SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
(1)
                                                      คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ

                                 การจัดเตรียมหนังสือ




                                                                                  ร.
                                   หนังสือเป็นสารนิเทศที่ห้องสมุดทั่วไปจัดหามา เพื่อให้บริการมากกว่าวัสดุ
                          สารนิเทศประเภทอื่น แต่ก่อนที่จะนําหนังสือออกให้บริการ ห้องสมุดจะต้อง




                                                                    ร
                          ดําเนินการจัดเตรียมหนังสือแต่ละเล่มหรือแต่ละประเภทให้อยู่ในระบบที่




                                                               ษ์)ม
                          ถูกต้องเรียบร้อยเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อให้พร้อมและสะดวกต่อการให้บริการ


      การจัดเตรียมหนังสือขั้นต้น




                                                      ารัก
                        การจัดเตรียมหนังสือขั้นต้น ได้แก่ การเปิดหนังสือใหม่และการ


                                            รณ
                  ตรวจสภาพหนังสือ การประทับตราห้องสมุด และการลงทะเบียน
                                  ร
          การเปิดหนังสือใหม่และการตรวจสภาพหนังสือ
                              ฯ(บ
          การเปิดหนังสือใหม่ เป็นการช่วยให้ด้ายเย็บหนังสือคลายออกหรือยืดออก ทําให้หนังสือใหม่ที่
 เปิดอ่านไม่พลิกกลับ การเปิดหนังสือใหม่ให้ปฏิบัติดังนี้คือ
                  ตั้งสันหนังสือกับพื้นราบแล้วเปิดปกหน้าและปกหลังกดลงไปให้ราบกับพื้น
                    ิการ


                  เปิดหน้าหนังสือจากปกด้านหน้าประมาณ 8-10 หน้า ใช้นิ้วกดรีดเบา ๆ ที่ขอบสันจาก
                  ด้านบนลงด้านล่าง
                  เปิดหน้าหนังสือจากปกด้านหลังประมาณ 8-10 หน้า ใช้นิ้วกดรีดเบา ๆ ที่ขอบสันจาก
         ยบร



                  ด้านบนลงด้านล่าง
                  ทําตาม ข้อ 2 และ 3 สลับกันจนบรรจบกันที่กลางเล่ม (จํานวนหน้าที่เปิดออกทั้งด้านซ้าย
                   และขวาจะมีประมาณเท่า ๆ กัน) เป็นอันเสร็จวิธีการ
          การตรวจสภาพทําได้ในขณะที่เปิดหนังสือใหม่แต่ละเล่มดังกล่าวแล้ว อาจพบข้อบกพร่องต่าง ๆ
 ักวิท




 ที่จะต้องรีบแก้ไขทันที คือ
                          หน้าหนังสือติดกัน ให้ใช้ใบมีดคม ๆ ตัดออกให้เรียบร้อย
                          หนังสือมีใบแทรกแก้คําผิด ให้แก้คําผิดโดยตลอด อาจใช้วิธีขูดลบ
                         ขีดฆ่า แล้วเขียนหรือตัดข้อความใหม่ติดเข้าไปให้เรียบร้อย
สำน




                          หนังสือมีข้อบกพร่องด้านการพิมพ์ที่แก้ไขไม่ได้ ควรรีบส่งคืน
                          และขอเปลี่ยนเล่มใหม่
(2)
                                              คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ




                                                                     ร    ร.
                                                                ษ์)ม
      การประทับตราหนังสือ




                                                     ารัก
                             การประทับตราห้องสมุดลงในหนังสือมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบ
                      หรือสังเกตเห็นได้ชัดเจนว่าหนังสือนั้นเป็นของห้องสมุด เมื่อมีผู้พบว่าไป

                                              รณ
                      ตกอยู่ ณ ที่ใดนอกห้องสมุดก็จะสามารถนําส่งกลับคืนห้องสมุดได้
                                  ร
 อุปกรณ์สําคัญที่ต้องเตรียมสําหรับประทับตรา มีดังนี้
                              ฯ(บ

       ตรายางชื่อห้องสมุดพร้อมที่อยู่
                      ิการ


                              โรงเรียนบ้านหนองโสน
                         ต.เสม็ดใต้ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา
          ยบร




       ตรายางวันที่
 ักวิท




                                   17 ธ.ค. 2553
สำน




       ตรายางข้อความอื่น ๆ ที่จะนํามาใช้ประทับในหนังสือ
       (เช่น “หนังสืออ้างอิง ให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น”)


                                   หนังสืออ้างอิง
                             ให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น
(3)
                                                 คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ




                                                                             ร.
             แป้นหมึกสีน้ําเงินหรือสีแดงสําหรับประทับตราห้องสมุด และสีดําสําหรับตรา
                   กสี




                                                               ร
 ข้อความอื่น ๆ




                                                          ษ์)ม
                                                 ารัก
     การประทับตรา


 ตําแหน่งต่อไปนี้
                              ร       รณ
        ให้ประทับตราตามตําแหน่งที่กําหนดเหมือนกันทุกเล่ม โดยทัวไปจะกําหนดให้ประทับ
                                                                  ่
                          ฯ(บ
             ปกหน้าด้านใน ประทับตราตรงกึ่งกลางหน้า
             หน้าปกใน ประทับตรงกึ่งกลางหน้า
             หน้าลับเฉพาะที่ห้องสมุดกําหนด (ควรเป็นหน้าคี่ ) ประทับทีมุมขอบขวาบน
                                                                       ่
             ด้านในปกหลัง ประทับที่กึ่งกลางชิดขอบบน
                 ิการ


             ขอบหนังสือ ทั้ง 3 ด้าน เวลาประทับให้หันปกหน้าออกนอกตัว
             สําหรับหนังสืออ้างอิง ให้ประทับตราข้อความ
              “หนังสืออ้างอิงใช้ในห้องสมุดเท่านั้น” ด้วยหมึกสีแดงที่ใบรองปกหน้าและ
       ยบร



               กึ่งกลางของปกหลังด้านใน

        ข้อควรระวังในการประทับตราหนังสือ
 ักวิท




                    ต้องประทับตราให้สะอาด ตราเครื่องหมายหรือข้อความติดชัดเจน
                     ควรลองประทับบนแผ่นกระดาษอืนดูให้พอดี ไม่ติดหมึกมากหรือน้อย
                                                    ่
                     เกินไปและต้องประทับให้ตรงหรือขนานกับเส้นบรรทัด
                    เพื่อให้ติดชัดและข้อความไม่ขาดหายไป ควรค่อย ๆ วางตรากดลงเบา ๆ
สำน




                     ตรง ๆ ก่อนแล้วโยกมือจับตรายางไปข้างหน้า และข้างหลัง เล็กน้อย
                    ต้องระวังอย่าประทับลงบนตัวอักษรหรือรปภาพ เพราะจะทําให้อ่าน
                                                          ู
                     ข้อความไม่ได้และภาพก็จะด้อยคุณค่าไป
(4)
                                             คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ




                                                                    ร    ร.
                                                               ษ์)ม
                                                    ารัก
                                  ร          รณ
                              ฯ(บ
 การลงทะเบียน
                     ิการ


               การลงทะเบียนหนังสือ เป็นการบันทึกหลักฐานการรับหนังสือ
       แต่ละเล่มเข้าห้องสมุดตามลําดับเลขทะเบียน โดยระบุรายละเอียดของ
       หนังสือแต่ละเล่มไว้ในสมุดทะเบียนด้วย
           ยบร




หลักการลงทะเบียน
  ักวิท




          แยกสมุดทะเบียนหนังสือ หนังสือภาษาไทย ภาษาอังกฤษและหนังสือ
           อื่น ๆ ที่แตกต่างจากหนังสือทั่วไปเป็นอย่างละเล่ม
สำน




          การลงทะเบียนหนังสือแต่ละเล่ม ต้องเขียนให้อยูในหนึ่งบรรทัด เพื่อให้
                                                          ่
           แต่ละหน้าของสมุดทะเบียนมีจํานวนเล่มหนังสือเท่ากันง่ายต่อการ
           ตรวจสอบความถูกต้องของลําดับเลขทะเบียน
          เลขทะเบียน เป็นเลขประจําตัวของหนังสือ ดังนั้นหนังสือแต่ละเล่มแม้จะเป็น
         หนังสือเรื่องเดียวกัน จะไม่มีเลขทะเบียนซ้ํากันเลย เลขทะเบียนจะเรียงจากน้อย
         ไปหามากตามลําดับเล่มที่ลงก่อนหลัง คือ ฉ.๑, ๒,๓,...ดังนั้นก่อนลงทะเบียน
(5)
                                                            คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ
              ควรตรวจจัดลําดับหนังสือให้ถูกต้องเสียก่อน รวมทั้งหนังสือประเภทที่มิใช่เล่ม
              เดียวจบ เช่น ล.๑ ฉ.๑, ล.๑ ฉ.๒, และ ล.๒ ฉ,๑, ล.๒ ฉ.๒ ...เป็นต้น มิฉะนัน ้
             เลขทะเบียนจะสลับสับสนกันหมด




                                                                                        ร.
               ต้องบันทึกสมุดทะเบียนให้เรียบร้อย สะอาดชัดเจน เพราะเป็นหลักฐาน




                                                                          ร
               สําคัญของห้องสมุด




                                                                     ษ์)ม
   อุปกรณ์ในการลงทะเบียน




                                                           ารัก
                 สมุดทะเบียน ที่ประกอบด้วยช่องกรอกรายการต่าง ๆ 9 ช่อง คือ วันที่ลงทะเบียน เลข



 ลงทะเบียน
                เลข
              ทะเบียน
                         ชื่อผู้แต่ง
                                   ร            รณ
 ทะเบียน ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ สํานักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ ราคา แหล่งที่มา และหมายเหตุ

   วันที่                              ชื่อหนังสือ   สํานักพิมพ์    ปีที่พิมพ์    ราคา
                                                                                 หน่วยละ
                                                                                           แหล่งที่มา   หมายเหตุ
                               ฯ(บ
                   ิการ


               เครื่องประทับตัวเลข
        ยบร



               ตรายางแบบฟอร์มกรอกรายการ (วันที่ เลขทะเบียนและเลขเรียกหนังสือ)
               ตรายางวันที่
               แป้นหมึกสีน้ําเงินและสีแดง
 ักวิท




               ปากกา ดินสอ ยางลบ

  วิธีการลงทะเบียน
สำน




             จัดหนังสือที่จะลงทะเบียนแต่ละครั้งตามลําดับชื่อผู้แต่ง ซึ่งจะทําให้หนังสือเรื่อง
 เดียวกันหรือชุดเดียวกันทีมีหลายเล่มได้มีเลขทะเบียนต่อกันไปตามลําดับ
                           ่
             วันเดือนปีที่ลงทะเบียน ถ้าในวันเดียวกันลงทะเบียนหนังสือหลายเล่ม ให้ลง
 เฉพาะเล่มแรกของวันนั้นเท่านั้น
(6)
                                                  คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ
              ลงทะเบียนหนังสือทีละเล่ม โดยลงบรรทัดละ 1 เล่ม ถ้าเป็นหนังสือชุดหรือ
หนังสือหลายเล่มจบ ให้ลงทะเบียนของหนังสือในชุดนั้นต่อกันตามลําดับเล่มจนหมดชุด ถ้า
หนังสือเรื่องเดียวกันมีหลายฉบับ (Copy) ให้ลงทะเบียนติดต่อกันจนครบทุกเล่ม




                                                                              ร.
              การลงชือผู้แต่งตามทีปรากฏในหนังสือ ถ้ามีผู้แต่งเกิน 3 คน ให้ลงชื่อผู้แต่งคน
                         ่            ่




                                                                         ร
แรกตามด้วยคําว่า และคนอื่น ๆ ถ้าเป็นภาษาอังกฤษให้ลงคําว่า and others ถ้าไม่มีชื่อผู้




                                                                    ษ์)ม
แต่งให้เว้นว่างไว้ไม่ต้องลงรายการ
              ลงชื่อหนังสือตามทีปรากฏที่หน้าปกในของหนังสือ ถ้าเป็นหนังสือชุดให้ลง ล.1
                                    ่
, ล.2 , ล.3,…(หมายถึง เล่ม 1, เล่ม 2, เล่ม 3, …) ท้ายชือหนังสือสําหรับหนังสือ
                                                              ่




                                                         ารัก
ภาษาไทย ส่วนหนังสือภาษาอังกฤษให้ใช้ V.1, V.2, V.3,…(V คือ Volume) ถ้าหนังสือชือ            ่
เรื่องเดียวกันและผู้แต่งคนเดียวกันมีหลายฉบับให้ใส่ ฉ.1, ฉ.2, ฉ.3,…หรือ C.1, C.2,
C.3,…(สําหรับหนังสือภาษาอังกฤษ) ท้ายชื่อหนังสือ (ฉ หรือ C หมายถึง ฉบับ หรือ Copy)
              ชื่อสํานักพิมพ์ที่จัดพิมพ์ ในกรณีทไม่มีสํานักพิมพ์ให้ลงชื่อโรงพิมพ์ หรือชื่อ
                                                ี่
                                       ร          รณ
ผู้รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ ซึ่งอาจจะเป็นกระทรวง ทบวง กรม ฯลฯ แทน ถ้าไม่ปรากฎ
สถานที่พิมพ์ให้ลงว่า ม.ป.ท. หรือ n.p. (ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ หรือ no place)
              ปี พ.ศ. ที่จัดพิมพ์หนังสือ ถ้าหากมีการจัดพิมพ์หลายครั้งให้ลงปีที่พมพ์ครั้ง
                                                                                   ิ
                                   ฯ(บ
หลังสุด ถ้าไม่ปรากฎปีที่พมพ์ให้ลงว่า ม.ป.ป. หรือ n.d. (ไม่ปรากฎปีที่พิมพ์หรือ no date)
                            ิ
              ราคาหนังสือ ลงตามที่ปรากฏในหนังสือ เพราะถ้าหนังสือชํารุดสูญหายจะได้
เรียกเงินชดใช้จากผู้ทําหายได้ถูกต้อง ในกรณีที่ราคาเป็นชุดให้ลงราคาทั้งชุดไว้ในเล่มแรก
              แหล่งทีมา ในกรณีที่เป็นหนังสือบริจาคให้ลงชื่อผู้บริจาคในช่องนี้ แต่ถ้าหาก
                       ่
                         ิการ


ได้มาโดยการจัดซื้อก็ไม่ต้องระบุไว้
              หมายเหตุมีไว้สําหรับเขียนเลขแสดงจํานวนหนังสือในชุด หรือหนังสือชํารุดได้
จําหน่ายออกจากทะเบียนห้องสมุดแล้ว
               ยบร
    ักวิท




 การลงรายละเอียดในเล่มหนังสือ
สำน




              การประทับเลขทะเบียนลงในเล่มหนังสือในตําแหน่งทีกําหนด คือ หน้าชื่อเรื่อง,
                                                               ่
หน้าลิขสิทธิ, หน้าลับ (หน้าที่ 23), และหน้าสุดท้ายของเนื้อหา การประทับเลขทะเบียนต้อง
            ์
ระวังให้เลขตรงกันทังหมดทั้งในสมุดทะเบียนและในทุกตําแหน่งที่เล่มหนังสือ
                    ้
(7)
                                                 คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ
            การลงรายละเอียดอื่น ๆ
                       วันที่ลงทะเบียน ลงไว้ในหน้าลิขสิทธิ์ในแบบฟอร์มตรายาง และที่




                                                                             ร.
 หน้าลับเฉพาะใต้เลขทะเบียน
                       เลขเรียกหนังสือ เขียน/พิมพ์ ติดที่ตําแหน่งต่าง ๆ ที่ตัวเล่มที่




                                                               ร
 ห้องสมุดกําหนด ดังนี้




                                                          ษ์)ม
                                  มุมล่างด้านซ้าย (ที่ปก)
                                  สันหนังสือด้านล่าง (ห่างจากด้านล่าง 2.5-3 นิ้ว.)
                                  หน้าชื่อเรื่อง (ชิดขอบด้านซ้าย)




                                                 ารัก
                                  หน้าลับ (ชิดขอบด้านซ้าย, หน้าที่ 23)
                                  หน้าสุดท้ายของเนื้อหา (ชิดขอบด้านซ้าย)

                               ร       รณ
                           ฯ(บ
                  ิการ
        ยบร
 ักวิท
สำน
(8)
                                           คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ

                              บรรณานุกรม




                                                                       ร.
ไพบูลย์ ตรีนอยวา. (2542). งานเทคนิคของห้องสมุด : Technical services of
            ้
       library. สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏสงขลา.




                                                                  ร
วัลลภ สวัสดิวัลลภ. (2527). คู่มืองานเทคนิคและการฝึกงานห้องสมุด. ลพบุรี :




                                                             ษ์)ม
       ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ วิทยาลัยครูเทพสตรี.




                                                  ารัก
                                 ร         รณ
                             ฯ(บ
                     ิการ
            ยบร
   ักวิท
สำน
(9)
                                                คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ




                                                              ร             ร.
                                                         ษ์)ม
      คู่มือการจัดเตรียมหนังสือ


                                                ารัก
 ที่ปรึกษา :
        นายเมธี พรมศิลา
        นายไพรสิทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร
                                 ร    รณ
                                      ผู้อํานวยการ
                                      รองผู้อานวยการ
                                             ํ
        นางสุรัตน์ สุทธกุล            รองผู้อานวยการ
                                             ํ
                             ฯ(บ

 ผู้เรียบเรียง : วาสนา เทียนกุล
                  ิการ


 ออกแบบ        : วัชรี ปั้นนิยม
                          สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
        ยบร



                        มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
                        422 ถ.มรุพงษ์ ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000
 ักวิท




                        โทร., โทรสาร 0 3851 7013
สำน
(10)
                                                    คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ




                                                                           ร      ร.
                                                                      ษ์)ม
                                                           ารัก
                                                 รณ
                                                 คํานํา
                                        ร
                                    ฯ(บ
                          ิการ


                        สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
               ยบร



ราชนครินทร์ เป็นหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ ทําหน้าที่ จัดหา รวบรวม อนุรักษ์และบํารุงรักษา
และเผยแพร่หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โสตทัศน์วัสดุ ทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ ตลอดจน
    ักวิท




หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และนําข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการเรียนการสอน และ
การค้นคว้าวิจยของมหาวิทยาลัย
             ั
สำน




       คู่มืองานเทคนิคของห้องสมุดเล่มนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใช้เป็นคู่มือสําหรับครูบรรณารักษ์ และ
นักเรียนหรือรายงานห้องสมุด
(11)
                                                      คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ



         ขอขอบคุณท่านเจ้าของหนังสือทุกท่านที่ข้าพเจ้านํามาอ้างอิง และขอขอบพระคุณ “ครู




                                                                                  ร.
 หม่อง” ที่จัดทํารูปเล่ม เอกสารนี้ที่จัดทําขึ้นเพื่อประโยชน์ต่อการดําเนินงานห้องสมุดโรงเรียน และ




                                                                    ร
                                                               ษ์)ม
 ขอยกความดีให้ครู อาจารย์ผู้ประสิทธิประสาทวิชาให้




                                                      ารัก
                                                             ด้วยความเคารพอย่างสูง
                                                                วาสนา เทียนกุล

                                 ร         รณ
                             ฯ(บ
                   ิการ
        ยบร
 ักวิท
สำน

More Related Content

What's hot

1 130626211845-phpapp01 2
1 130626211845-phpapp01 21 130626211845-phpapp01 2
1 130626211845-phpapp01 2rootssk_123456
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีPat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีJutarat Piamrod
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอนNichaphon Tasombat
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นParn Parai
 
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสารDC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสารajpeerawich
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ vanichar
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือkrujee
 

What's hot (12)

1 130626211845-phpapp01 2
1 130626211845-phpapp01 21 130626211845-phpapp01 2
1 130626211845-phpapp01 2
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีPat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน
 
วรรณคดี
วรรณคดีวรรณคดี
วรรณคดี
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสารDC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือ
 

Viewers also liked

คำสั่งมุมคุณธรรม
คำสั่งมุมคุณธรรมคำสั่งมุมคุณธรรม
คำสั่งมุมคุณธรรมLib Rru
 
Brunel Legal Brochure
Brunel Legal BrochureBrunel Legal Brochure
Brunel Legal Brochuretimothywee
 
Present continuous (1)
Present continuous (1)Present continuous (1)
Present continuous (1)Karina Alvarez
 
Borders2
Borders2Borders2
Borders2jprimos
 
World's Largest Wind Farms
World's Largest Wind FarmsWorld's Largest Wind Farms
World's Largest Wind FarmsWindTurbines.net
 
Fantastic Wind Turbine Locations
Fantastic Wind Turbine LocationsFantastic Wind Turbine Locations
Fantastic Wind Turbine LocationsWindTurbines.net
 
Top 10 Largest Wind Turbine Manufacturers
Top 10 Largest Wind Turbine ManufacturersTop 10 Largest Wind Turbine Manufacturers
Top 10 Largest Wind Turbine ManufacturersWindTurbines.net
 
How Wind Turbines Generate Electricity
How Wind Turbines Generate ElectricityHow Wind Turbines Generate Electricity
How Wind Turbines Generate ElectricityWindTurbines.net
 
Comparing Wind Power and Other Renewable Energy Sources
Comparing Wind Power and Other Renewable Energy SourcesComparing Wind Power and Other Renewable Energy Sources
Comparing Wind Power and Other Renewable Energy SourcesWindTurbines.net
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Lib Rru
 
โครงการTv..
โครงการTv..โครงการTv..
โครงการTv..Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Lib Rru
 
Enfermeria ( enf pediatrica)administracion de medicamentos pediatricos
Enfermeria ( enf pediatrica)administracion de medicamentos pediatricosEnfermeria ( enf pediatrica)administracion de medicamentos pediatricos
Enfermeria ( enf pediatrica)administracion de medicamentos pediatricosjimenuska
 
8 administracion de farmacos en pediatria
8 administracion de farmacos en pediatria8 administracion de farmacos en pediatria
8 administracion de farmacos en pediatriaLiz Poma
 
Memoria descriptiva
Memoria descriptivaMemoria descriptiva
Memoria descriptivaLouis Prieto
 

Viewers also liked (20)

คำสั่งมุมคุณธรรม
คำสั่งมุมคุณธรรมคำสั่งมุมคุณธรรม
คำสั่งมุมคุณธรรม
 
book532
book532book532
book532
 
Escultura em pedras semi-preci​osas
Escultura em pedras semi-preci​osasEscultura em pedras semi-preci​osas
Escultura em pedras semi-preci​osas
 
Brunel Legal Brochure
Brunel Legal BrochureBrunel Legal Brochure
Brunel Legal Brochure
 
Present continuous (1)
Present continuous (1)Present continuous (1)
Present continuous (1)
 
Wind Power Myths
Wind Power MythsWind Power Myths
Wind Power Myths
 
Borders2
Borders2Borders2
Borders2
 
World's Largest Wind Farms
World's Largest Wind FarmsWorld's Largest Wind Farms
World's Largest Wind Farms
 
History of Wind Power
History of Wind PowerHistory of Wind Power
History of Wind Power
 
Fantastic Wind Turbine Locations
Fantastic Wind Turbine LocationsFantastic Wind Turbine Locations
Fantastic Wind Turbine Locations
 
Top 10 Largest Wind Turbine Manufacturers
Top 10 Largest Wind Turbine ManufacturersTop 10 Largest Wind Turbine Manufacturers
Top 10 Largest Wind Turbine Manufacturers
 
How Wind Turbines Generate Electricity
How Wind Turbines Generate ElectricityHow Wind Turbines Generate Electricity
How Wind Turbines Generate Electricity
 
Comparing Wind Power and Other Renewable Energy Sources
Comparing Wind Power and Other Renewable Energy SourcesComparing Wind Power and Other Renewable Energy Sources
Comparing Wind Power and Other Renewable Energy Sources
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
โครงการTv..
โครงการTv..โครงการTv..
โครงการTv..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
Enfermeria ( enf pediatrica)administracion de medicamentos pediatricos
Enfermeria ( enf pediatrica)administracion de medicamentos pediatricosEnfermeria ( enf pediatrica)administracion de medicamentos pediatricos
Enfermeria ( enf pediatrica)administracion de medicamentos pediatricos
 
8 administracion de farmacos en pediatria
8 administracion de farmacos en pediatria8 administracion de farmacos en pediatria
8 administracion de farmacos en pediatria
 
Zooterapia
ZooterapiaZooterapia
Zooterapia
 
Memoria descriptiva
Memoria descriptivaMemoria descriptiva
Memoria descriptiva
 

Similar to book531 (6)

จัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือจัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือ
 
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
 

book531

  • 1. (1) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ การจัดเตรียมหนังสือ ร. หนังสือเป็นสารนิเทศที่ห้องสมุดทั่วไปจัดหามา เพื่อให้บริการมากกว่าวัสดุ สารนิเทศประเภทอื่น แต่ก่อนที่จะนําหนังสือออกให้บริการ ห้องสมุดจะต้อง ร ดําเนินการจัดเตรียมหนังสือแต่ละเล่มหรือแต่ละประเภทให้อยู่ในระบบที่ ษ์)ม ถูกต้องเรียบร้อยเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อให้พร้อมและสะดวกต่อการให้บริการ การจัดเตรียมหนังสือขั้นต้น ารัก การจัดเตรียมหนังสือขั้นต้น ได้แก่ การเปิดหนังสือใหม่และการ รณ ตรวจสภาพหนังสือ การประทับตราห้องสมุด และการลงทะเบียน ร การเปิดหนังสือใหม่และการตรวจสภาพหนังสือ ฯ(บ การเปิดหนังสือใหม่ เป็นการช่วยให้ด้ายเย็บหนังสือคลายออกหรือยืดออก ทําให้หนังสือใหม่ที่ เปิดอ่านไม่พลิกกลับ การเปิดหนังสือใหม่ให้ปฏิบัติดังนี้คือ ตั้งสันหนังสือกับพื้นราบแล้วเปิดปกหน้าและปกหลังกดลงไปให้ราบกับพื้น ิการ เปิดหน้าหนังสือจากปกด้านหน้าประมาณ 8-10 หน้า ใช้นิ้วกดรีดเบา ๆ ที่ขอบสันจาก ด้านบนลงด้านล่าง เปิดหน้าหนังสือจากปกด้านหลังประมาณ 8-10 หน้า ใช้นิ้วกดรีดเบา ๆ ที่ขอบสันจาก ยบร ด้านบนลงด้านล่าง ทําตาม ข้อ 2 และ 3 สลับกันจนบรรจบกันที่กลางเล่ม (จํานวนหน้าที่เปิดออกทั้งด้านซ้าย และขวาจะมีประมาณเท่า ๆ กัน) เป็นอันเสร็จวิธีการ การตรวจสภาพทําได้ในขณะที่เปิดหนังสือใหม่แต่ละเล่มดังกล่าวแล้ว อาจพบข้อบกพร่องต่าง ๆ ักวิท ที่จะต้องรีบแก้ไขทันที คือ หน้าหนังสือติดกัน ให้ใช้ใบมีดคม ๆ ตัดออกให้เรียบร้อย หนังสือมีใบแทรกแก้คําผิด ให้แก้คําผิดโดยตลอด อาจใช้วิธีขูดลบ ขีดฆ่า แล้วเขียนหรือตัดข้อความใหม่ติดเข้าไปให้เรียบร้อย สำน หนังสือมีข้อบกพร่องด้านการพิมพ์ที่แก้ไขไม่ได้ ควรรีบส่งคืน และขอเปลี่ยนเล่มใหม่
  • 2. (2) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ ร ร. ษ์)ม การประทับตราหนังสือ ารัก การประทับตราห้องสมุดลงในหนังสือมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบ หรือสังเกตเห็นได้ชัดเจนว่าหนังสือนั้นเป็นของห้องสมุด เมื่อมีผู้พบว่าไป รณ ตกอยู่ ณ ที่ใดนอกห้องสมุดก็จะสามารถนําส่งกลับคืนห้องสมุดได้ ร อุปกรณ์สําคัญที่ต้องเตรียมสําหรับประทับตรา มีดังนี้ ฯ(บ ตรายางชื่อห้องสมุดพร้อมที่อยู่ ิการ โรงเรียนบ้านหนองโสน ต.เสม็ดใต้ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา ยบร ตรายางวันที่ ักวิท 17 ธ.ค. 2553 สำน ตรายางข้อความอื่น ๆ ที่จะนํามาใช้ประทับในหนังสือ (เช่น “หนังสืออ้างอิง ให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น”) หนังสืออ้างอิง ให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น
  • 3. (3) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ ร. แป้นหมึกสีน้ําเงินหรือสีแดงสําหรับประทับตราห้องสมุด และสีดําสําหรับตรา กสี ร ข้อความอื่น ๆ ษ์)ม ารัก การประทับตรา ตําแหน่งต่อไปนี้ ร รณ ให้ประทับตราตามตําแหน่งที่กําหนดเหมือนกันทุกเล่ม โดยทัวไปจะกําหนดให้ประทับ ่ ฯ(บ ปกหน้าด้านใน ประทับตราตรงกึ่งกลางหน้า หน้าปกใน ประทับตรงกึ่งกลางหน้า หน้าลับเฉพาะที่ห้องสมุดกําหนด (ควรเป็นหน้าคี่ ) ประทับทีมุมขอบขวาบน ่ ด้านในปกหลัง ประทับที่กึ่งกลางชิดขอบบน ิการ ขอบหนังสือ ทั้ง 3 ด้าน เวลาประทับให้หันปกหน้าออกนอกตัว สําหรับหนังสืออ้างอิง ให้ประทับตราข้อความ “หนังสืออ้างอิงใช้ในห้องสมุดเท่านั้น” ด้วยหมึกสีแดงที่ใบรองปกหน้าและ ยบร กึ่งกลางของปกหลังด้านใน ข้อควรระวังในการประทับตราหนังสือ ักวิท ต้องประทับตราให้สะอาด ตราเครื่องหมายหรือข้อความติดชัดเจน ควรลองประทับบนแผ่นกระดาษอืนดูให้พอดี ไม่ติดหมึกมากหรือน้อย ่ เกินไปและต้องประทับให้ตรงหรือขนานกับเส้นบรรทัด เพื่อให้ติดชัดและข้อความไม่ขาดหายไป ควรค่อย ๆ วางตรากดลงเบา ๆ สำน ตรง ๆ ก่อนแล้วโยกมือจับตรายางไปข้างหน้า และข้างหลัง เล็กน้อย ต้องระวังอย่าประทับลงบนตัวอักษรหรือรปภาพ เพราะจะทําให้อ่าน ู ข้อความไม่ได้และภาพก็จะด้อยคุณค่าไป
  • 4. (4) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ ร ร. ษ์)ม ารัก ร รณ ฯ(บ การลงทะเบียน ิการ การลงทะเบียนหนังสือ เป็นการบันทึกหลักฐานการรับหนังสือ แต่ละเล่มเข้าห้องสมุดตามลําดับเลขทะเบียน โดยระบุรายละเอียดของ หนังสือแต่ละเล่มไว้ในสมุดทะเบียนด้วย ยบร หลักการลงทะเบียน ักวิท แยกสมุดทะเบียนหนังสือ หนังสือภาษาไทย ภาษาอังกฤษและหนังสือ อื่น ๆ ที่แตกต่างจากหนังสือทั่วไปเป็นอย่างละเล่ม สำน การลงทะเบียนหนังสือแต่ละเล่ม ต้องเขียนให้อยูในหนึ่งบรรทัด เพื่อให้ ่ แต่ละหน้าของสมุดทะเบียนมีจํานวนเล่มหนังสือเท่ากันง่ายต่อการ ตรวจสอบความถูกต้องของลําดับเลขทะเบียน เลขทะเบียน เป็นเลขประจําตัวของหนังสือ ดังนั้นหนังสือแต่ละเล่มแม้จะเป็น หนังสือเรื่องเดียวกัน จะไม่มีเลขทะเบียนซ้ํากันเลย เลขทะเบียนจะเรียงจากน้อย ไปหามากตามลําดับเล่มที่ลงก่อนหลัง คือ ฉ.๑, ๒,๓,...ดังนั้นก่อนลงทะเบียน
  • 5. (5) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ ควรตรวจจัดลําดับหนังสือให้ถูกต้องเสียก่อน รวมทั้งหนังสือประเภทที่มิใช่เล่ม เดียวจบ เช่น ล.๑ ฉ.๑, ล.๑ ฉ.๒, และ ล.๒ ฉ,๑, ล.๒ ฉ.๒ ...เป็นต้น มิฉะนัน ้ เลขทะเบียนจะสลับสับสนกันหมด ร. ต้องบันทึกสมุดทะเบียนให้เรียบร้อย สะอาดชัดเจน เพราะเป็นหลักฐาน ร สําคัญของห้องสมุด ษ์)ม อุปกรณ์ในการลงทะเบียน ารัก สมุดทะเบียน ที่ประกอบด้วยช่องกรอกรายการต่าง ๆ 9 ช่อง คือ วันที่ลงทะเบียน เลข ลงทะเบียน เลข ทะเบียน ชื่อผู้แต่ง ร รณ ทะเบียน ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ สํานักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ ราคา แหล่งที่มา และหมายเหตุ วันที่ ชื่อหนังสือ สํานักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ ราคา หน่วยละ แหล่งที่มา หมายเหตุ ฯ(บ ิการ เครื่องประทับตัวเลข ยบร ตรายางแบบฟอร์มกรอกรายการ (วันที่ เลขทะเบียนและเลขเรียกหนังสือ) ตรายางวันที่ แป้นหมึกสีน้ําเงินและสีแดง ักวิท ปากกา ดินสอ ยางลบ วิธีการลงทะเบียน สำน จัดหนังสือที่จะลงทะเบียนแต่ละครั้งตามลําดับชื่อผู้แต่ง ซึ่งจะทําให้หนังสือเรื่อง เดียวกันหรือชุดเดียวกันทีมีหลายเล่มได้มีเลขทะเบียนต่อกันไปตามลําดับ ่ วันเดือนปีที่ลงทะเบียน ถ้าในวันเดียวกันลงทะเบียนหนังสือหลายเล่ม ให้ลง เฉพาะเล่มแรกของวันนั้นเท่านั้น
  • 6. (6) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ ลงทะเบียนหนังสือทีละเล่ม โดยลงบรรทัดละ 1 เล่ม ถ้าเป็นหนังสือชุดหรือ หนังสือหลายเล่มจบ ให้ลงทะเบียนของหนังสือในชุดนั้นต่อกันตามลําดับเล่มจนหมดชุด ถ้า หนังสือเรื่องเดียวกันมีหลายฉบับ (Copy) ให้ลงทะเบียนติดต่อกันจนครบทุกเล่ม ร. การลงชือผู้แต่งตามทีปรากฏในหนังสือ ถ้ามีผู้แต่งเกิน 3 คน ให้ลงชื่อผู้แต่งคน ่ ่ ร แรกตามด้วยคําว่า และคนอื่น ๆ ถ้าเป็นภาษาอังกฤษให้ลงคําว่า and others ถ้าไม่มีชื่อผู้ ษ์)ม แต่งให้เว้นว่างไว้ไม่ต้องลงรายการ ลงชื่อหนังสือตามทีปรากฏที่หน้าปกในของหนังสือ ถ้าเป็นหนังสือชุดให้ลง ล.1 ่ , ล.2 , ล.3,…(หมายถึง เล่ม 1, เล่ม 2, เล่ม 3, …) ท้ายชือหนังสือสําหรับหนังสือ ่ ารัก ภาษาไทย ส่วนหนังสือภาษาอังกฤษให้ใช้ V.1, V.2, V.3,…(V คือ Volume) ถ้าหนังสือชือ ่ เรื่องเดียวกันและผู้แต่งคนเดียวกันมีหลายฉบับให้ใส่ ฉ.1, ฉ.2, ฉ.3,…หรือ C.1, C.2, C.3,…(สําหรับหนังสือภาษาอังกฤษ) ท้ายชื่อหนังสือ (ฉ หรือ C หมายถึง ฉบับ หรือ Copy) ชื่อสํานักพิมพ์ที่จัดพิมพ์ ในกรณีทไม่มีสํานักพิมพ์ให้ลงชื่อโรงพิมพ์ หรือชื่อ ี่ ร รณ ผู้รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ ซึ่งอาจจะเป็นกระทรวง ทบวง กรม ฯลฯ แทน ถ้าไม่ปรากฎ สถานที่พิมพ์ให้ลงว่า ม.ป.ท. หรือ n.p. (ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ หรือ no place) ปี พ.ศ. ที่จัดพิมพ์หนังสือ ถ้าหากมีการจัดพิมพ์หลายครั้งให้ลงปีที่พมพ์ครั้ง ิ ฯ(บ หลังสุด ถ้าไม่ปรากฎปีที่พมพ์ให้ลงว่า ม.ป.ป. หรือ n.d. (ไม่ปรากฎปีที่พิมพ์หรือ no date) ิ ราคาหนังสือ ลงตามที่ปรากฏในหนังสือ เพราะถ้าหนังสือชํารุดสูญหายจะได้ เรียกเงินชดใช้จากผู้ทําหายได้ถูกต้อง ในกรณีที่ราคาเป็นชุดให้ลงราคาทั้งชุดไว้ในเล่มแรก แหล่งทีมา ในกรณีที่เป็นหนังสือบริจาคให้ลงชื่อผู้บริจาคในช่องนี้ แต่ถ้าหาก ่ ิการ ได้มาโดยการจัดซื้อก็ไม่ต้องระบุไว้ หมายเหตุมีไว้สําหรับเขียนเลขแสดงจํานวนหนังสือในชุด หรือหนังสือชํารุดได้ จําหน่ายออกจากทะเบียนห้องสมุดแล้ว ยบร ักวิท การลงรายละเอียดในเล่มหนังสือ สำน การประทับเลขทะเบียนลงในเล่มหนังสือในตําแหน่งทีกําหนด คือ หน้าชื่อเรื่อง, ่ หน้าลิขสิทธิ, หน้าลับ (หน้าที่ 23), และหน้าสุดท้ายของเนื้อหา การประทับเลขทะเบียนต้อง ์ ระวังให้เลขตรงกันทังหมดทั้งในสมุดทะเบียนและในทุกตําแหน่งที่เล่มหนังสือ ้
  • 7. (7) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ การลงรายละเอียดอื่น ๆ วันที่ลงทะเบียน ลงไว้ในหน้าลิขสิทธิ์ในแบบฟอร์มตรายาง และที่ ร. หน้าลับเฉพาะใต้เลขทะเบียน เลขเรียกหนังสือ เขียน/พิมพ์ ติดที่ตําแหน่งต่าง ๆ ที่ตัวเล่มที่ ร ห้องสมุดกําหนด ดังนี้ ษ์)ม มุมล่างด้านซ้าย (ที่ปก) สันหนังสือด้านล่าง (ห่างจากด้านล่าง 2.5-3 นิ้ว.) หน้าชื่อเรื่อง (ชิดขอบด้านซ้าย) ารัก หน้าลับ (ชิดขอบด้านซ้าย, หน้าที่ 23) หน้าสุดท้ายของเนื้อหา (ชิดขอบด้านซ้าย) ร รณ ฯ(บ ิการ ยบร ักวิท สำน
  • 8. (8) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ บรรณานุกรม ร. ไพบูลย์ ตรีนอยวา. (2542). งานเทคนิคของห้องสมุด : Technical services of ้ library. สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏสงขลา. ร วัลลภ สวัสดิวัลลภ. (2527). คู่มืองานเทคนิคและการฝึกงานห้องสมุด. ลพบุรี : ษ์)ม ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ วิทยาลัยครูเทพสตรี. ารัก ร รณ ฯ(บ ิการ ยบร ักวิท สำน
  • 9. (9) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ ร ร. ษ์)ม คู่มือการจัดเตรียมหนังสือ ารัก ที่ปรึกษา : นายเมธี พรมศิลา นายไพรสิทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร ร รณ ผู้อํานวยการ รองผู้อานวยการ ํ นางสุรัตน์ สุทธกุล รองผู้อานวยการ ํ ฯ(บ ผู้เรียบเรียง : วาสนา เทียนกุล ิการ ออกแบบ : วัชรี ปั้นนิยม สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ยบร มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 422 ถ.มรุพงษ์ ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 ักวิท โทร., โทรสาร 0 3851 7013 สำน
  • 10. (10) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ ร ร. ษ์)ม ารัก รณ คํานํา ร ฯ(บ ิการ สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยบร ราชนครินทร์ เป็นหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ ทําหน้าที่ จัดหา รวบรวม อนุรักษ์และบํารุงรักษา และเผยแพร่หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โสตทัศน์วัสดุ ทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ ตลอดจน ักวิท หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และนําข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการเรียนการสอน และ การค้นคว้าวิจยของมหาวิทยาลัย ั สำน คู่มืองานเทคนิคของห้องสมุดเล่มนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใช้เป็นคู่มือสําหรับครูบรรณารักษ์ และ นักเรียนหรือรายงานห้องสมุด
  • 11. (11) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ ขอขอบคุณท่านเจ้าของหนังสือทุกท่านที่ข้าพเจ้านํามาอ้างอิง และขอขอบพระคุณ “ครู ร. หม่อง” ที่จัดทํารูปเล่ม เอกสารนี้ที่จัดทําขึ้นเพื่อประโยชน์ต่อการดําเนินงานห้องสมุดโรงเรียน และ ร ษ์)ม ขอยกความดีให้ครู อาจารย์ผู้ประสิทธิประสาทวิชาให้ ารัก ด้วยความเคารพอย่างสูง วาสนา เทียนกุล ร รณ ฯ(บ ิการ ยบร ักวิท สำน