรณานุกรม f20 บรรณานุกรม f
20 บรรณานุกรม f
 
Thesis 04 5205108
Thesis 04 5205108Thesis 04 5205108
Thesis 04 5205108
 
Thesis 03 5205108
Thesis 03 5205108Thesis 03 5205108
Thesis 03 5205108
 
Thesis 02 5205108
Thesis 02 5205108Thesis 02 5205108
Thesis 02 5205108
 
Thesis 01 5205108
Thesis 01 5205108Thesis 01 5205108
Thesis 01 5205108
 
Pre thesis 02-5205108
Pre thesis 02-5205108Pre thesis 02-5205108
Pre thesis 02-5205108
 
Pre thesis 01-5205108
Pre thesis 01-5205108Pre thesis 01-5205108
Pre thesis 01-5205108
 

15 บทที่ 3 f

  • 1. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter บทที่ 3 แนวความคิดโครงการ (Programming Concepts) แนวความคิดโครงการ คือ การนําเสนอความสัมพันธขององคประกอบตางๆภายในโครงการ โดยเปนการกําหนดถึงการตอบสนองตอความตองการของโครงการที่เปนไปไดในการออก แบบ โดยเนนถึงเหตุผลและความสําคัญที่ไดมาจากขอเท็จจริง ซึ่งแนวความคิดในการออกแบบโครงการ นั้น เปนการกําหนดทิศทางของโครงการดวยนามธรรม โดยโครงการหนึ่งๆอาจจะมีหลากหลาย แนวความคิดโครงการได พิจารณาความสําคัญของแตละแนวความคิดโครงการ แลวเลือกให เหมาะสมกับโครงการมากที่สุด แนวความคิดโครงการจะเปนการบรรยายในเชิงคุณภาพ กลาว ลักษณะ การจัดการความสัมพันธ และความเหมาะสมของแตละองคประกอบภายในโครงการ โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) ซึ่งเปนโครงการที่ผสม กันระหวางอาคารสํานักงาน และสวนอาคารจัดแสดงสินคา ซึ่งลักษณะกิจกรรมที่เกิดขึ้นมีความ แตกตางกัน รวมไปถึงลักษณะของคุณภาพของที่วาง โดยคํานึงการออกแบบที่เปนมิตรผูใชงาน อาคารและสิ่งแวดลอม ดังนั้น จึงวางแนวคิดโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) ไวดังนี้ • รูปลักษณของโครงการควรจะสื่อความเปนอาคารที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยนําอัตลักษณที่ สําคัญของบริษัทมาประกอบกับแนวความคิดในการออกแบบ รวมไปถึงการเลือกวัสดุประกอบ อาคารที่สามารถสื่อถึงความเปนเอกลักษณของบริษัทไดชัดเจน • โครงการมีการวางตัวอาคารเปนลักษณะกลุมอาคารเพื่อใหสามารถแยกการใชงานของ กิจกรรม ของผูใชหลักกับผูใชรองไดอยางชัดเจน โดยใชพื้นที่วางหรือพื้นที่สีเขียวเปนตัวเชื่อมกลุม อาคารหรือกิจกรรม เขาดวยกัน แนวความคิดโครงการ 3 -1
  • 2. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter • โครงการควรจะมีการสรางพื้นที่วาง บรรยากาศ และสภาพแวดลอมที่ดีเพื่อสงเสริมคุณภาพที่ วางของโครงการ และทําใหผูใชงานรูสึกผอนคลาย ไมนาเบื่อ เนื่องจากกิจกรรมหลักเปนอาคาร สํานักงาน ซึ่งมีความตองการพื้นที่สําหรับพักผอน • โครงการควรจะนําเอาเทคโนโลยีตางๆที่ทันสมัย ตลอดจนโครงสรางพิเศษที่ทันสมัยเขามาใช รวมในการออกแบบโครงการ ไมวาจะเปนสวนสาธารณะ สวนจัดแสดง และสวนอาคารสํานักงาน เพื่อสรางภาพลักษณใหกับองคกร จากแนวความคิดโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) สามารถนําเสนอความสัมพันธที่สอดคลองกันตอเนื่องตลอดทั้ง กระบวนการจัดทํารายละเอียด โครงการ (Programming Procedure) จึงนําเอาแนวความคิดโครงการมาอธิบายตามกลุมขอมูล เพื่อตรวจสอบและกําหนดลงไปในโครงการตามรายละเอียดตางๆของโครงการ โดยแนวความคิด โครงการสามารถแยกออกเปน 4ดาน ไดดังนี้ 3.1 แนวความคิดดานหนาที่ใชสอย (Function Concept) 3.2 แนวความคิดดานรูปแบบ (Form Concept) 3.3 แนวความคิดดานเศรษฐศาสตร (Economy Concept) 3.4 แนวความคิดดานเทคโนโลยี (Technology Concept) การนําเสนอจะคลอบคลุมถึงทุกสวนที่เกี่ยวของกับการออกแบบและการกําหนดรายละเอียดของ โครงการ โดยลําดับขั้นตอนของการกําหนดแนวความคิดโครงการ ตั้งแตภาพรวมทั้งโครงการจนถึง แตละองคประกอบและรายละเอียดในแตละสวน แนวความคิดโครงการ 3 -2
  • 3. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 3.1. แนวความคิดดานหนาที่ใชสอย (Function Concepts) แนวความคิดโครงการเปนเรื่องของความสัมพันธในหลายปจจัยขอมูลพื้นฐานดังนั้นการกําหนด แนวความคิดดานนี้ควรจะพิจารณาทีละสวนขององคประกอบโครงการแต ละองคประกอบเพื่อให สอดคลองกับการกําหนดพื้นที่ใชสอยในบทตอไปซึ่งมีการ เรียงลําดับตามองคประกอบของ โครงการดังนั้นการนําเสนอจึงมีการเรียงลําดับตาม องคประกอบโครงการดังนี้ 3.1.1 ภาพรวมโครงการ (Overall Project) 3.1.2 สวนองคประกอบหลักของโครงการ (Main – Functions Zone) 3.1.3 สวนองคประกอบรองโครงการ (Sub - Function Zone) 3.1.4 สวนสนับสนุนโครงการ (Support Zone) 3.1.5 สวนสาธารณะ (Public Zone) 3.1.6 สวนบริการ (Service Zone) 3.1.7 สวนจอดรถ (Parking Zone) โดยแตละสวนจะมีการกําหนดแนวความคิดโครงการ (Programming Concept) ตาม แนวความคิดที่สัมพันธกับขอมูลพื้นฐาน โดยมีสามารถแสดงรายละเอียดของแตละองคประกอบ โครงการ ดวยหัวขอแนวความคิดตางๆดังนี้ 1.แนวความคิดที่เกี่ยวของกับความสัมพันธ(Relationship) 2.แนวความคิดที่เกี่ยวของกับกิจกรรม 3.แนวความคิดที่เกี่ยวของกับระบบการจัดการ(Operation) ภาพรวมโครงการ (Overall Project) 3.1.1 แนวความคิดที่เกี่ยวของกับความสัมพันธ (Relationship) แนวความคิดนี้เปนการแสดงความสัมพันธของหนาที่ใชสอย และการสัญจรระหวางแตละ องคประกอบของโครงการ ซึ่งเปนการกําหนดแนวความคิดทั้งหมดของโครงการ โดยกิจกรรมที่ เกิดขึ้นในแตละองคประกอบโครงการตองมีความสัมพันธและมีความตอเนื่องสงเสริมใหเกิดความ สมบูรณในการใชงาน และสามรถตอบสนองความตองการของผูใชโครงการไดเปนอยางดี แนวความคิดโครงการ 3 -3
  • 4. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter โดยโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) มีการแบง โครงการตางๆของโครงการออกเปน 6 สวนและกําหนดสวนตางๆ ของโครงการไดดังนี้ 1. สวนองคประกอบหลักของโครงการ (Main – Functions Zone ) เปนสวนอาคารสํานักงาน เปนสวนพื้นที่หลักของโครงการประกอบไปดวยพื้นที่สํานักงานของ บริษัท และอีกสวนหนึ่งเปนพื้นที่สํานักงานเชาหรือไวใชสําหรับรองรับการขยายตัวของบริษัทใน อนาคต 2. สวนองคประกอบรองโครงการ (Sub - Function Zone) เปนสวนพื้นที่จัดแสดงสินคาโดยจะแบงออกเปน 3 สวนใหญๆ คือ - แผนกบานสําเร็จรูป - แผนกสินคาประเภทเฟอรนิเจอร - แผนกสินคามูจิ โดยพื้นที่สวนนี้จะตองสามารถมองเห็นและสังเกตไดงายจากบุคคลภายนอก ซึ่งจะแตกจากสวน อาคารสํานักงาน โดยพื้นที่อาจจะแยกสวนออกมาจากอาคารสํานักงาน แตสามารถเชื่อมตอกันได ดวยในลักษณะของพื้นที่วาง 3. สวนสนับสนุนโครงการ (Support Function Zone) เปนสวนพื้นที่ของโกดังสินคา ซึ่งจะเปนที่ที่จะสนับสนุนในสวนขององคประกอบรอง โดยเปน พื้นที่จัดเก็บสินคาเพื่อสต็อกสินคา หรือรอนําขนสงตอไปยังสาขาตางๆ พื้นที่นี้จึงจะตองสามารถ เชื่อมตอกับสวนองคประกอบรองไดอยางสะดวกแตตองไมบดบังทัศนียภาพหรือสรางปญหาแก สวนอื่นๆในโครงการ 4.สวนสาธารณะ (Public Zone) ประกอบดวยสวนสาธารณะและลานกิจกรรมซึ่งเปนสวนเชื่อมองคประกอบตางๆของโครงการ เขาดวยกันซึ่งเปนสวนที่ผูใชงานสามารถเขามาใชรวมกันได นอกจากนี้ในสวนนี้จะประกอบไปดวย สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ เชน ธนาคาร รานอาหาร เปนตน 5. สวนบริการอาคาร (Service Zone) เปนสวนที่มีความสําคัญกับโครงการเนื่องจากเปนสวนที่ดูแลบํารุงรักษาอาคาร และควบคุมงาน ระบบทุกประเภทของแตละองคประกอบโครงการ ดังนั้น สวนบริการอาคารตองมีเสนทางบริการ อาคารที่สามารถ เขาถึงไดทุกองคประกอบที่สําคัญ โดยไมรวมใชกับเสนทางหลักและเสนทางรอง ของโครงการ และไมผานสวนสาธารณะของโครงการ เพื่อแยกประเภทผูใชโครงการใหชัดเจน แนวความคิดโครงการ 3 -4
  • 5. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 6.สวนจอดรถ (Parking Zone) สวนที่จอดรถของโครงการ จะแยกออกเปน 2 สวนหลัก สําหรับพนักงานและลูกคา เพื่อสามารถ ที่จะจัดการไดอยางสะดวกและเปนระเบียบเรียบรอย และสามารถเขาถึงกิจกรรมที่ผูใชแตละ ประเภทไดสะดวก และมีสวนจอดสําหรับบริการอาคารและขนถายสินคาสงโกดัง เพื่องายตอการ ขนถายสินคา และการใหบริการอาคารดานตางๆ โดยแยกออกจากเสนทางของสวนอื่นๆ แผนผังที่ 3.1 แผนผังแสดงความสัมพันธของพื้นที่ใชสอย : ภาพรวมโครงการ 3.1.2 แนวความคิดที่เกี่ยวของกับกิจกรรม แนวความคิดที่เกี่ยวของกับกิจกรรมเปนการวิเคราะหถึงพฤติกรรมผูใชโครงการสัมพันธกับ กิจกรรม ที่เกิดขึ้นในแตละองคประกอบ เพื่อนําไปใชในการกําหนดรายละเอียดพื้นที่ใชสอย โดยมี หัวขอที่ใชในการพิจารณาในแตละองคประกอบ โดยโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย)มีแนวความคิดที่ เกี่ยวของกับกิจกรรม ในแตละองคประกอบดังนี้ แนวความคิดโครงการ 3 -5
  • 6. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter ก.การจัดกลุมกิจกรรม (Activities Grouping) แผนผังที่ 3.2 แสดงการจัดกลุมของกิจกรรม จําแนกตามผูใชกิจกรรม ข.ลําดับความสําคัญของกิจกรรม (Sequence of Activities) แผนผังที่ 3.3 แสดงความสัมพันธระหวางลําดับของกิจกรรมกับกลุมผูใชโครงการหลัก แผนผังที่ 3.4 แสดงความสัมพันธระหวางลําดับของกิจกรรมกับกลุมผูใชโครงการรอง แนวความคิดโครงการ 3 -6
  • 7. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter แผนผังที่ 3.5 แสดงความสัมพันธระหวางลําดับของกิจกรรมกับกลุมผูใหบริการอาคาร ค.ลําดับความสําคัญของผูใช(Order of Importance) แผนผังที่ 3.6 แสดงความสัมพันธองคประกอบโครงการกับลําดับความสัมพันธของผูใชโครงการ ง.ความตองการใชพื้นที่ของกิจกรรม (Activity Requirements) โดยแนวความคิดโครงการในเรื่องความ ตองการใชพื้นที่ของกิจกรรมจะมีรายละเอียดแสดงถึง เนื้อหา และเรื่องราวของกิจกรรม รวมถึงความตองการของกิจกรรมนั้นๆใหเกิดขึ้นภายในโครงการ ดังนี้ แนวความคิดโครงการ 3 -7
  • 8. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 3.1.3 แนวความคิดที่เกี่ยวของกับระบบการจัดการ (Operation) 1. สวนองคประกอบหลักของโครงการ (Main-Functions Zone ) เปนสวนอาคารสํานักงาน เปนสวนพื้นที่หลักของโครงการประกอบไปดวยพื้นที่สํานักงานของ บริษัท และอีกสวนหนึ่งเปนพื้นที่สํานักงานเชาหรือไวใชสําหรับรองรับการขยายตัวของบริษัทใน อนาคต แผนผังที่ 3.7 แสดงความสัมพันธองคประกอบหลัก 2. สวนองคประกอบรองโครงการ (Sub - Function Zone) เปนสวนพื้นที่จัดแสดงสินคาโดยจะแบงออกเปน 3 สวนใหญๆ คือ - แผนกบานสําเร็จรูป - แผนกสินคาประเภทเฟอรนิเจอร - แผนกสินคามูจิ โดยพื้นที่สวนนี้จะตองสามารถมองเห็นและสังเกตุไดงายจากบุคคลภายนอก ซึ่งจะแตกจากสวน อาคารสํานักงาน โดยพื้นที่อาจจะแยกสวนออกมาจากอาคารสํานักงาน แตสามารถเชื่อมตอกันได ดวยในลักษณะของพื้นที่วาง แนวความคิดโครงการ 3 -8
  • 9. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter แผนผังที่ 3.8 แสดงความสัมพันธองคประกอบรอง 3. สวนสนับสนุนโครงการ (Support Function Zone) เปนสวนพื้นที่ของโกดังสินคา ซึ่งจะเปนที่ที่จะสนับสนุนในสวนขององคประกอบรอง โดยเปน พื้นที่จัดเก็บสินคาเพื่อสต็อกสินคา หรือรอนําขนสงตอไปยังสาขาตางๆ พื้นที่นี้จึงจะตองสามารถ เชื่อมตอกับสวนองคประกอบรองไดอยางสะดวกแตตองไมบดบังทัศนียภาพหรือสรางปญหาแก สวนอื่นๆในโครงการ แผนผังที่ 3.9 แสดงความสัมพันธสวนสนับสนุนโครงการ แนวความคิดโครงการ 3 -9
  • 10. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 4.สวนสาธารณะ (Public Zone) ประกอบดวยสวนสาธารณะและลานกิจกรรมซึ่งเปนสวนเชื่อมองคประกอบตางๆของโครงการ เขาดวยกันซึ่งเปนสวนที่ผูใชงานสามารถเขามาใชรวมกันได นอกจากนี้ในสวนนี้จะประกอบไปดวย สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ เชน ธนาคาร รานอาหาร เปนตน แผนผังที่ 3.10 แสดงความสัมพันธสวนสาธารณะ 5. สวนบริการอาคาร (Service Zone) เปน สวนที่มีความสําคัญกับโครงการเนื่องจากเปนสวนที่ดูแลบํารุงรักษาอาคาร และควบคุมงาน ระบบทุกประเภทของแตละองคประกอบโครงการ ดังนั้น สวนบริการอาคารตองมีเสนทางบริการ อาคารที่สามารถ เขาถึงไดทุกองคประกอบที่สําคัญ โดยไมรวมใชกับเสนทางหลักและเสนทางรอง ของโครงการ และไมผานสวนสาธารณะของโครงการ เพื่อแยกประเภทผูใชโครงการใหชัดเจน แนวความคิดโครงการ 3 -10
  • 11. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter แผนผังที่ 3.11 แสดงความสัมพันธสวนบริการอาคาร 6. สวนจอดรถ (Parking Zone) สวนที่จอดรถของโครงการ จะแยกออกเปน 2 สวนหลัก สําหรับพนักงานและลูกคา เพื่อสามารถ ที่จะจัดการไดอยางสะดวกและเปนระเบียบเรียบรอย และสามารถเขาถึงกิจกรรมที่ผูใชแตละ ประเภทไดสะดวก และมีสวนจอดสําหรับบริการอาคารและขนถายสินคาสงโกดัง เพื่องายตอการ ขนถายสินคา และการใหบริการอาคารดานตางๆ โดยแยกออกจากเสนทางของสวนอื่นๆ แนวความคิดโครงการ 3 -11
  • 12. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter แผนผังที่ 3.12 แสดงความสัมพันธสวนจอดรถ 3.2 แนวความคิดดานรูปแบบ (Form Concept) แนวความคิดดานรูปแบบ แบงออกเปนสวนดังนี้ 3.2.1 แนวความคิดในการเลือกที่ตั้งโครงการ (Criteria for Site Selection) 3.2.2 แนวความคิดโครงการดานจินตภาพ (Image Concepts) มีรายละเอียดดังนี้ 3.2.1 แนวความคิดในการเลือกที่ตั้งโครงการ (Criteria for Site Selection) โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) เปนโครงการอาคาร สํานักงานที่ตองพิจารณาองคประกอบตางๆ โดยเฉพาะจะตองอยูในที่ตั้งที่เหมาะสมกับโครงการ ดังนั้น หลักเกณฑการพิจารณาที่ตั้ง(Site) โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) จึงมีขั้นตอน ดังนี้ 1. แนวความคิดในการเลือกที่ตั้งโครงการ 2. แนวความคิดในการเปรียบเทียบที่ตั้ง แนวความคิดโครงการ 3 -12
  • 13. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 1. แนวความคิดในการเลือกที่ตั้งโครงการ หลักเกณฑที่ใชในการพิจารณาที่ตั้งโครงการทั้ง 3 แหงนั้น ที่ตั้งโครงการทั้ง 3 แหงตองมี ศักยภาพใกลเคียงกัน โดยโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศ ไทย) มีหลักเกณฑการพิจารณาที่ตั้งโครงการ ดังนี้ 1. ดานเศรษฐกิจและการเงิน (Economical and Financial) 1.1 ราคาที่ดิน โครงการไดงบประมาณจากบริษัท ในการลงทุนขยายสาขาอาคารสํานักงาน 1.2 สภาพการตลาด และสวนแบง (Marketing Share) ดวยพื้นที่ที่ตั้งโครงการนั้นเปนแหลงที่อยูอาศัย จึงมีโครงการหลายๆประเภทเกิดขึ้นทั้งที่เปนสวน แบงทางการตลาด หรือเปนโครงการที่สนับสนุนกับโครงการ แตโดยรวมแลวนั้นดวยภาพลักษณ และจุดขายของบริษัท มีความแตกตางจากโครงการอื่นๆ และดวยองคประกอบหลักของโครงการ เปนอาคารสํานักงาน จึงไมคอยมีผลกระทบตอการตลาดมากนัก 2. ดานเทคนิค (Techniques) 2.1 การใชที่ดิน (Land Use) การใชที่ดินของโครงการเปนอาคารสํานักงานและมีสวนแสดงสินคา จึงไมมีความจําเปนตองเปน อาคารสูง แตตองการพื้นที่แสดงสินคาที่สามารถสังเกตและเขาถึงไดงาย และมีพื้นที่เปดโลง 2.2 สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (Utilities and Facilities) ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่สงเสริมโครงการนอกจาก ประปา ไฟฟา โทรศัพท อินเตอรเน็ต ฯลฯ แลวยังมีถนนสายหลักสายรอง ที่จะสามารถที่จะสงเสริมในสวนของการเขาใชโครงการในแตละ รูปแบบการใชงานไดงายขึ้น 2.3 ความสะดวกในการเขาถึง (Accessibility) การเขาถึงโครงการ สามารถที่จะเขาถึงโครงการไดหลายทาง ดังนี้ เขาถึงโครงการโดยเสนทางคมนาคมขนสงโดยรอบๆโครงการหรือการใชถนนในการเขาถึงพื้นที่ตั้ง โครงการ - ระบบของการเดินทางโดยเสนทางของถนนตางๆ - การใชการเดินทางโดยรถสวนบุคคล - การเดินทางโดยรถโดยสารรับจาง (Taxi รถสองแถว) - การเขาถึงโดยรถโดยสารสาธารณะ แนวความคิดโครงการ 3 -13
  • 14. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 2.4 การคมนาคม และสภาพการจราจร (Transportation and Traffic) เนื่องจากที่ตั้งโครงการอยูในพื้นที่อยูอาศัย จึงมีผลกระทบทางดานการจราจรเกิดขึ้นในกรณีที่เปน ชวงเวลาเรงดวน อาจทําใหการสัญจรในการเขาถึงโครงการมีความหนาแนนและเกิดการติดขัดของ ยานพาหนะ ดังนั้นในชวงเชาและเย็นจึงจะเกิดการจราจรที่หนาแนน 3. ดานสังคมและวัฒนธรรม (Social & Culture) 3.1 ลักษณะประชากร (Population) ลักษณะของประชากรในบริเวณพื้นที่ตั้งโครงการ หรือสภาพแวดลอมโดยรอบ ตองอยูใน กลุมเปาหมายหลักและรองของโครงการ อีกทั้งยังตองมีปริมาณของกลุมผูที่สนใจในโครงการอยาง พอเพียง ทั้งในแงของลักษณะและปริมาณ 3.2 ความปลอดภัย (Safety) โครงการมีการเขาใชของผูใชงานเปนจํานวนมาก ดังนั้นจึงควรที่จะมีมาตรการในการปองกัน อุบัติเหตุ และเพื่อปองกันชีวิตและทรัพยสินของผูเขาใชบริการ จึงควรมีเจาหนาที่ที่สามารถดูแล ได อยางทั่วถึง 3.3 ความเหมาะสมของประเภทอาคาร (Conformity) อาคารที่เกิดขึ้นภายในโครงการไมควรกอใหเกิดผลเสียหรือผลกระทบกับอาคารโดยรอบ มีความ สอดคลองทั้งรูปแบบสถาปตยกรรมและที่วาง 4. ดานสภาวะแวดลอม (Environment) 4.1 สภาพโดยรอบบริเวณ (Surroundings) สภาพโดยรอบโครงการเปนที่วางละยานที่พักอาศัย ซึ่งในการจัดทําโครงการตองไมสงผลกระทบ ตอพื้นที่และบริบทโดยรอบ 4.2 ทิวทัศน (View from site) โครงการประเภทอาคารสํานักงานไมมีความจําเปนที่จะตองให คานํ้าหนักกับมุมมองจากภายใน โครงการมากนักเนื่องจากอาคารประเภทนี้เปน อาคารที่เนนใหมีพื้นที่และกิจกรรมสวนมากภายใน โครงการมากกวาภายนอกโครงการ 4.3 การมองเห็นที่ตั้ง และลักษณะเชื้อเชิญ (Approach and Invitation) เนื่องจากโครงการมีสวนจัดแสดงสินคา ในดานการมองเห็นที่ตั้งจึงมีความสําคัญ สามารถมองเห็น ไดงาย หรือมีจุดดึงดูด หรือมีลักษณะที่เชื้อเชิญ 4.4 ความสัมพันธของโครงการที่เกี่ยวของ (Linkage) เนื่องจากโครงการจําเปนที่จะตองพึ่งพาอาศัยโครงการที่อยูในละแวกใกลเคียง เพื่อเปนการดึงดูด หรือเพิ่มปริมาณผูใชโครงการ โครงการโดยรอบจึงมีความสําคัญ ในการเลือกที่ตั้งโครงการ แนวความคิดโครงการ 3 -14
  • 15. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 5. ดานแนวความคิดโครงการ (Trend) 5.1 แนวโนมการไดรับประโยชนจากระบบขนสงมวลชน (MASS TRANSIT) ระบบขนสงมวลชน ประเภทตางๆ เชน รถประจําทาง รถไฟฟา หรือแนวโนมโครงการตางๆที่จะ เกิดขึ้น จะมีผลอยางมากตอโครงการ ซึ่งตองสามารถเชื่อมโยงพื้นที่ตั้งโครงการเขากับกับพื้นที่ ตางๆ หรือพื้นที่ที่มีการดําเนินกิจกรรม สงผลใหเกิดประโยชนกับโครงการได อีกทั้งยังเปนการ อํานวยความสะดวกของผูใชโครงการ 5.2 การขยายตัวโครงการ (Project Expansion) พื้นที่ตั้งโครงการ หรือสภาพแวดลอมของโครงการตองมีศักยภาพที่ดีพอที่จะสามารถรองรับ การขยายตัวของโครงการที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต 5.3 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน (Trend in Changing Land Use) พื้นที่ตั้งโครงการควรตั้งอยูในเขตพื้นที่ที่มีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน ไปในทางที่ สอดคลองกับประเภทโครงการ เพื่อโครงการที่อาจจะเกิดขึ้นตอๆมาในอนาคตนั้น สามารถสงเสริม กับโครงการที่มีอยูในปจจุบันได 5.4 แนวโนมของการอยูในที่เวนคืน (Expropriation) พื้นที่ที่ตังของโครงการเจาของเปนเอกชน จึงไมควรจะตั้งอยูในพื้นที่ที่มีการเวนคืนที่ดิน ซึ่งจะสงผล กระทบตอโครงการในระยะยาว 5.5 แนวโนมการขยายตัวของชุมชนขางเคียง การที่ชุมชนมีอัตราการขยายตัวสูงยอมทําสงผลตอการโครงการทั้ง ในแงของสภาพแวดลอม ระบบคมนาคม การเขาถึง ภาพลักษณของโครงการ กลุมเปาหมายและปจจัยตางๆที่สงผลตอ โครงการ จากหลักเกณฑในการพิจารณาที่ตั้ง ดังกลาว ทําใหสามารถสรุปหัวขอที่ใชในการพิจารณาที่ตั้ง โครงการ 3 แหง ไดในสวนของหลักเกณฑในการเปรียบเทียบที่ตั้ง โดยอางอิงกับบทที่ 2 ในสวน ตารางที่ 2.1 สรุปความสําคัญของหลักเกณฑการเลือกที่ตั้งโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) แนวความคิดโครงการ 3 -15
  • 16. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 2. แนวความคิดในการเปรียบเทียบที่ตั้ง เนื่องจากโครงการมีหลักเกณฑในการพิจารณาหาที่ตั้งโครงการ ดังนั้น จึงนําหลักเกณฑ ดังกลาวมาเปรียบเทียบที่ตั้ง โครงการเพื่อหาบทสรุปที่ตั้งโครงการ ที่มีความเหมาะสมมากที่สุด จากตัวเลือกที่ตั้งโครงการทั้ง 3 แหง โดยเปนหลักเกณฑการใหลําดับคะแนนตามลําดับความสําคัญของแตละหลักเกณฑดังนี้ Criteria for Site Selection Weight 1. มีโครงการสงเสริม/สนับสนุน 5 2. การคมนาคม/การเขาถึงโครงการ 5 3. โครงสรางบริการพื้นฐานสาธารณะ/ ระบบโลจิสติก มีลักษณะที่สงเสริม 5 4. มุมมอง/ทําเลที่ตั้ง/บริบท 5 5. กลุมเปาหมาย 5 รวม 25 ตารางที่ 3.1 แสดงหลักเกณฑการใหคะแนนการพิจารณาที่ตั้งโครงการ 3.2.2 แนวความคิดโครงการดานจินตภาพ (Image Concepts) เปนลักษณะรูปแบบโครงการดานสถาปตยกรรม ที่มีความสอดคลองกับผูใชกิจกรรม พฤติกรรม ที่ตั้ง งบประมาณ และเทคโนโลยีอาคาร โดยแนวทางการนําเสนอ เพื่อสามารถนําไปใชในการ ออกแบบแนวความคิดดานจินตภาพโครงการ จากการที่ไดทําการศึกษา Case Study ในบทที่ 2 ขอมูลพื้นฐานโครงการแลว สามารถนําเสนอเปนแนวความคิดไดหัวขอหลักที่เกี่ยวของกับอาคาร ประเภทอาคารสํานักงาน ดังนี้ 1.แนวความคิดโครงการดานจินตภาพภายนอก 2.แนวความคิดโครงการดานจิยตภาพภายใน แนวความคิดโครงการ 3 -16
  • 17. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 1.แนวความคิดโครงการดานจินตภาพภายนอก แนวความคิดรูปแบบของอาคารจะแสดงความเปนเอกลักษณของบริษัท ทั้งในรูปแบบของฟอรม อาคาร หรือวัสดุปดผิวอาคาร ที่สามารถสื่อออกมาไดอยางชัดเจน นอกจากนี้มีความออนนอมตอ พื้นที่โดยรอบ และสอดแทรกดวยพื้นที่สีเขียว อาคารจึงดูเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติไมแบงแยก ทํา ใหเกิดความเปนมิตรทั้งตอผูใชงาน 2.แนวความคิดโครงการดานจินตภาพภายใน แนวความคิดโครงการ 3 -17
  • 18. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter แนวความคิดรูปแบบภายในจะมีปฏิสัมพันธระหวางที่วางและกิจกรรม ทําใหเกิดความรับรูและ ความรูสึก ทําใหเกิดปฏิสัมพันธระหวางผูใชงานและอาคาร ในรูปแบบลักษณะตางๆ อยางไรก็ตามลักษณะการสะทอนความเปนเอกลักษณของบริษัท ออกมายังรูปลักษณของอาคาร นั้นตองคํานึงถึงองคประกอบตางๆ เหลานี้ดวย - กิจกรรมและหนาที่ใชสอย (Activities and Function) - ผูใชโครงการ (User) - ที่ตั้งและสภาพแวดลอมของโครงการ (Site and Environment) 3.3 แนวความคิดดานเศรษฐศาสตร (Economy Concepts) การกําหนดแนวความคิดทางดานเศรษฐศาสตรโดยสามารถบงบอกรูปแบบของโครงการได โดยแบงออกเปน 2 แนวทางคือ - การควบคุมงบประมาณโครงการ (Budget Control) - การควบคุมคุณภาพอาคาร (Building Quality Control) 3.3.1 ประสิทธิภาพอาคาร (Building Efficiency) ประกอบดวย - พื้นที่ใชงานสุทธิ (Assignable Area) คือพื้นที่รวมของทุกๆพื้นที่ใชสอยที่ถูกตองการตาม โปรแกรม - พื้นที่สนับสนุน (Unassigned Area) คือพื้นที่ที่นอกเหนือจากพื้นที่ใชงานโดย เฉพาะพื้นที่ทาง สัญจร หองเครื่อง หองน้ําสวนรวม หองเก็บของผนังกั้นตางๆ โดยไมรวมพื้นที่จอดรถซึ่งแตกตางไป ตามกฎหมายของแตละทองที่ และพื้นที่ใชงานภายนอก (Outdoor Space) เพราะถือเปนพื้นที่ใช งานแตอยูภายนอกอาคาร - สัดสวนประสิทธิภาพของอาคาร (Efficiency Ratio) คือสัดสวนรอยละของ พื้นที่สนับสนุนตอ พื้นที่ใชงานสุทธิ มีระดับโดยทั่วไปอยู 3 ระดับ คือ 1.ระดับดีมาก อัตราสวน 40 – 50 % ของพื้นที่ทั้งหมด 2.ระดับปานกลาง อัตราสวน 30 % ของพื้นที่ทั้งหมด 3.ระดับประหยัด อัตราสวน 20 % ของพื้นที่ทั้งหมด แนวความคิดโครงการ 3 -18
  • 19. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) เปนโครงการกึ่ง สาธารณะที่ตองมีพื้นที่ภายในอาคารเปดโลงมากพอเพื่อสรางคุณภาพใหกับที่วางและเสริมสราง ทัศนียภาพใหกับอาคาร โดยแบงลําดับความสําคัญของหนาที่ใชงานตามความเหมาะสมของ กิจกรรมโดยแบงเปนองคประกอบดังนี้ องคประกอบโครงการ พื้นที่ใชสอย (%) พื้นที่สัญจร (%) 1. องคประกอบหลัก 70% 30% 2. องคประกอบรอง 70% 30% 3. สวนสนับสนุนโครงการ 80% 20% 4. สวนสาธารณะ 70% 30% 5. สวนบริการอาคาร 80% 20% 6. สวนจอดรถ 50% 50% ตารางที่ 3.2 แสดงการแบงสัดสวนประสิทธิภาพอาคารจําแนกตามองคประกอบ ที่มา : ตารางราคาคากอสรางจําแนกตามชนิดอาคารและระดับคุณภาพ เอกสารประกอบการสอนวิชา THESIS PREPARETION CONCEPTS – 15 3.3.2 คุณภาพอาคาร (Building Quality Control) คุณภาพของอาคารสามารถบอกดวยราคาคากอสรางตอตารางเมตร ซึ่งโดยทั่วไปรวมถึงงาน สถาปตยกรรม งานโครงสราง ระบบไฟฟา ระบบสุขาภิบาลแตไมรวมถึงอุปกรณพิเศษที่ติดตั้ง สา หรับอาคารเพื่อการศึกษามีการประเมินคากอสราง ดังนี้ 1. ระดับประหยัด ราคาคากอสราง 8,000 บาท/ตารางเมตร 2. ระดับปานกลาง ราคาคากอสราง 10,000 บาท/ตารางเมตร 3. ระดับดี ราคาคากอสราง 15,000 บาท/ตารางเมตร 4. ระดับดีมาก ราคาคากอสราง 20,000 บาท/ตารางเมตร สําหรับโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) เปนโครงการ ที่เปนเจาของโดยเอกชน ดังนั้นจึงมีการกําหนดคุณภาพอาคารใหอยูในระดับระดับประหยัดถึงดี มาก เนื่องจากตองมีการควบคุมคุณภาพในดานสวนอาคารสํานักงานและสวนจัดแสดงสินคา เนื่องจากเปนองคประกอบที่สําคัญของโครงการ โดยสามารถแสดงรายละเอียดองคประกอบ โครงการใหสัมพันธกับราคาคากอสรางและระดับคุณภาพอาคาร ไดดังตอไปนี้ แนวความคิดโครงการ 3 -19
  • 20. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter องคประกอบโครงการ ราคาคากอสราง (บาท/ตารางเมตร) ระดับคุณภาพ 1. องคประกอบหลัก 20,000 ดีมาก 2. องคประกอบรอง 20,000 ดีมาก 3. สวนสนับสนุนโครงการ 10,000 ปานกลาง 4. สวนสาธารณะ 15,000 ดี 5. สวนบริการอาคาร 10,000 ปานกลาง 6. สวนจอดรถ 8,000 ประหยัด ตารางที่ 3.3 แสดงราคาคากอสรางจําแนกตามองคประกอบและคุณภาพ ที่มา : ตารางราคาคากอสรางจําแนกตามชนิดอาคารและระดับคุณภาพ เอกสารประกอบการสอนวิชา THESIS PREPARETION CONCEPTS – 16 สรุป แนวความคิดโครงการทางดานเศรษฐศาสตรโครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) เปนโครงการที่เนนทางดานคุณภาพของอาคารและคุณภาพของที่วาง เนื่องจากอาคารแหงนี้ตั้งขึ้นเพื่อรองรับกลุมลูกคา และเปนตัวแทนของภาพลักษณบริษัท ดังนั้นจึง ตองการสัดสวนพื้นที่และคุณภาพอาคารที่ดี เพื่อตอบสนองกลุมเปาหมายโครงการ และสงเสริม กิจกรรมที่จะเกิดขึ้นของโครงการ 3.4 แนวความคิดดานเทคโนโลยี (Technology Concepts) แนวความคิดโครงการทางดานเทคโนโลยี เปนการเลือกประเภทของเทคโนโลยีอาคารให เหมาะสมกับประเภทและลักษณะของโครงการโดยอางอิงจากบทที่2 ขอมูลพื้นฐานโครงการ และ สอดคลองกับบทที่1 เปาหมายโครงการ เพื่อใชในการพิจารณาหา บทที่4 ในสวนของรายละเอียด โครงการทางดานเทคโนโลยี โดยแนวความคิดโครงการทางดานเทคโนโลยีของโครงการ มี รายละเอียดที่ใชในการคํานึงถึง ดังนี้ - ระบบโครงสรางอาคารตองเหมาะสมและตอบรับกับรูปแบบอาคาร - ระบบเทคโนโลยีอาคารและระบบการกอสรางตองมีประสิทธิภาพที่ดีที่สุด ในปริมาณราคาที่ต่ํา ที่สุด เพื่อลดคาใชจายในการลงทุน - ระบบเทคโนโลยีอาคารมีความเหมาะกับการใชงานของอาคาร - ระบบเทคโนโลยีอาคารมีราคาคาติดตั้ง และคาบํารุงรักษาในระยะยาว ที่ไมสมควรแพงเกินไปนัก เพื่อลดตนทุนในการลงทุน แนวความคิดโครงการ 3 -20
  • 21. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter - ระบบเทคโนโลยีอาคารตองมีความปลอดภัยในการใชงานในระยะยาว - ระบบเทคโนโลยีอาคารตองอายุยืนยาวในการใชงาน - ระบบเทคโนโลยีอาคารตองสามารถชวยประหยัดพลังงานอาคารได เพื่อชวยลดคาใชจายใน ระยะยาว โดยรายละเอียดแนวความคิดโครงการทางดานเทคโนโลยีอาคารมี 2สวนดังนี้ 3.4.1 ระบบอาคาร (Building System) 3.4.2 ระบบเทคโนโลยีพิเศษ (Specific Technology) 3.4.1 เทคโนโลยีระบบอาคาร (Building System) โครงการพิพิธภัณฑสถานใตรมเย็น มีระบบโครงสรางหลายระบบ เนื่องจากความตองการในการใช พื้นที่ในแตละองคประกอบ แตกตางกัน 1. ระบบโครงสราง (Structure System) ภายในโครงการจะประกอบไปดวยระบบโครงสรางดังนี้ - ระบบเสา – คาน ระบบโครงสรางเสา-คานเปนแบบระบบเสาและคานคอนกรีตเสริมเหล็ก เนื่องจากราคาไมสูงมากนักงายตอการกอสรางสามารถสรางไดกับชวง ระยะหางระหวางเสาสั้นๆ ใชพื้นที่ไมใหญมากนักเชน สวนบริการ ประกอบกับการกอสรางดวยเทคโนโลยีสมัยใหมในการ กอสรางจึงไมมีขอบเขตในการกอสรางในระบบเสาและคานมากนัก ภาพที่ 3.1 แสดงภาพโครงสรางเสา - คาน แนวความคิดโครงการ 3 -21
  • 22. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter - ระบบโครงถัก (Truss System) เปนโครงสรางที่เหมาะกับสวนที่ตองการระยะหางเสายาวๆ เชน โกดังสินคา สวนจัดแสดง โดยใช โครงถักชวยในการถายน้ําหนักลงไปที่หัวเสาทําใหไดระยะหางเสาที่ยาวขึ้น ติดตั้งงาย มีความ แข็งแรง ภาพที่ 3.2 แสดงภาพระบบโครง Truss หลังคา ภาพที่ 3.3 แสดงภาพระบบโครงสราง Space frame - โครงสรางหลังคา Flat Slab มีวัสดุกันความรอน และวัสดุกันความชื้นและความลาดเอียดที่เหมาะสม มีเสียงรบกวนนอย กัน ซึมไดดี หนาอยางนอยประมาณ 10 เซนติเมตร และควรผสมน้ํายากันซึม หรือมีวัสดุกันซึมปูทับอีก ชั้นหนึ่ง ไมควรใชพื้นแบบสําเร็จรูป แนวความคิดโครงการ 3 -22
  • 23. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter ภาพที่ 3.4 แสดงภาพระบบโครงสราง Flat slab 2. ระบบปรับอากาศ (Air-condition System) - ระบบปรับอากาศแบบ Split Type สวนพื้นที่ที่มีการใชระบบปรับอากาศแบบชวงเวลา เชน พื้นที่ สําหรับเชา หรือพื้นที่เล็กๆ ก็ควรจะใชระบบปรับอากาศระบบนี้ เพื่อความประหยัดสามารถปรับลด ไดตลอดเวลา ภาพที่ 3.5 แสดงภาพระบบปรับอากาศแบบ Split-type แนวความคิดโครงการ 3 -23
  • 24. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter - ระบบปรับอากาศแบบเครื่องทําน้ําเย็นระบายความรอนดวยน้ํา (WATER COOLED WATER CHILLER) ระบบปรับอากาศแบบเครื่องทําน้ําเย็นระบายความรอนดวยน้ํา (WATER COOLED WATER CHILLER) โดยทั่วไปมี Cooling tower 3 ตัว ตอแบบขนานมีการทํางานแยกอิสระตัวใครตัวมัน ใน แตละตัวจะมีมอเตอรพัดลมระบายความรอนดานบนของ Cooling tower ทําหนาที่ระบายความ รอน โดยใชน้ํารอนเขาและออกรวมกัน การออกแบบในขั้นตนทางวิศวกรจะตองออกแบบ Cooling tower ให ใหญเพียงพอตอความตองการที่แทจริง เผื่อในกรณีที่ออกแบบไมเพียงพอหรือมีการใช งานเกินพิกัด ทําใหในกรณีนี้มีการใชงานตามปกติจะเปดเพียง 2 ตัวก็เพียงพอ อีก 1 ตัวทําหนาที่ เปนตัวสํารองยามฉุกเฉิน หรือ ในกรณีที่อากาศรอนจนผิดปกติ ภาพที่ 3.6 แสดงรูปแบบระบบปรับอากาศแบบเครื่องทําน้ําเย็นระบายความรอนดวยน้ํา แนวความคิดโครงการ 3 -24
  • 25. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 3. ระบบสุขาภิบาล (Sanitary System) จะประกอบไปดวย 2 ระบบ - ระบบจายน้ําขึ้น (Feed-Up Water System) เปนระบบจายน้ําขึ้นโดยใช Pump ซึ่งเหมาะกับอาคาร Low-Rise ที่มีการเปดปดที่เปนเวลา จะตองมีบอพักน้ําใตดิน เพื่อเก็บกักน้ําเอาไวกอนทําการจายไปยังสวนตางๆ ของโครงการ ภาพที่ 3.7 แสดงระบบจายน้ําแบบ Feed Up Water System - การบําบัดน้ําเสียแบบบอเติมอากาศ เปนระบบที่มีประสิทธิภาพในการทํางานสูง ใชพื้นที่นอย ควบคุมการทํางานไดงาย และยัง เหมาะสมกับพื้นที่ที่ทําการออกแบบอาคารอีกดวย ภาพที่ 3.8 แสดงภาพถังบําบัดน้ําเสียแบบเติมอากาศใตดิน แนวความคิดโครงการ 3 -25
  • 26. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 4. ระบบไฟฟา (Electric System) ประกอบไปดวย - ระบบไฟฟากําลังแบบ SUB-STATION เนื่องจากตองการของกาลังไฟฟาสูง เพื่อความสะดวกสบายของโครงการในการจายปริมาณไฟฟา จํานวนมาก จึงจําเปนตองแยกหมอแปลงไฟฟาออกมาตางหาก โดยแยกสวนเปนของภายใน โครงการจากระบบไฟฟาสาธารณะโดยทั่วไป ภาพที่ 3.9 แสดงภาพระบบไฟฟากําลัง - หมอแปลงไฟฟาแบบน้ํามัน หมอแปลงไฟฟาแบบน้ํามัน (Oil-Immersed Transformer) หรือบางครั้งอาจจะเรียกวาOil-Type โดยหมอแปลงแบบนี้จะนิยมติดตั้งภายนอกอาคาร (Outdoor used) โดยจะมีโครงสรางหลักที่ ประกอบไปดวย ขดลวด, แกนเหล็กซิลิคอน, น้ํามันหมอแปลง, ตัวถัง, บุชชิ่งแรงสูง,บุชชิ่งแรงต่ํา, เกยวัดระดับน้ํามัน และอุปกรณอื่น ซึ่งหมอแปลงแบบนี้จะสามารถซอมแซมหรือขนยายไดงาย กวาแบบแหง แตมีขอเสียคือ ติดตั้งภายนอกอาคารจึงตองหาที่ตั้งของหมอแปลงใหเหมาะสม เพื่อที่จะไมทําลายทัศนียภาพ ภาพที่ 3.10 แสดงภาพหมอแปลงไฟฟาแบบน้ํามัน แนวความคิดโครงการ 3 -26
  • 27. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter - ระบบไฟฟาฉุกเฉินแบบดีเซล (Generator) ไฟฟาฉุกเฉินแบบดีเซล เปนระบบที่ทางานอัตโนมัติ คือ หลังจากที่ไฟฟาหลักดับระบบจะสตารท เครื่องและมีสวิทซสับเปลี่ยนจายไฟใหอุปกรณไฟฟาที่สําคัญภายใน 10 วินาที จะจายในระบบสอง สวาง 30% ของเวลาปกติ ควรอยูใกลกับหองหมอแปลงไฟฟา และสามารถระบายอากาศไดดี เนื่องจากจะมีควันและความรอนเกิดขึ้น ภาพที่ 3.11 แสดงเครื่องปนไฟแบบดีเซล - ระบบไฟฟาฉุกเฉินแบบแบตเตอรี่ เปนระบบที่สนับสนุนระบบไฟฟาฉุกเฉินคือเมื่อเกิดไฟฟาขัดของระบบนี้จะทํา หนาที่กอนระบบ ไฟฟาฉุกเฉินแบบดีเซลติดตั้งบริเวณพื้นที่ที่สําคัญ ไดแก บันไดหนีไฟ หองเครื่องไฟฟา ประตูเขา- ออก เพื่อเปนสัญญาณบอกทางหรือสองสวางเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ภาพที่ 3.12 แสดงระบบไฟฟาฉุกเฉินแบบแบตเตอรี่ แนวความคิดโครงการ 3 -27
  • 28. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 5. ระบบปองกันฟาผา (Lighting Protection System) ระบบปองกันไฟฟาแบบนี้สามารถ ปองกันฟาผารอบอาคารได โดยสวนประกอบสําคัญไดแก 1. สายลอฟา (Lighting Air Terminal) ติดตั้งภายนอกอาคารทุก 1.2 เมตร 2. สายนําลงดิน (Ground Rod)เหล็กหุมฉนวนดวยทองแดง(Copper Clad) 3. สายรายดิน(Conductor) สายทองแดงเปลือยหุมดวยฉนวน PVC เดินในทอ PVC เชื่อมระหวาง Lighting Air Terminal และ Ground Rod รัดรอบโครงสรางอาคาร ภาพที่ 3.13 แสดงระบบปองกันฟาผา 6. ระบบแสงสวาง (Lighting System) - การใหแสงทางตรง คือ แสงสวางที่พุงตรงจากจุดกําเนิดแสงมาสูสายตาเราโดยตรงโดยไมมีวัสดุ บัง ดวงโคมที่ใหแสงสวางจะตองสะทอนแสงลงมาไดประมาณ 90 % โดยการใหแสงทางตรงนั้น มักจะใชในการใหแสงสวางในสานักงาน โถง สวนแสดงนิทรรศการและสถานที่ที่ตองการเนนแสง เฉพาะจุด - การใหแสงกึ่งตรง คือ การออกแบบใหแสงสวางออกจากดานลาง ของแหลงกําเนิดแสงโดยตรง เพียงประมาณ 60-90% ของปริมาณแสงทั้งหมด และกําหนดใหแสงสวนที่เหลือฉายขึ้นไปกระทบ เพดานสวนหนึ่งและสะทอนกระจายออกไป การเลือกใชแสงแบบกึ่งตรงนั้นจะใชสาหรับสํานักงาน หองเรียน และสถานที่ตางๆที่ตองการแสงสวางเฉลี่ยในระดับที่เสมอกันทั่วบริเวณ แนวความคิดโครงการ 3 -28
  • 29. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter - แสงธรรมชาติ เลือกใชเปนทางเลือกหลักของการออกแบบเพราะสามารถสรางความนาสนใจ ของแสงตกกระทบที่เปนธรรมชาติที่งดงาม อีกทั้งยังเปนการประหยัดพลังงานใหกับโครงการ ดวย - แสงประดิษฐสวนมากจะใชในพื้นที่ที่มีการจัดกิจกรรมตางๆเชน พื้นที่ประกอบพิธีกรรม สวน หองพัก และการใชงานในเวลากลางคืน อีกทั้งรวมถึงสวนยอยตางๆ ในโครงการ เพราะสามารถ ควบคุมปริมาณแสงใหพอดีกับความตองการได โดยใชแสงทั้งแบบ DIRECT LIGHT,INDIRECT LIGHT เพื่อสรางบรรยากาศความหนาสนใจในจุดตางๆ 6. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม (Communication System) - ระบบโทรศัพท (Telephone System) - ระบบโทรศัพทภายในอาคารหลังจาก เชื่อมสายจากองคการโทรศัพทกับหองชุมสายแลว สายโทรศัพทจะแยกเขาตูสาขา เพื่อจัดระบบ และหมายเลข จากนั้นจะสงไปยังแผงควบคุมในแต ละสวน ภาพที่ 3.14 แสดงระบบโทรศัพท - ระบบโทรทัศนวงจรปด (CCTV) ระบบโทรทัศนวงจรปดแบบระบบรักษาความปลอดภัยรวมของอาคาร โดยจะมีการติดตั้งกลอง ตามตําแหนงสําคัญ ไดแก ทางเขา โถง รานอาหาร และสวนพื้นที่อื่นๆ ซึ่งจอภาพสามารถ ปรับเปลี่ยนการมองดวยการตั้งเวลาในการดู เพื่อใหเกิดการมองพื้นที่ไดอยางทั่วถึง ในกรณีที่ อาคารมีขนาดใหญและมีความตองการในการรักษาความปลอดภัยสูง แนวความคิดโครงการ 3 -29
  • 30. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter ภาพที่ 3.15 แสดงระบบโทรทัศนวงจรปด - ระบบวิทยุสื่อสารระยะสั้น (Walkie Talkie) สําหรับการติดตอกันระหวางพนักงานภายในโครงการ โดยสามารถพกพาไดสะดวก และประหยัด คาใชจาย 7. ระบบปองกันอัคคีภัย (Fire Alarm System) - Heat / Smoke Detector ระบบจะตอบสนองเมื่อมีอุณหภูมิสูงซึ่งมีประสิทธิภาพดีและมีความตองการพื้นที่นอย โดยการ ติดตั้งจะกระจายไปยังจุดตางๆของอาคารซึ่งเมื่อเกิดเพลิงไหมจะทําการแสดงผลไปยังหองควบคุม เพื่อสงสัญญาณเตือนภัยไปยังระบบ Fire Detector System - Sprinkle System ในขณะเกิดเพลิงไหมเมื่อโดนความรอนจนถึงอุณหภูมิที่กําหนดไว ปรอทจะแตกหัวฉีดจะจายน้ํา ออกมาโดยอัตโนมัติการลําเรียงทอจะซอนอยูใตฝาซึ่งมีความสะดวก ปลอดภัย และเหมาะสมกับ โครงการ - Hydrant and Standpipe เปนระบบดับเพลิงชนิดสายสูบมีความสะดวกในการดับเพลิงในสวนที่เขาถึงไดยากใช พื้นที่ติดตั้ง นอยสวนของการกระจายเสียงภายในโครงการใชระบบการกระจายเสียง ที่มาจากสวนกลางหรือ มาจากสวนประชาสัมพันธเปนระบบการกระจายเสียงที่ให เสียงไดยินทั่วทั้งโครงการ เหมาะกับ โครงการที่มีพื้นที่ขนาดใหญ แนวความคิดโครงการ 3 -30
  • 31. โครงการอาคารสํานักงานใหญบริษัท เรียวฮิน เคคาขุ จํากัด (ประเทศไทย) Ryohin Keikaku Co Ltd.(Muji Thailand) Headquarter 3.4.2 เทคโนโลยีระบบพิเศษของโครงการ (Specific Technology) ระบบลิฟตและบันไดเลื่อน (Elevator and Escalators) ระบบลิฟต (Hydorlic) เปนการขับเคลื่อนจากดานลาง โดยที่ไมมีหองเครื่องอยูทางดานบน เหมาะสมกับโครงการ ขนาดของหองโดยสารที่สามารถรองรับกับความตองการ User ซึ่งจะมีแผง ควบคุมที่อยูในระดับการใชงานที่สะดวก ระบบบันไดเลื่อน(Escalators) มี ความจําเปนในโครงการมากเนื่องจากโครงการมีการกําหนด เสนทางในการเดินทางโดย ใชทางยกระดับดังนั้นอาคารสถานีจึงจําเปนที่จะตองยกตัวอาคาร สูงขึ้นเพื่อลด จุดตัดระหวางระบบเดินรถไฟเดิมกับระบบใหมในพื้นที่ เทคโนโลยีเกี่ยวกับอาคารประหยัดพลังงาน เนื่องจากโครงการเปนโครงการขนาดใหญ ซึ่งมีผูใชงานจํานวนมาก จึงมีการใชทรัพยากรธรรมชาติ ในปริมาณที่สูง ดังนั้นในทางที่ดี โครงการก็มีความเหมาะสมที่จะนําเทคโนโลยีที่สามารถชวย อาคารลดใชพลังงาน เขามาใชกับโครงการ เชน การใชน้ําหมุนเวียน กักเก็บน้ํา หรือการใชแผงโซ ลาเซล อีกทั้งยังรวมไปถึงแนวความคิดในการออกแบบอาคารอีกดวย ระบบการจัดเก็บสินคาดวยหุนยนต เพื่อยกระดับและการจัดการที่เปนระบบ จึงเลือกใชการจัดเก็บสินคาดวยหุนยนต โดยเริ่ม กระบวนการตั้งแตรับสินคาเขามาจนกระทั้งสินคานั้นไดนําออกจําหนาย เปนการลดอัตราจาง พนักงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน เนื่องจากหุนยนตนั้นสามารถทํางานหนักและมี ขอผิดพลาดไดนอยกวามนุษย ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ ใช Computer ควบคุมระบบงานภายในอาคาร ซึ่งควบคุมที่ Control Room ของโครงการ โดยมี การแสดงในรูปแบบ Graphic แนวความคิดโครงการ 3 -31